เรื่องเด่น อิทธิปาฎิหาริย์เทวดา สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

ในห้อง 'เสียงธรรม' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 25 สิงหาคม 2017.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    DhammaLife.jpg
     
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "ถวายเทียน 9 วัด ได้บุญมากพอไหม" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    Pun janin :-
    Published on Jul 18, 2017
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2018
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  4. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "ชอบแบบไหน..?" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    Pun janin :
    -
    Published on Aug 30, 2017
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    ความหมายของ สติ สมาธิ และปัญญา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    แสงธรรมนําชีวิต :-

    Published on Aug 6, 2016

    สติ สมาธิ ปัญญา หัวใจสำคัญของการพัฒนาจิตหรือการฝึกจิตนั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 ประการด้วยกัน นั่นคือ 1.สติ 2.สมาธิ 3.ปัญญา สติ มีหน้าที่ระลึกรู้สิ่งต่างๆ อันเราจะพึงสังเกตได้ดังนี้ สมมติเช่นว่า เรากำลังฟังเสียงใครสักคนกำลังพูดอยู่ โดยที่บริเวณรอบๆข้างนั้นก็มีเสียงอื่นๆดังอยู่ด้วยเช่นกัน ลองสังเกตดูว่า ในขณะนั้นเรากำลังใส่ใจหรือสนใจอยู่ที่เสียงใด หากเรากำลังสนใจอยู่ที่เสียงผู้พูด สติการระลึกรู้ของเราก็จะอยู่ที่นั่นด้วย โดยที่เสียงโดยรอบบริเวณข้างๆนั้นก็ยังมีอยู่ เพียงแต่อาจจะปรากฏต่อการรับรู้ของเราเพียงเบาบาง หรืออาจจะไม่ปรากฏเลยหากว่า สติการระลึกรู้ของเราที่มีต่อเสียงผู้พูดนั้นมั่นคงมาก เมื่อเรามีสติอยู่กับสิ่งใดต่อเนื่องเป็นระยะเวลายาวนาน สมาธิ ความตั้งใจมั่น ก็จะค่อยๆบังเกิดขึ้น โดยที่เราจะมีสติ มีสมาธิ อยู่กับสิ่งที่จิตกำลังระลึกรู้อยู่นั่นเอง ส่วนปัญญานั้น ก็จะเกิดขึ้นมาหลังจากที่ มีสติ และ สมาธิ พอสมควรแล้ว โดยที่ปัญญานี้จะมีคุณสมบัติติดตัวมาในแต่ละคนโดยเฉพาะแตกต่างกันไป แล้วแต่ว่าใครจะมีปัญญามาก มีปัญญาน้อย มีปัญญาเน้นหนักไปในด้านใด ลักษณะใด แต่โดยรวมๆแล้ว เมื่อจิตไประลึกรู้สิ่งใด ตัวที่ทำหน้าที่เข้าไปสอดส่องพิจารณาใคร่ครวญถึงสิ่งที่กำลังระลึกรู้นั้น ก็คือ ตัวปัญญานี่เอง โดยที่การสังเกตพิจารณาสิ่งที่กำลังระลึกรู้นั้นจะมีความละเอียดลึกซึ้งเพียงใดก็ขึ้นอยู่ที่ระดับปัญญาของแต่ละบุคคล จิตของคนเราจะพัฒนาได้ก็โดยอาศัย 3 อย่างนี้แหละ โดยการพัฒนาจิตนั้นก็หมายความว่า การเปลี่ยนแปลงจิตจากจิตที่มีสภาวะที่ไม่ดีต่างๆ เต็มไปด้วยกิเลสต่างๆ ขาดซึ่งคุณธรรม เช่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง อาฆาต พยาบาท คิดปองร้าย อิจฉาริษยา ฯลฯ เป็นต้น ให้กลายมาเป็นจิตที่มีสภาวะที่ดี เป็นจิตที่มีคุณธรรม อันได้แก่ ความเมตตา ความกรุณา ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีมุทิตาจิต การมีศีลมีธรรม มีความสงบ ฯลฯ เป็นต้น ดังนั้น เริ่มต้นก็คือการมีสตินั้น เราต้องเลือกก่อนว่า สติที่จะนำไปใช้ในการระลึกรู้สิ่งต่างๆ เราจะนำเอาสตินี้ไประลึกรู้สิ่งใด จิตจึงจะเกิดกระบวนการพัฒนาหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงตนเองดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นได้ ซึ่งสิ่งที่เราสามารถนำมาใช้เป็นฐานให้กับสติในการใช้ฝึกจิตใช้พัฒนาจิตได้เป็นอย่างดีนั้น ก็ไม่ได้อยู่ที่ไหนไกลเลย คือ กายของเราทุกคนนี่เอง เราสามารถฝึกฝนได้ด้วยการนำเอาสตินี้มาระลึกเอาไว้ที่กาย ให้มีสติรู้ตัวทั่วพร้อมอยู่ มีสัมปชัญญะในทุกๆอิริยาบถ สังเกตความรู้สึก ความคิด และสิ่งต่างๆที่ปรากฏขึ้นในกายนี้ โดยใช้สติเป็นตัวนำ แล้ว สมาธิ กับ ปัญญา เป็นตัวตาม โดยที่เมื่อเราใช้สติระลึกรู้ไปในกายของเราอยู่เนืองๆ ทั้ง สติ สมาธิ และปัญญา ที่ทำหน้าที่สอดส่อง พิจารณา ใคร่ครวญ ก็จะค่อยๆได้รับการพัฒนาตามไปด้วย ซึ่งหากว่าผู้ฝึกท่านใดมีสติตามระลึกรู้กายและสิ่งที่ปรากฏขึ้นเนื่องด้วยการนี้อย่างละเอียดต่อเนื่องแล้ว ยามใดที่ สติ สมาธิ ปัญญา แก่กล้าดีแล้ว เมื่อนั้นเราก็จะสามารถแทงตลอดในสภาวะธรรมทั้งปวง มองเห็นกายและสิ่งที่เนื่องด้วยกายนี้ได้ตามความเป็นจริง อันจะเป็นหนทางที่จะทำให้เกิดการพัฒนาจิตไปจนถึงระดับที่สามารถหลุดพ้นจากความทุกข์ หรือแทงตลอดในธรรม แทงตลอดในธรรมชาติทั้งปวงได้ในที่สุด.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2018
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    สมถะ วิปัสนา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตโต)

