วิชชา ธรรมกาย ไม่ได้มาจาก วัดพระธรรมกาย

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย jack5487, 28 มิถุนายน 2008.

  1. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOO

    สาธุ เช่นกันครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 30 มิถุนายน 2008
  2. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    นนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนนน





    ขณะที่วิจัยส่วนประกอบของอาหาร หลายคนกลับทานจนอิ่มไปหลายคนแล้ว

    ได้ประโยชน์จากอาหารแล้ว แต่ บางคนกินเหมือนกัน แต่กินแล้วติดรส

    ไม่ได้ทานด้วยโยนิโสมนสิการ คือ รู้รสเพียงนิด พอเป็นกระสัย เจตนา อาศัย พลังงานจากอาหาร เพื่อใช้ประโยชน์จากธาตุขันธ์ต่อไปในการทำประโยชน์


    แต่ผู้เสพเพื่อเสพเวทนา( รสอร่อย) อันเป็นเหตุแห่งตัณหา จึงทานจนเกินควร เกิดเวทนาใหม่ เกิดโรคอ้วน โรค ฯลฯ เป็นพิษในร่างกาย


    รสชาติจากการปฏิบัติ ก็คล้ายๆกัน


    เบื้องต้น อาศัย ปิติ สุข เอกัคตา ... เพื่อความชุ่มชื่นแห่งใจ


    เพื่อมีกำลัง หยุดนิ่ง หยุดนิ่ง เพื่ออะไร

    เพื่อเห็นความจริงที่ชัดขึ้น ของสังขารทั้งมวล อันเป็นเจตนาของหลักวิชา



    แต่ ถ้าเสพติด เวทนาอันเกิดจากการหยุดนิ่งแล้ว ขั้นตอนต่อไปของหลักวิชา คือ การเห็นความจริงอันเป็นไตรลักษณ์ของสังขาร จึงไม่ได้ดำเนิน


    จึงหลงเสพ รสอร่อยเบื้องต้นเช่น สงบ ชั่วคราวเพื่อกดกิเลสหยาบๆ

    หลงแสง สี นิมิตรลวง อันเกิดจากสังขารขันธ์ที่ละเอียดยังไม่ได้ถอนจากจิต ก่อตัวขึ้น หลอกลวงให้วิปลาส

    คิดว่าตนยิ่งใหญ่

    อ้ตตาเพิ่มพูน ยิ่งกว่าคนไม่ฝึกสมาธิลึกๆ หรือ
    ไม่เห็นแสงสี ก็มีมาก




    พรรณาพอสมควร ขอตอบสั้นๆก่อนนะครับ

    ตามประสาคนกิเลสหนา ปัญญาหยาบอยู่ ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญอะไร

    แค่หางแถว ไร้อันดับเท่านั้น


    1 การถอนกิเลส


    แบ่งสามหมวดใหญ่ คือ โลภ โกรธ หลง


    เอาแค่เข้าถึงดวงปฐมมรรค ที่เป็นธาตุละเอียดที่มีจริง ไม่ใช่นิมิตรก่อนนะครับ


    เมื่อ ใจนิ่ง คือ สติ สัมปชัญญะ เต็มรอบขึ้น คือ เมื่อจิตรับรู้การกระทบทางอายตนะทั้งหก แต่มีสัมปชัญญะปล่อยวางได้เร็ว ไม่ติดพัน
    เป็นอารมณ์ปรุงแต่งมาก รู้แล้วกลับมาเป็นอิสระของตนได้ มีความผ่องใสเป็นปกติ

    จิตจะเข้าถึงความตั้งมั่นได้ง่าย


    ตั้งมั่นโดยไม่ต้องตั้งเจตนา หรือ แม้แต่รู้เรื่องฌาณ หรือ ญาณ ใดๆ

    มีความสว่างออกจากจิตเอง ที่ไม่ใช่การฝึกกสิณใดๆ หรือเพ่งใดๆ

    ตอนจะนอน ก่อนจิตจะเคลิ้มหลับ ตกศูนย์ลงภวังค์ จะเห็นธาตุละเอียดใส สว่าง อยู่ที่ศูนย์กลางกาย ในดวงนั้น มีดวงละเอียด
    ของธาตุทั้งหกซ้อนอยู่ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม อากาศ และ วิญญาณธาตุ เป็นศูนย์กลางควบคุมธาตุทั้งหกในกายนั่นเอง

    ( พิจารณาธาตุในกาย เห็นธาตุในธาตุ )

    .....................ผ่านขั้นตอนละเอียดมากมาย จนเห็นกายหลัก
    ทั้งมนษย์ ทิพย์ พรหม อรูปพรหม และดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายเหล่านั้น อันประกอบด้วยธาตุทั้งหกไปเรื่อยๆ

    จะเห็นว่า มีความแปรปรวนที่เค้าแสดงให้เห็น ...( แต่คนมักไม่พิจารณาตรงนี้ ถ้ามัวติดแสง ติดสุข ฯลฯ )

    เมื่อ ธาตุทั้งหกที่ศูนย์กลางแต่ละกายแปรปรวน กายสังขารก็เริ่มเจ็บไข้ ได้ป่วย เป็นการขยายปฏิกิริยาออกไปให้เห็นจากละเอียดสู่หยาบอย่างนี้


    บางครั้ง ทำผิดศีล กายมนุษย์ละเอียดหรือกายฝันจะดำมืด มัวหมองก่อน เพราะ บาปอกุศลปรุงแต่ง ธาตุทั้งหกก็เริ่มแปรปรวนเช่นกัน

    ฯลฯ


    ตัวอย่างข้างต้น หากมีปัญญาที่อบรมมาดี

    หรือ มีครูอาจารย์ที่คอยขนาบ ควบคุม ชี้แนะ ใกล้ชิด เป็นกัลยาณมิตร

    ก็สามารถ กระทำ ศีล , สมาธิ และ ปัญญาให้เกิดขึ้นเรื่อยๆเช่นนี้


    เห็นความจริงแล้ว ..........จะโลภ ของคนอื่นไปทำไม

    จะโกรธ ไปทำไม จะหลงในสิ่งปรุงแต่งในโลกทั้งสามภพนี้ไปทำไมอีก.....................