    แสงธรรมนําชีวิต :-
    Published on Aug 5, 2016

    สมถะกับวิปัสสนาต่างกันอย่างไร? สมถะหมายถึงการอาศัยวิธีอันเป็นธรรมใดๆ ทำให้ใจสงบจากกิเลส เพื่อให้พร้อมรู้เป็นวิปัสสนา พูดสั้นๆคือ "ทำจิตให้สงบลงพร้อมตื่นรู้ตามจริง" ปัจจุบันคนมักพูดถึงการทำสมถะว่าคือการนั่งสมาธิและเดินจงกรม หรือหนักกว่านั้นคือสมถะเป็นเครื่องถ่วง ไม่ให้สนใจวิปัสสนา ติดสมถะแล้วคือได้ไปเป็นพรหมหมดสิทธิ์เข้าถึงมรรคผลนิพพาน สมถะเลยถูกมองเป็นผู้ร้ายและเห็นวิปัสสนาเป็นพระเอก ข้อเท็จจริงก็คือไม่มีใครเป็นผู้ร้าย ไม่มีใครเป็นพระเอกมีแต่ขาสองข้างที่พาเราเดินไปถึงฝั่ง ขาดข้างใดข้างหนึ่งก็เรียกว่าขาเป๋ เดินลำบาก ไปถึงปลายทางได้ยาก หรือยิ่งถ้าขาข้างที่เหลือป้อแป้ปวกเปียก ก็อาจออกจากจุดเริ่มต้นไม่ได้เลยด้วยซ้ำ คำว่า "วิปัสสนา" นั้น รากของนิยามมาจากที่พระพุทธเจ้าท่านตรัสในวิธีเจริญสติ ใจความคือให้ "ดูกายใจนี้ตามจริงเท่าที่ปรากฏอยู่เป็นปกติ" และที่เป็นปกติเลยก็คือทั่วทั้งกายใจนี้ กำลังแสดงความไม่เที่ยงให้เราเห็นอยู่ตลอดเวลา นับตั้งแต่ลมหายใจเข้าออกไปจนกระทั่งความรู้สึกนึกคิด ใครจะทำหรือไม่ทำวิปัสสนา กายใจก็แสดงความจริงอยู่อย่างนั้น ผู้ทำวิปัสสนาเพียงแต่เข้าไปดู เข้าไปรู้อย่างยอมรับเท่านั้นเอง ฟังดูเหมือนง่าย แต่ลงมือทำจริงจะยาก นั่นก็เพราะจิตกระเพื่อมด้วยพลังกระตุ้นของกิเลสอยู่เรื่อยๆ เช่น แค่ไม่อยากยอมรับว่าเราเป็นฝ่ายผิด จิตจะบิดเบี้ยว กิเลสจะกระตุ้นให้หาเหตุผลสารพัด มาพูดให้ตัวเองเป็นฝ่ายถูก คนเราสั่งสมนิสัยเช่นนี้กันโดยมาก คนส่วนใหญ่จึงมีจิตที่ยอมรับตามจริงได้ยาก หรืออย่างตอนฟุ้งซ่านหาทางแก้ตัวอยู่ ตอนฟุ้งซ่านหาทางมีความสัมพันธ์ทางเพศ ตอนฟุ้งซ่านหาทางแก้เผ็ดคนที่ทำให้เราเจ็บใจ จะไม่มีสิทธิ์เห็นความฟุ้งซ่าน และความฟุ้งซ่านย่อมบดบังทุกสิ่ง ไม่ว่าจะเป็นโลกภายนอกที่ปรากฏตรงหน้า หรือจะเป็นโลกภายในทางกายทางใจใดๆ การทำสมถะจึงมีบทบาทสำคัญ ช่วยผ่อนหนักให้เป็นเบา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ยังกระเพื่อมไหวอยู่มาก หากอาศัยสมถะมาช่วย ก็จะเห็นอะไรชัดกระจ่างแตกต่างไป สรุปว่าสมถะคือการลดระดับความกระเพื่อมไหว หรือสมถะคือการรักษาจิตไว้ไม่ให้กระเพื่อมไหวก็ได้ ประเด็นคือเมื่อจิตลดความกระเพื่อมไหวแล้ว จึงค่อยมีความสามารถเห็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ต่อหน้าต่อตาชัดๆ ไม่ใช่เห็นแบบโคลงเคลง ไม่ใช่เห็นแบบโยกไปไหวมา
     