    เว้นแต่ว่า..........กิเลสละเอียดในใจมันแน่นมากเหลือเกิน


    เห็นแสงสว่างตลอดเวลา แต่ยังไม่ถอนอาสวะขั้นละเอียดให้หมด
    เลย มีอัตตาละเอียดซ้อนมา แน่นกว่าเก่าเช่น

    ต้องมีบารมีมากกว่าคนอื่น ต้องมีลาภสักการะมากกว่าคนอื่น
    ต้องยิ่งใหญ่กว่าคนอื่น บังคับให้คนอื่นเป็นดังใจ
    เป็นการทำบุญสร้างกิเลส ไม่ใช่ตัดกิเลส
    ทำสมาธิสร้างความมืดในความสว่าง
    เป็นปัญญาฉ้อฉล เพื่อครอบงำทุกสิ่ง ดั่งกระจกที่ส่องออกไปเห็นทุกสิ่งแต่ไม่เห็นด้านหลังตนเอง....



    ส่วนขั้นตอนการถอนกิเลสขั้นกลาง ขั้นสูงมีอยู่ แต่ ยังไม่กล่าวที่นี้




    2. ตามหลักวิชชาธรรมกาย


    แสงสว่างไม่ใช่จุดหมาย แต่ เพื่ออาศัยรู้ และผ่าน ใช้แล้วก็ต้องทิ้ง


    เมื่อหยุดนิ่งในกลางของกลาง คือ วางจิตนิ่งไปเรื่อยๆ เมื่อจิตไม่ติดพัน ในสิ่งต่างๆ แม้แต่ตัวแสงสว่างเอง ก็จะตกศูนย์ เข้าสู่สภาวะที่ละเอียดกว่าไปเรื่อยๆ ขณะที่ตกศูนย์ ผ่านกายต่างๆเข้าไป จะเห็นสภาวะเกิด ดับ ที่กั้นกลางระหว่าง ดวงธรรมที่ทำให้เกิดกายต่างๆกับกายต่างๆนี้เป็นปัญญาระดับหนึ่งที่เห็น


    การผ่านกายต่าง และเห็นความแปรปรวนของกายแต่ละชั้นนั่นคือกายสติปัฏฐาน เห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ของกายต่างๆ


    การเห็น ดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายต่างๆมีแสงสีต่างๆที่เปลี่ยนไปตามเวทนา สุข ทุกข์ เฉยๆ( แบบไม่รู้ หรือแรงกระตุ้นไม่พอ )
    กายและดวงธรรมมีสีต่างไป เราได้อาศัยพิจารณาว่า เวทนา ก็ไม่เที่ยงเป็นไตรลักษณ์


    การเห็นว่า เมื่อจิตเป็นเอกัคตาบ้าง ส่ายบ้าง ฟุ้งบ้าง โกรธบ้าง ฯลฯ
    ดวงธรรมและกายก็เปลียนสี แสงไปตามสภาวะกาย นั่นคือ
    จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เห็นไตรลักษณ์


    การเห็นธรรมต่างๆที่ประกอบจิต ให้แปรปรวน เปลียนอาการ เช่น

    ความง่วง ความฟุ้ง ความโกรธ ฯลฯ พูดให้ยากอีกหน่อยคือ
    นิวรณ์ห้า หรือ กิเลสสามหมวดโลภ โกรธ หลง ใดๆก็ตามปรุงจิตให่เปลียนแปลงไป กายและดวง ก็เปลียนแสงสีตามนั้น

    นี่เป็น ธรรมมานุสสติ



    ที่เห็นได้เป็นปัจจุบันขณะ




    เห็นกันจะจะ ณ ภายใน
     
  3. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    3.ไตรลักษณ์นั้น

    ก็ได้อธิบายรวมมาดังข้างต้นไปแล้ว อย่างง่ายๆ

    ที่เหลือ .... ต้องทำเอง ลิ้มรสเอง ก็ไม่ต้องอธิบายมากให้ยุ่งยาก

    ทั้งกาย วาจา ใจ


    หนทางมีต้องเดินไป .......ครูผู้สอนมีอยู่ ไปเรียนกับท่านสิครับ


    เชิญที่วัดปากน้ำ ฯ และ วัดหลวงพ่อสดฯ ราชบุรีครับ
     
  4. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ผมจะบอกให้ว่า ธรรมกายนี่ผมฝึกมาตั้งแต่คุณยังไม่รู้จักเลยมั้ง
    จะให้ผมเล่าให้ฟังไหมว่ามันเป็นอย่างไร

    ก่อนอื่น ทำความเข้าใจก่อนว่า ผมจะมาพูดเพื่อให้ เกิดทัสนะที่ตรงจะได้ไม่หลงกัน

    และให้คุณโอมตอบคำถาม อย่างซื่อสัตย์ ต่อความรู้สึก ตนเองแล้ว จะได้คำตอบที่ชัดเจนแน่นอน

    ข้อแรก

    ตามธรรมดา แล้ว จิตที่เกิดโทสะ หรือ เกิดโมหะ ย่อมจะเกิดแต่เหตุ คือ กระทบสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อันชอบใจหรือไม่ชอบใจ สิ่งนี้จะปรากฎได้อย่างไร ในเมื่อท่านนั่งสมาธิอยู่ ท่านปรุงมันขึ้นมาเองหรือ

    ท่านบอกว่า สัมมาอรหัง จนเห็นแสงสว่าง เมื่อเห็นแสงสว่างนั้นแล้ว ท่านมองเข้าไปลึกเข้าไปกลางกาย
    แล้วท่านก็บอกว่า ดวงโทสะ ดวงโมหะเป็นสีนั้นสีนี้ อะไรก็ตามเห็นแล้วพิจารณาเป็นอนิจจัง เป็นปัจจุบันธรรม

    ข้อนี้ ท่านจะไปเห็นเป็นปัจจุบันได้อย่างไร ในเมื่อขณะนั้นท่านนั่งสมาธิอยุ่ จิตมันจะไปเกิดโทสะ โมหะ มาปรุงได้อย่างไร นี่ข้อนี้ นอกจากท่านไม่ได้เข้าองค์สมาธิ คือ ไม่มีองค์ อุเบกขา