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    ภาวนา ๔

    พุทธธรรม Buddhadham :-

    Published on Aug 2, 2017
    ภาวนา ๔ พ.ค. ๕๙ ธรรมกถาโดย
    สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ วัดญาณเวศกวัน
     
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    600525 ยถาธรรม ยถากรรม ธรรมเทศนาโดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตตมหาเถระ)

    พุทธธรรม Buddhadham :-
    Published on May 29, 2017
    ยถาธรรม ยถากรรม ธรรมเทศนาโดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตตมหาเถระ) เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ.พระอุโบสถ วัดญาณเวศกวัน จ.นครปฐม ทิฏฐธัมมิกัตถะหรือสัมปรายิกัตถะ ท่านแนะนำให้มงคลสูตรแก่พระใหม่ไปศีกษา ----
    จาก พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ----
    อรรถศาสน์ คำสอนว่าด้วยเรื่องประโยชน์ ๓ อย่าง คือ
    ๑. ทิฏฐธัมมิกัตถะ ประโยชน์ในปัจจุบัน
    ๒. สัมปรายิกัตถะ ประโยชน์ที่จะได้ในภายหน้า
    ๓. ปรมัตถะ ประโยชน์อย่างยิ่ง คือพระนิพพาน
    *ทิฏฐธัมมิกัตถะ ประโยชน์ในปัจจุบัน
    ประโยชน์สุขสามัญที่มองเห็นกันในชาตินี้ ที่คนทั่วไปปรารถนา มีทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี เป็นต้น อันจะสำเร็จด้วยธรรม ๔ ประการ คือ
    ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น
    ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา
    ๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี
    ๔. สมชีวิตา การเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กำลังทรัพย์ที่หาได้; มักเรียกคล่องปากว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
    *สัมปรายิกัตถะ ประโยชน์ภายหน้า
    ประโยชน์ขั้นสูงขึ้นไป อันได้แก่ ความมีจิตใจเจริญงอกงามด้วยคุณธรรมความดี ทำให้ชีวิตนี้มีค่า และเป็นหลักประกันชีวิตในภพหน้า ซึ่งจะสำเร็จได้ด้วยธรรม ๔ ประการ คือ
    ๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา
    ๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล
    ๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาค
    ๔. ปัญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปัญญา ธรรม ๔ อย่างนี้เรียกเต็มว่า สัมปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม
    *ปรมัตถประโยชน์ ประโยชน์อย่างยิ่ง คือ พระนิพพาน
    เป็นคำเรียกกันมาติดปาก ความจริงคือ ปรมัตถะ แปลว่า “ประโยชน์อย่างยิ่ง” เหมือนทิฏฐธัมมิกัตถะ แปลว่า “ประโยชน์ปัจจุบัน” และสัมปรายิกัตถะ แปลว่า “ประโยชน์เบื้องหน้า” ก็มักเรียกกันว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ และสัมปรายิกัตถประโยชน์
    มงคลสูตร จาก wikipedia.org :-
    หมวดที่ ๑ ไม่คบคนพาล คบบัณฑิต เปลี่ยนทาง บูชาคนที่ควรบูชา
    หมวดที่ ๒ อยู่ในถิ่นที่เหมาะสม มีบุญวาสนามาก่อน ตั้งตนชอบ
    หมวดที่ ๓ เป็นพหูสูต มีศิลปะ มีวินัย มีวาจาสุภาษิต
    หมวดที่ ๔ บำรุงมารดาบิดา เลี้ยงดูบุตร สงเคราะห์ภรรยา(สามี) ทำงานไม่คั่งค้าง
    หมวดที่ ๕ บำเพ็ญทาน ประพฤติธรรม สงเคราะห์ญาติ ทำงานไม่มีโทษ
    หมวดที่ ๖ งดเว้นจากบาป สำรวมจากการดื่มน้ำเมา ไม่ประมาทในธรรม
    หมวดที่ ๗ มีความเคารพ มีความถ่อมตน มีความสันโดษ มีความกตัญญู ฟังธรรมตามกาล
    หมวดที่ ๘ มีความอดทน เป็นผู้ว่าง่าย เห็นสมณะ สนทนาธรรมตามกาล
    หมวดที่ ๙ บำเพ็ญตบะ ประพฤติพรหมจรรย์ เห็นอริยสัจจ์ ทำพระนิพพานให้แจ้ง
    หมวดที่ ๑๐ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม จิตไม่โศก จิตปราศจากธุลี จิตเกษม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2018
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    ชิวีตพระในสมัยพุทธกาล ปาฏิโมกข์ 600623

    Published on Jun 29, 2017

    ชีวิตพระในสมัยพุทธกาล
    โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตมหาเถระ) ณ วัดญาณเวศกวัน
    ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๐
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • photo.jpg
      photo.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.8 KB
      เปิดดู:
      266
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2018
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
  12. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "เข้าใจขันธ์ ๕..๑" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    Pun janin :-
    Published on Sep 10, 2017
     
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "เข้มแข็ง..อิทธิพลค่านิยม ๑" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    photo.jpg
    Pun janin
    Published on Sep 19, 2017
     
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    สัมโมทนียกถา สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พฤหัสบดีที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐

    Thanatpong Chiraprawatyot
    Published on Jan 14, 2017
    สัมโมทนียกถา สมเด็จพระพุทธโฆษจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
    ณ ชาติภูมิสถาน อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    เนื่องในมงคลวาระ ๖๙ พรรษาแห่งชาตกาล
    พฤหัสบที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    "สุขจากการทำบุญ..๑" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    Pun janin :-
    Published on May 26, 2017
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 เมษายน 2019
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    พระพรหมคุณาภรณ์ กรณีพระอาจารย์คึกฤทธิ์

    Dhamma Talk
    Published on Mar 9, 2011
     
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    จากอินเดียสู่เอเชีย - ชมพูทวีป ๑

    จากอินเดียสู่เอเชีย - ชมพูทวีป ๒

    จากอินเดียสู่เอเชีย - ชมพูทวีป ๓

    จากอินเดียสู่เอเชีย - ชมพูทวีป ๔

    photo.jpg

    KlomKlomFB
    Published on Jul 10, 2012

    มาศึกษาประวัติศาสตร์ ภูมิหลังชมพูทวีปกันคะ มาเรียนรู้ประวัติศาสตร์โลก และการเติบใหญ่ของศาสนาต่างๆในเอเชีย จากธรรมบรรยายโดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) จากซีดีชุด "จากอินเดีย สู่เอเชีย" เรื่องที่ ๔ - มองสงครามอเมริกา-ทาลีบัน ผ่านภูมิหลังของชมพูทวีป ตอนที่ ๔
     
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    มลายูสู่แหลมทอง-ป.อ.ปยุตฺโต

    photo.jpg
    KlomKlomFB
    Published on Jul 26, 2012

    เป็นความรู้เชิงประวัติศาสตร์ ทางด้านมลายู มาเลย์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สุมาตรา ศรีวิชัย สถานการณ์ภาคใต้ โดย ท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) จากซีดีชุด "จากอินเดีย สู่เอเชีย" เรื่องที่ ๕ - ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
     
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    พระกับสังฆะ และสังคม-พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)

    เสรี ลพยิ้ม
    Published on May 11, 2014

    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) CD220 - ทันโลก ถึงธรรม 2548
    วัดญาณเวศกวัน อำเภอสามพราน
    จังหวัดนครปฐม
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,602
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    ฟังคำทำนาย ทำไมจึงมัวตื่นตูม แล้วภูมิปัญญาฯ-พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) - CD213
    จะถือพุทธ และรักษาธรรมได้ เรื่องอย่างนี้ต้องเข้าใจอย่าให้เพี้ยน
    วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน
    จังหวัดนครปฐม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020

แชร์หน้านี้

Loading...