    และ หากท่านไม่ได้เข้าองค์สมาธิ ท่านจะไปมีญาณอะไร

    ข้อนี้ หลักเกณฑ์ของท่านแย้งกันเองใน ขั้นตอน

    การเจริญมหาสติปัฎฐานนั้น พระพุทธองค์ ท่านสอนให้ ดูที่ กาย เวทนา จิต ธรรม อันเป็นนามธรรม ซึ่งหามีรูปไม่ และมันต้องปรากฎขึ้นใน ใจ มิใช่ตาเห็นรูป

    นี่วิธีการของท่าน ขัดต่อพุทธะอย่างมาก แย้งข้อนี้มาก่อน แล้วผมจะตั้งคำถามอีก
     
  5. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    :::พลังสมาธิชั้นสูง:::
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->ไปเจอมาวิชานี้คืออะไร เป็นสาขาย่อยธรรมกายหรือเปล่า


    [​IMG]


    http://www.geocities.com/knowledge_meditation/


    <!-- following code added by server. PLEASE REMOVE --><!-- preceding code added by server. PLEASE REMOVE -->English
    <?XML:NAMESPACE PREFIX = U7 /><U7:p></U7:p>คำนำ<?XML:NAMESPACE PREFIX = U8 /><U8:p></U8:p>
    <U7:p></U7:p>ธาตุ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>บุญเกิดได้จากการปฏิบัติสมาธิ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังธาตุละเอียดของธาตุจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การเพิ่มบารมีแก่ตน<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ภพเวียนว่ายตายเกิด<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อำนาจของธาตุ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กฎธรรมชาติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ความหมายของจิตเข้มแข็งกับพลังจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สมาธิจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การปฏิบัติจากโลกียะฌาณจนบรรลุโลกุตตรฌาณและสัญลักขณ์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การปฏิบัติจะไม่มีการเดินสายกลาง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ผลกระทบจากมิจฉาทิฐิ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สิ่งที่ควรละในการปฏิบัติสมาธิ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมชาติของธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กฎแห่งกรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การหลุดพ้นของจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังจิตเท่านั้นทำให้เกิดบุญ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สัจธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วงจรพลังจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วงจรชีวิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การปฏิบัติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อนันตพลังทางจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>บุญฤทธิ์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กฎแห่งชีวิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิชาอนันตพลัง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การปฏิบัติถึงขั้นสูงสุดด้วยญาญหยั่งรู้<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สัจธรรมเป็นสิ่งที่เที่ยง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังธาตุส่งผล<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>มนุษย์เจริญตามหลังโลก<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>แก่นแท้ของธาตุ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การพิจารณากายสุดหยาบสุดละเอียด<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สีที่เห็นในสมาธิ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ภพนิพพาน ภพโลกันตร์ ภพเอนกอนันต์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พิจารณาสัจธรรมให้ถ่องแท้<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ทำไมผู้ที่ปฏิบัติสมาธิได้จึงอยู่ในแวดวงของผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สัจธรรมเป็นของเที่ยง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พิจาณาในเหตุและผล<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>บุญซื้อให้ขายกันไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วยตนเองเท่านั้น<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>จ้าวโลก - จ้าวป輙ญญา<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>จิตอย่าหวั่นไหว<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กาย ใจ จิต วิญญาณ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ผลของการปฏิบัติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ต้นธาตุต้นธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ปฏิบัติบูชาเข้าถึงธรรมโดยตรง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การพิจารณากายสุดหยาบกายสุดละเอียด<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิธีปฏิบัติให้เกิดพลังสมาธิ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อำนาจการปฏิบัติสูงสุด<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อย่าขึ้นกับใครนอกจากตัวเราเอง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ทางโลกสิ่งเล็กอยู่ในสิ่งใหญ่ แต่ทางธรรมสิ่งใหญ่อยู่ในสิ่งเล็ก<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>เรื่องธรรมชาติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังอำนาจกำเนิดธาตุธรรมเดิมกำจัดอุปสรรคและภัยวิบัติต่างๆ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมชนะอธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธาตุละเอียดไม่มั่นคง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>โลกอนิจจัง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ปัญญาธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมะที่เที่ยง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อารมณ์ของการปฏิบัติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>มนุษย์ควรรู้<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พฤติกรรมของธาตุ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ไตรลักษณ์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>บทควรจำ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>เมตตาธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิชาการปฏิบัติสมาธิขั้นสูง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การอุทิศกายเพื่อกุศล<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>รูปธรรมและนามธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อนุสาสนีปาฏิหาริย์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>มนุษย์มีปากกับใจไม่ตรงกัน<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>มนุษน์ที่เป็นที่นิอิจฉาของเหล่าเทพเทวดา<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อารมณ์ที่ให้โทษ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิชาทางโลก<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังอำนาจสั่งการ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมะเป็นอมตะ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ศาสตร์ต่างๆเป็นการปรุงแต่ง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>บุญศักดิ์สิทธิ์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สิทธิการปกครอง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิชาทางธรรมเหนือทางโลก<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ผิดศิลก็ยังได้กุศล<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังอมตะ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ผลลัพธ์จากโลกียธรรมและโลกุตตรธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ผลของกรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สมาธิสร้างบารมีธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมปฏิบัติส่งผล<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมของตนเอง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ชีวิตอนิจจัง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ตนเป็นที่รู้ความจริง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กฎแห่งกรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อำนาจพลังธาตุจิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การเดินเครื่องสำเร็จ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ผลของการปฏิบัติจริง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>การสับกายซ้อนกาย<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กฎธรรมชาติของธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ปฏิบัติด้วยสติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>รากเหง้าของธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อดีตจะซ้ำรอย<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สำเร็จในกรอบธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิชาทางโลกเข้าไม่ถึงทางธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กรรมมีทั้งดีและไม่ดี<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>เรื่องธาตุเรื่องธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>เหนือกฎแห่งกรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ทำบุญไม่ได้บุญ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>มนุษย์อยู่ใต้กฎแห่งกรรม<O:p></O:p>
    สวรรค์และนรกอยู่บนโลกนี้เอง<O:p></O:p>
    คนเราต้องยอมรับความจริง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>มนุษย์เจริญได้ด้วยธรรมะ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ควรรู้ในสิ่งที่ไม่รู้<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>คติธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สมาธิที่มั่นคง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>รู้จริงทำจริง<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วิปัสสนากรรมฐาน<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมปฏิบัติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธาตุเป็นสิ่งสำคัญยิ่งกว่าชีวิต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมะมีอยู่ในจิตใจ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังสมาธิจิตเหนือทุกสรรพศาสตร์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>กำจัดสิ่งที่เป็นอวิชชา<U7:p></U7:p>
    พิจารณาตนก่อนตำหนิผู้อื่น
    โลกเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตา<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ปรมัตถธรรมมีอยู่ในตน<U7:p></U7:p>
    จิตตานุปัสนา
    ธรรมรักษา<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>นิพพานเป็นอัตตาหรืออนัตตา<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>วงจรแห่งกรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>หลักธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ทางโลกให้ทำบุญ ทางธรรมให้สร้างบุญ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>พลังลี้ลับภายใน<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>หลักการปฏิบัติธรรมมี 2 วิธี ทางโลกและทางธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธัมมานุธัมมปฏิบัติ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมปัญญา<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ธรรมชาติของมนุษย์<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ทางโลกกับทางธรรมต่างกัน<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>สิ่งที่มนุษย์ควรรู้<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>อย่าเห็นผิดเป็นชอบ<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p>ชั้นเทพขึ้นไปไม่รับบิณฑบาต<U8:p></U8:p><O:p></O:p>
    <U7:p></U7:p><U>ผลของการปฏิบัติธรรม<U8:p></U8:p></U>
    รูปธรรมและนามธรรมมีอยู่ในธาตุธรรมเป็นและธาตุธรรมตาย
    <U>ธรรมะที่เที่ยงมีอยู่ในธาตุจิต<U8:p></U8:p></U>
    การปฏิบัติสมาธิเพื่อให้ถึงธรรมที่เที่ยง
    สูตรสำเร็จด้วยธรรม
    <U>ธาตุจิตควรแก่การศึกษา<U8:p></U8:p></U>
    <U>ธาตุอยู่ได้เพราะธรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p></U>
    <U>มนุษย์ต้องยอมรับความจริง<U8:p></U8:p></U>
    <U>ควรใช้วิจารณญาณพิจารณธรรม<U8:p></U8:p></U>
    <U>มนุษย์หลบไม่พ้นกฎแห่งกรรม<U8:p></U8:p><O:p></O:p></U>
    กฎธรรมชาติของธรรม<O:p></O:p>
    บุญฤทธิ์กับอิทธิฤทธิ์<O:p></O:p>
    กรรมของมนุษย์<O:p></O:p>
    คุณสมบัติของธรรม
    กรรมจะต้องชำระ<O:p></O:p>
    พิจารณาตนเองก่อน<O:p></O:p>
    ควรเอาชนะจิตใจของตนด้วยธรรม<O:p></O:p>
    กรรมของตนจะต้องแก้<O:p></O:p>
    พฤติกรรมของสัตว์โลก<O:p></O:p>
    พฤติกรรมวงจรของธาตุจิต
    ธาตุธรรมเป็นธาตุแท้<O:p></O:p>
    การปฏิบัติธรรมตอนปลาย<O:p></O:p>
    ธรรมที่เที่ยงอยู่ในธาตุจิต<O:p></O:p>
    การปฏิบัติสมาธิเพื่อให้ถึงธรรมที่เที่ยง<O:p></O:p>
    ธรรมปฏิบัติเป็นทางเลือกทางเดียว<O:p></O:p>
    วิชาสำเร็จสูงสุดโดยไม่มีธาตุไม่มีธรรม<O:p></O:p>
    ปฏิกิริยาของธาตุธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมะมีอยู่ในตัวเราทุกคน<O:p></O:p>
    อำนาจธาตุธรรมส่งผล<O:p></O:p>
    ใจเป็นเหตุจิตเป็นผล<O:p></O:p>
    ปฏิบัติได้สำเร็จหรือไม่อยู่ที่จิตใจ<O:p></O:p>
    สำคัญที่จิตวิญญาณธาตุ<O:p></O:p>
    ธรรมปัญญาจากญาณจะไม่สร้างปัญหา<O:p></O:p>
    วิชาปฏิบัติสูงสุดแห่งธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมปาฏิหาริย์<O:p></O:p>
    เปลี่ยนอริยะมรรคเป็นอริยะผล<O:p></O:p>
    สัจธรรมเป็นอมตะ<O:p></O:p>
    ประสิทธิภาพจากการปฏิบัติธรรม<O:p></O:p>
    ข้อบัญญัติแห่งธรรม<O:p></O:p>
    มนุษย์ยึดเอาอธรรมเป็นสักการะบูชา<O:p></O:p>
    จิตวิญญาณธาตุเป็นนามธรรม<O:p></O:p>
    มีวิจารณญาณที่ดีจะไม่ถูกหลอก<O:p></O:p>
    คำเตือนสำหรับผู้หลงผิดในธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมปฏิบัติมีทางสายเดียวที่ผิดอยู่ที่ผู้บรรยายธรรม<O:p></O:p>
    ต้องปฏิบัติเข้าถึงกฎธรรมชาติของธรรม<O:p></O:p>
    กฎของธรรมชาติของธรรมและอธรรม<O:p></O:p>
    ธาตุธรรมอันทรงพลัง<O:p></O:p>
    ความศรัทธามีต่อศาสนาเสื่อมลง <O:p></O:p>
    ธาตุธรรมเป็นของเราโดยกำเนิด<O:p></O:p>
    ธาตุธรรมเป็นสิ่งที่ประเสริฐของชีวิต<O:p></O:p>
    การปฏิบัติอยู่ที่สติ<O:p></O:p>
    ความพยายามเป็นผลสำเร็จแห่งชีวิต<O:p></O:p>
    อย่าเห็นผิดเป็นชอบ<O:p></O:p>
    เกิดมาเป็นมนุษย์จงทำดีไว้เถิด<O:p></O:p>
    การเรียนรู้ธรรมไม่มีที่สิ้นสุด<O:p></O:p>
    วิชาสับกายซ้อนกาย<O:p></O:p>
    วงจรของธาตุธรรม<O:p></O:p>
    การเปลี่ยนแปลงของวัตถุธาตุและวิญญาณธาตุ<O:p></O:p>
    ความยุติธรรมของบุคคลถูกครอบงำ<O:p></O:p>
    ธรรมปฏิบัติเป็นที่พึ่งในทางธรรม<O:p></O:p>
    พระธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมชาติที่แท้จริงของธรรม<O:p></O:p>
    ศาสนาเป็นความเชื่อของมนุษย์ทุกคน<O:p></O:p>
    ปฏิกิริยาของจิตวิญญาณธาตุ<O:p></O:p>
    พระธรรมเป็นต้นกำเนิดของศาสนา<O:p></O:p>
    ธรรมะที่แท้อยู่ในธาตุธรรม<O:p></O:p>
    มนุษย์ทำให้ความเชื่อในแต่ละศาสนาแตกแยก<O:p></O:p>
    การปฏิบัติเข้าถึงพระธรรม<O:p></O:p>
    แสดงผลในภพสาม<O:p></O:p>
    มนุษย์ยังเข้าไม่ถึงพระธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมเป็นการปฏิบัติรู้ด้วยตนเอง<O:p></O:p>
    ผู้ที่ปฏิบัติยึดติดองค์ศาสดาจะไม่เจริญในธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมะปฏิบัติเป็นวิชาสูงสุดในทางธรรม<O:p></O:p>
    การปฏิบัติเข้าถึงเนื้อแท้ของธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมะปฏิบัติควรแก่การติดตาม<O:p></O:p>
    ศาสนาเป็นของทางโลก วิปัสสนากรรมฐานเป็นของทางธรรม<O:p></O:p>
    ธรรมะปฏิบัติเป็นการรวมทุกศาสนาได้เป็นหนึ่งเดียว<O:p></O:p>
    ข้อควรรู้ในการปฏิบัติธรรม<O:p></O:p>
    จิตที่พเนจรจะไม่มีกำลัง<O:p></O:p>
    จงรักษาธาตุธรรมให้มั่นคง<O:p></O:p>
    ข้อบัญญัติของธาตุธรรม<O:p></O:p>
    ธาตุธรรมในจิตมีทั้งธรรมและอธรรม<O:p></O:p>
    อิทธิฤทธิ์ของญาณ<O:p></O:p>
    ธาตุธรรมที่บริสุทธิ์จะมีญาณที่มีพลัง<O:p></O:p>
    อิทธิพลของจิตวิญญาณธาตุ<O:p></O:p>
    ธรรมจะไร้ผลถ้าจิตวิญญาณธาตุไม่สนองรับ<O:p></O:p>
    ยึดการปฏิบัติอย่างเดียวเท่านั้น<O:p></O:p>
    ศาสนาเป็นของทางใจ ธรรมะเป็นของทางจิต<O:p></O:p>
    กรรมเป็นบ่อเกิดแห่งทุกข์<O:p></O:p>
    จงระวังภัยใกล้ตัว<O:p></O:p>
    พลังอำนาจมหัสจรรย์มีอยู่ในตัวบุคคล<O:p></O:p>
    ธาตุธรรมที่บริสุทธิ์จะคุ้มภัย<O:p></O:p>
    เรืองโลกร้อน<O:p></O:p>
    การปฏิบัติดีทางโลกกลับเป็นการส่งเสริมทางอธรรม<O:p></O:p>
    จัดความสำคัญของแสงให้ถูกต้อง<O:p></O:p>
    ที่สุดของการดับทุกข์โศกโรคภัย<O:p></O:p>
    โลกมนุษย์เป็นอนิจจัง<O:p></O:p>
    ให้ผู้ไม่ดีปกครองกันเองน้อยลง<O:p></O:p>
    พลังธาตุธรรมเป็นธรรมแท้<O:p></O:p>
    พลังธาตุธรรมเปลี่ยนสภาพธรรมชาติได้จริง<O:p></O:p>
    ธรรมะกับศาสนา<O:p></O:p>
    ธรรมะจะต้องให้แจ้ง<O:p></O:p>
    ธรรมะที่เที่ยงจะต้องปฏิบัติให้รู้แจ้ง<O:p></O:p>
    การปฏิบัติธรรมทำให้รู้แจ้งกว่าคำบรรยาย<O:p></O:p>
    การบรรยายธรรมเป็นเรื่องทางโลกอธรรม<O:p></O:p>
    หนทางไปสู่ทางธรรม<O:p></O:p>
    ผลของการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้อง<O:p></O:p>
    ชี้แจงการปฏิบัติสมถกับวิปัสสนากรรมฐาน<O:p></O:p>
    การปฏิบัติที่ถูกต้องจะเกิดผล<O:p></O:p>
    ธรรมเป็นที่พึ่งอย่างแท้จริง<O:p></O:p>
    จิตกับใจทำหน้าที่ต่างระดับกัน<O:p></O:p>
    พลังงานแสงเป็นบทสำคัญของการปฏิบัติธรรม<O:p></O:p>
    วิญญาณธาตุเป็นของทางธรรม ศาสนาเป็นความเชื่อของทางโลก<O:p></O:p>
    ทุกศาสนาเป็นของทางโลกอธรรม<O:p></O:p>
    ผู้ที่มีธรรมะในจิตใจจะไม่ถูกหลอกได้ง่าย<O:p></O:p>
    <O:p</O:p
     
  6. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    ฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯฯ


    ใครว่าต้องนั่งเห็นตลอดหละครับ พี่

    เห็นอิริยาบถอื่นไม่ได้หรือครับ

    และ ไม่ได้บอกด้วยว่า ให้ภาวนาสัมมาอะระหัง ถึงจะเข้าไปรู้

    ในกาย เวทนา จิต ธรรม ตามแนววิชชาธรรมกายได้


    มีคนมากมาย เข้าถึง โดยไม่รู้จัก คำว่าสัมมาอะระหัง

    ไม่รู้จักดวงแก้ว ไม่เคยเพ่งดวงแก้ว



    มันสำคัญที่ ...........อาศัย ใจ ที่หยุดนิ่ง มาเห็นที่กลางกายต่างหาก





    เข้าใจผิดแล้วครับ


    ผมไม่ได้กล่าว ว่าต้องนั่งเข้าไปดู

    แค่อ่านในตัวอักษรที่ผมเขียน
    อย่าเข้าใจเองว่าต้องเป็น
    เหมือนที่พี่คิด เหมือนที่พี่เห็นมาจากที่อื่น ตำราอื่น ที่ตั้งกฏตายตัว
    หรือ รูปตายตัวไว้ เพื่อเป็นมาตรฐานเดียวกันไว้ก่อน



    นี่แหละ อุปสรรคในภาษาการเขียน และการพูด


    ผมบอกแล้วนะ ว่าผมไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ ผมแค่ปลายแถว

    OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOO


    เข้าใจไม่ตรงประเด็นแล้ว...


    การเข้าถึงสภาวะตั้งมั่น โดยไม่ติดพันกับสิ่งใด แม้ไม่จำชื่อองค์ประกอบของฌาณ ก็เป็นตัวนั้น อยู่ได้


    เช่น เราขับรถไปกรุงเทพ โดยไม่ใส่ใจรายละเอียดข้างทาง

    ก้บ ไปกรุงเทพ โดยใส่ใจ จดจำกับรายละเอียดข้างทางนั่นแหละ

    ............................ลองสอบถามครูอาจารย์หลวงปู่สายพระป่าที่เชื่อในปฏิปทาได้สิครับ


    อัปนาจิต ( จิตตั้งมั่น ) คือ จุดหมายของสัมมาสมาธิ
    อาจเป็นอุเบกขาธรรมที่รู้พร้อมแล้วไม่หวั่น ไม่ไหว เพราะเห็นความจริงของไตรลักษณ์ของทุกสิ่งที่มากระทบจิต
    หรือ ไม่หวั่นไหว ด้วยการปล่อยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ เครื่องหมายรู้ของจิตทิ้งไปเรื่อยๆ จนมีแต่รู้ๆๆๆๆๆกับตัว่จิตเอง ก็ได้

    ( แล้วเป็นองค์อุเบกขา อย่างในความหมายของพี่ไหมหละ )


    อัปนาจิต
    เข้าได้สองทางใหญ่ๆ คือ ความรู้ตัวทั่วพร้อม จนสลัดพ้นนิวรณ์เครื่องกั้น
    แล้วเปล่งแสงออกจากตน นั้นอย่างหนึ่ง อาจเรียก การใช้ปัญญานำทาง
    หรือ วิปัสสนาญาณแรงกล้า จนเข้าถึงความตั้งมั่น บริสุทธิ์ของจิต ได้
    นี้อย่างหนึ่ง

    อีกทาง คือ การไต่ลำดับองค์ฌาณ นั่นแหละ


    ( อัปนาจิต คือ จิตไม่หวั่น ( ผลักต้าน) และ ไม่ไหว ( ดึงดูด) ไม่ใช่ตัวเดียวกับ อัปปนาสมาธิ แต่
    อัปปนาสมาธิ เป็น เซ็ทย่อยของ อัปปนาจิต )


    ญาณ คือ เครื่องรู้ก็จะเกิดละเอียดขึ้นตามลำดับ ตามกำลังการฝึกเข้าสู่สภาวะตั้งมั่นของจิต ( อัปปนาจิต ) นี้บ่อยๆ

    OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOO


    การที่ให้ดูที่กาย เวทนา จิต ธรรม


    แต่ก็ให้ดูที่ใจ ที่จำลองอาการเหล่านั้น ออกมาเป็นรูปละเอียดนั่นแหละ

    แล้วตัดที่ตัวรูปนั่นแหละ


    ( เทคนิค ตัดกาย ของ มโนมยิทธิ )


    คุณสมบัติของใจอย่างหนึ่ง คือ เห็น


    ใจ เป็นนามธรรม ใช่ไหมครับ











    ท่านอ่าน และพิจารณา สิ่งที่ผมเสนอดีๆ

    การที่ผมตอบไม่ตรงแง่มุมของท่าน ไม่ได้หมายความว่า

    ผิด


    อาจผิดจากมุมมองท่าน แต่แท้ที่จริง อาจได้ผลไม่ต่างกันกับคนอื่น



    การที่คนอื่นใช้ช้อนซ่อมสับข้างกับทีตนถนัด ไม่ใช่หมายความว่าผิดนะ
    ถ้ายังทานข้าวได้อยู่ หรือ แม้แต่จะใช้ตะเกียบ หรือ มือเปิบ ก็ตาม




    พี่เล่า การฝึกเพื่อเข้าถึงธรรมกายแบบที่พี่ฝึกมาหน่อยสิ...จะได้เป็นธรรมทาน

    ขอบพระคุณล่วงหน้า ที่จะเปิดตาผมให้สว่างกว่านี้บ้าง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 1 กรกฎาคม 2008
  7. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    ที่ขัดกันในตัวคำพูด หรือ ประโยคที่เขียนของพี่เอง

    จากข้อความนี้ ที่พี่โพสไว้นะครับ

    "
    การเจริญมหาสติปัฎฐานนั้น พระพุทธองค์ ท่านสอนให้ ดูที่ กาย เวทนา จิต ธรรม อันเป็นนามธรรม ซึ่งหามีรูปไม่ และมันต้องปรากฎขึ้นใน ใจ มิใช่ตาเห็นรูป

    นี่วิธีการของท่าน ขัดต่อพุทธะอย่างมาก แย้งข้อนี้มาก่อน แล้วผมจะตั้งคำถามอีก "


    เห็นไหมครับ ว่าตรงไหน ...............
     
  8. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ไม่สอนแล้ว ขี้เกียจ
     
  9. upanya

    upanya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2006
    โพสต์:
    900
    ค่าพลัง:
    +1,035
    ก็บอกแล้วว่ามันอธิบายยาก ด้วยเหตุนี้แหละ เมื่อยเปล่าๆ
    มองด้วยเหตุผลธรรมดามันอธิบายยาก

    รู้เห็นไม่เสมอกัน พื้นฐานต่างกัน มันยากไปหมด

    แต่คุณโอมมีความรู้มากนะครับ
    มีความพยายามสูงด้วย
    ขออนุโมทนา
    ผมเองอธิบายไม่เก่งครับปลายแถวเหมือนกัน
     
  10. upanya

    upanya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2006
    โพสต์:
    900
    ค่าพลัง:
    +1,035
     
  11. jinny95

    jinny95 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    6,074
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +9,666
    ถ้าผมจะกล่าวว่า การนำธรรมกาย มากล่าวปน (ข่ม) กับ สติฐาน ดังที่ยึดมาใช้กันในปัจจุบัน ทำให้ ธรรมกาย ก็ ไม่เด่น และ สติฐาน ก็ไม่เลิศ จะเชื่อไหมครับ

    ไม่ได้หมายความว่า ธรรมกาย ไม่ดีนะครับ เพียงแต่ คำสอนมันถูกปรุงแต่ง เพื่อพยายามให้สอดคล้องกับ สติฐาน โดย โมหะ ของผู้สอนบางท่าน

    ธรรมกายเป็น ( บาทฐาน ) ที่ดี อย่างหนึ่งเพื่อ วิปัสสนา ( สติฐาน ) เลยทีเดียว

    ปล. เดี๋ยวต้องมีคนกล่าวหรือคิดว่า ธรรมกาย เป็นทั้ง สมถะ และ วิปัสสนา อีกตามเคย ขอออกตัวตรงนี้เลยนะครับ ว่าไม่ได้เจตนาลบหลู่ท่านผู้ทรงภูมิทั้งหลาย ผมเพียงแค่ อยากบอกตามทัศนะของผมเท่านั้น จะเชื่อก็ดี จะไม่เชื่อก็ดี อย่างไรฝักใฝ่มาทางธรรมก็ประเสริฐทุกรูปทุกนามอยู่แล้ว^-^
     
  12. บุคคลทั่วไป 3 คน

    บุคคลทั่วไป 3 คน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,938
    ค่าพลัง:
    +1,253
    ไปอ่านเซิร์ฟๆ ธรรมที่คุณพนมกุเลนเอามาให้พิจารณา ก็ขออนุญาติสรุปว่า

    เป็น ผลจากการแตกแยกของผู้ปฏิบัติในสายธรรมธาตุ ที่ทะเลาะกันเอง โดยผู้ปฏิบัติที่เสนอ
    บทความดังกล่าวมีนัยประวัติปฏิบัติมาสองสายคือ มโนยิทธิ และ ธรรมกาย เมื่อเขา
    ปฏิบัติได้จนถึงวาระหนึ่ง ก็เกิดความฝุ้งธรรม แต่ไม่ได้รับความชื่นชมจากคนในสาย
    ปฏิบัติทั้งสองสายนั้น จึงเกิดบทความบรรยายความในใจไปเรื่อยๆ ไม่มีแก่นอะไรนอก
    จากระบายความอัดอั้นตันใจ เกือบจะทุกๆ วรรค

    ลองไปอ่านกันดูก็ได้ จะมีวิธีการเขียนแบบ ยกความสูงด้วยถ้อยคำธรรมดา(ระบาย) เสร็จ
    แล้วก็อัดกลับ(ต่อว่า)ไปยังสายสมาธิทั้งสองสาย(อัดอั้น) สลับไปสลับมาอยู่อย่างนั้น ไม่
    มีสาระ หรือแก่นธรรม

    โดยเฉพาะประเด็นปรินิพพานของท่านผู้นั้นเสนอว่า คือการกลับไปสู่ภพที่อยู่เพื่อควบคุม
    กะเกณฑ์ส่วนที่ยังติดในโลกกุตตระ(หมายถึงสายสมาธิทั้งสองสายนั้น) ก็คือคอนเซ๊ปหลัก
    ของการนำเสนอว่า ข้าคือผู้ดูแลสายสมาธิทั้งสองสายนั้น

    จากเนื้อหาโดยรวม ผู้เสนอ ติดปัญหาเรื่องโอภาส ที่นำไปสู่บทที่ว่าแสงธรรม
    นั้นอยู่เหนือการปฏิบัติทั้งปวง เป็นไปเพื่อชำระจิต แต่จริงเป็นแค่ภาวะติดสุขที่
    ได้เห็นแสงโอภาส แล้วก็ชอบใจอยู่ตรงนั้น ใครทัดทานก็คงไม่ได้แก้ไข และ
    นำไปสู่ความขัดแย้ง แต่เนื่องจากเป็นโมหะสมาธิ ติดด้วยความหลงไหลใน
    แสง ทำให้ที่สุดก็จะต้องไปจมแช่อยู่ที่ภวังคจิต ท่านผู้นั้นจึงได้เสนอว่า
    ภวังคจิตเป็นที่สุดแห่งสถานที่ที่ต้องไป เป็นที่มัจจุราช หรือ สิ่งๆใดก็หาไม่เจอ
    ซึ่งมีส่วนถุกต้อง แต่ภวังคจิตไม่ใช่ปรมัตถธรรมที่แท้จริง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กรกฎาคม 2008
  13. upanya

    upanya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2006
    โพสต์:
    900
    ค่าพลัง:
    +1,035
    แหมกำลังได้ความรู้เพิ่มเลยครับคุณขันธ์
    จะไม่มาต่อหน่อยหรือครับ
    คุณโอมเขามีความรู้สายนี้นะครับ อะบายเป็นคำพูดได้ดีเลย
    นะจะลองแลกเปลี่ยนความรู้กันนะครับ
    คนอ่านจะได้ประโยชน์ครับ
     
  14. โอมศิวะ

    โอมศิวะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    113
    ค่าพลัง:
    +133
    ครูบาอาจารย์ท่านสอนว่า การปฏิบัติทุกสายเข้าถึงซึ่งพระนิพพานเหมือนกันหมด เพียงแต่จะไปทางตรงหรือทางอ้อม แล้วแต่จริตของแต่ละคนและบุญเก่าที่ทำมา แต่สายที่ถึงตรงที่สุดคือ สติปัฏฐาน 4 พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม รู้สักแต่ว่ารู้ เห็นสักแต่ว่าเห็น
    ไม่ปรุงแต่งแต่เหตุใดๆ นั่นแหล่ะคือหนทางแห่งการดับทุกข์
     
  15. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ขอบคุณมากๆ เลย คุณบุคคลทั่วไปสามคน ที่สรุปให้ฟัง เพราะเคยพยายามอ่านมาแล้วแต่ไม่ผ่านซักที ปวดหมอง ยาวจัดแล้วก็วนๆ
     
  16. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    เห็นกิเลสในใจคนเต็มไปหมด มันเลยไม่คิดอยากจะแก้อะไรอีก
    ก็ปล่อยไปตามวาสนาของแต่ละคน
     
  17. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    http://gotoknow.org/file/truedhamma/view/133342



    [​IMG]
    ดาวน์โหลด

    ภาพขยาย
    ลิงก์ของตัวไฟล์: <INPUT class=common id=url value=http://gotoknow.org/file/truedhamma/sod2.jpg name=url>
    คำสำคัญ: สัทธรรมปฏิรูป หลวงพ่อสด เลิกฝึกวิชชาธรรมกาย
    โดย TrueDhamma ลิงก์ถาวร ความคิดเห็น (4)
    สร้าง: จ. 03 ธ.ค. 2550 @ 10:58 แก้ไข: จ. 03 ธ.ค. 2550 @ 10:58

    ความคิดเห็น
    [​IMG] 1. หลวงพ่อวัดปากน้ำไม่เคยเลิกฝึกธรรมกาย
    เมื่อ อ. 17 มิ.ย. 2551 @ 14:05
    704136 [ลบ]


    เหตุผลที่หลวงพ่อสดเขียนรับรองการปฏิบัติกรรมฐานแบบหนอ ก็ เพราะว่าท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาสภมหาเถระ) เมื่อครั้งมีสมณศักดิ์ที่พระพิมลธรรม เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครอง (สมัยนั้นมีสังฆมนตรีเพียง๔ รูป) ผู้มีอำนาจมาก มีบารมีมาก มีบริวารมาก และมีสมณศักดิ์เกือบสูงสุด ท่านเจ้าประคุณ มีความดำริจะส่งเสริมวิปัสสนากรรมฐานให้เจริญแพร่หลายในประเทศไทย โดยเฉพาะท่านเชื่อว่าการสอนวิปัสสนาธุระที่เป็นระบบถูกต้องมีเฉพาะในประเทศพม่าเท่านั้น ทั้งที่ตอนนั้นสายพระอาจารย์มั่นและสายวัดปากน้ำได้ปฏิบัติธรรมอย่างมีระบบแล้ว
    หลวงพ่อวัดปากน้ำและพระเถระผู้เชี่ยวชาญกรรมฐานฝ่ายมหานิกายจึงถูกเกณฑ์ให้เรียนกรรมฐานแบบหนอ
    สำหรับหลวงพ่อสดนั้นถูกขอร้องเป็นพิเศษ ด้วยหลวงพ่อมีลูกศิษย์ลูกหามาก น่าจะมากที่สุดในประเทศไทยในสมัยนั้น ให้ช่วยเขียนรับรองการปฏิบัติกรรมฐานแบบวัดมหาธาตุฯให้ด้วย ไม่ใช่เป็นอย่างคำบิดเบือน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 2 กรกฎาคม 2008
  18. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,166
    กระทู้เรื่องเด่น:
    20
    ค่าพลัง:
    +29,715
    [​IMG] OOGเรื่องวิปัสสนาญาณ ที่หลวงปู่สดฯ เคยกล่าวกับ หลวงพ่อฤาษีฯOO
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->หลวงพ่อวัดปากน้ำได้เล่าให้ศิษย์บรรพชิตท่านฟังว่า ท่านปฏิบัติบรรลุญาณ ๑๖ มาเป็นสิบๆปีแล้ว ก่อนที่กรรมฐานแบบวัดมหาธาตุจะเข้ามาสู่ประเทศไทย เพราะวิชชาธรรมกายก็มีการพิจารณาไตรลักษณ์ และพิจารณาสติปัฏฐาน ๔ คือพิจารณากายในกาย เวทนาใน้เวทนา จิตในจิต และพิจารณาธรรมในธรรม และท่านยังได้บอกศิษย์ว่า สามเณรที่ทางวัดมหาธาตุรับรองว่าบรรลุญาณ๑๖แล้ว(เข้าใจว่าเป็นรูปแรก) ที่บอกใครๆว่าสามารถเข้าสมาบัตินั่งตัวแข็งได้ทุกที่นั้น ซึ่งโด่งดังมากในสมัยนั้น จะไม่สามารถเข้าสมาบัตินั่งตัวแข็งได้ที่วัดปากน้ำ และเป็นจริงตามที่หลวงพ่อพูด ต่อมาสามเณรรูปนั้นสึกแล้วเป็นหัวขโมย [หลวงพ่อฤาษีลิงดำ(พระราชพรหมยาน มหาวีระ ถาวโร) , ......, เรื่องจริงอิงนิทานเล่ม๑, น.๑๖๙- ๑๗๒. ]
    <!-- / message --><!-- sig -->__________________
     
  19. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    สมัยก่อน (3ปีที่แล้ว) ผมไปค่ายกับทางวัดพระธรรมกายมา เลยมีโอกาสขอสนทนาธรรมเชิงลึก กับหลวงพี่ท่านหนึ่ง
    ตอนนั้นก็มีความรู้ด้านสติปัฏฐานพอสมควร พอมาเห็นแนวทางของธรรมกาย จึงถามถึงที่มาที่ไปของการปฏิบัติ
    ท่านว่า การปฏิบัติมีเป็นลำดับขั้นไป ไล่ตั้งแต่ กายหยาบ กายละเอียด กายทิพย์ กายพรหม กายอรูปพรหม กายธรรม น่าจะช่วงกายธรรม จะมีการยกจิตสู่ภูมิของวิปัสสนา พิจารณา กายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต ธรรมในธรรม
    พูดแบบง่ายๆคือ เริ่มจากสมถะ แล้วค่อยต่อด้วยวิปัสสนา ท่านกล่าวทำนองนี้นะ
    แต่ในความเป็นจริง จะถูกต้องแค่ไหน ผมคงไม่สรุปอะไร ก็แค่เล่าสู่กันฟัง...

    ปล ยังมีการคุยกันถึงเรื่อง ภพภูมิ จักรวาล โลกทิพย์ อีกมากมาย แต่จำรายละเอียดบ่ได้แย้ววววววว...
     
  20. upanya

    upanya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2006
    โพสต์:
    900
    ค่าพลัง:
    +1,035
    ในใจของใครหรือครับ
    เหมือนจะหมายถึงของคุณขันธ์หรือเปล่า
    อ่านแล้วไม่เข้าใจ
     

แชร์หน้านี้

Loading...