รวบรวมภาพเมฆ, ท้องฟ้า, ดาว, เดือน, พระอาทิตย์ เพือเก็บตัวอย่างไว้ศึกษา

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 19 มิถุนายน 2007.

  1. bnbk

    bnbk เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,047
    ค่าพลัง:
    +15,613
    ถ่ายจากบรมราชชนนี ใกล้สายใต้ที่ใหม่กว่า
    29 กย. 2550
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_2288.JPG
      IMG_2288.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.8 MB
      เปิดดู:
      149
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 ตุลาคม 2007
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ม่าน "ออโรร่า" <table align="center" border="0" cellpadding="3" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr bgcolor="#cccccc"><td valign="center"> </td></tr> <tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top"> <table align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="2" cellspacing="2"><tbody><tr><td>[​IMG]</td></tr><tr><td align="center">
    </td></tr></tbody></table>
    </td></tr></tbody></table></td></tr><tr><td align="center" valign="top"><table border="0" cellpadding="2" cellspacing="2" width="95%"><tbody><tr><td valign="top">
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  3. แม่นายมล

    แม่นายมล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,069
    ค่าพลัง:
    +6,258
    vanco ไม่มีคำอธิบายภาพเหรอ มันเกิดขึ้นได้อย่างไร
    ใช่ที่เขาเรียกกันว่า แสงหนือ แสงใต้้รึปล่าว
     
  4. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    ม่านออโรร่าสวยจังค่ะ;)
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ออโรร่า เกิดขึ้นได้อย่างไร
    ออโรร่า (Aurora) เกิดขึ้นเมื่อ อนุภาคประจุ (อิเลคตรอน, อะตอม หรือ โมเลกุล ที่สูญเสียอิเลคตรอน) พลังงานสูง ชนกับอนุภาคต่างๆ ในชั้นบรรยากาศที่อยู่สูงขึ้นไป อนุภาคเหล่านั้นได้รับพลังงานและกลายเป็นอนุภาคที่ไม่เสถียร (excited) เพื่อกลับมาสู่ภาวะสมดุล อนุภาคจึงปลดปล่อยพลังงานออกมาในลักษณะของแสง ซึ่งจะเป็นสีอะไรนั้นขึ้นอยู่กลับชนิดและโครงสร้างของอนุภาค รูปที่ 1 หรือที่เราเรียกว่าแถบสีสเปกตรัม (spectrum) เช่น สีเหลืองจากโซเดียม (Na เราพบในเกลือ) สีส้มจากนีออน (Neon ก็าซที่อยู่ในหลอดไฟนีออน) ไฮโดรเจนและฮีเลียม ให้สีฟ้าและม่วง ก็าซต่างๆ เหล่านี้อยู่ที่ความสูงในชั้นบรรยากาศต่างกัน สีที่เรามองเห็นสามารถบอกได้ถึงแหล่งกำเนิดของออโรร่าอีกด้วย เช่นสีแดงจากออกซิเจนบอกได้ถึงแหล่งกำเนิดที่ ความสูงประมาณ 300 กม. ณ ชั้นบรรยากาศที่เรียกว่า ไอไอโนสเฟียร์ (ionosphere), โมเลกุลออกซิเจนที่หนักขึ้น ให้แสงสีเหลืองเขียว ที่ 100-300 กม.
    [​IMG]
    รูปที่ 1
    ออโรร่าเกื่ยวอะไรกับสภาวะอวกาศ (space weather)
    เรารู้แล้วว่าออโรร่าเกิดจากการชนกันของอนุภาคพลังงานสูงกับอนุภาคในบรรยากาศ อนุภาคพลังงานสูงขนาดนั้นไม่สามารถกำเนิดได้ในโลก แหล่งพลังงานที่ใกล้ที่สุดคือ ดวงอาทิตย์
    อนุภาคพลังงานสูงได้เดินทางจากดวงอาทิตย์ในภาวะที่เราเรียกว่า ลมสุริยะ (solar wind) ผิวชั้นนอกของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิที่สูง (100000 เซลเซียส ) และประกอบด้วยก็าซที่มีความหนาแน่นสูง เป็นแหล่งกำเนิดที่สมบูรณ์ของอนุภาคพลังงานสูง

    ทำไมออโรร่าถึงเกิดในบริเวณที่ใกล้กับขั้วโลก ? คำตอบก็คือสนามแม่เหล็กของโลก รูปที่ 2 สนามแม่เหล็กของโลกมีบทบาทสำคัญในการป้องกันเราจากอนุภาคพลังงานสูงปริมาณมาก อย่างไรก็ตามอนุภาคส่วนหนึ่งยังคงสามารถเดินทางเข้ามาในโลก ด้วยคุณสมบัติของสนามแม่เหล็ก อนุภาคที่ถูกขังในสนามแม่แหล็กชั้นนอก หรือเรียกว่า แมกเนโตสเฟียร์ (magnetosphere) สามารถผ่านเข้ามาในบริเวณของขั้วโลก จะมีปริมาณมากน้อยขนาดไหน ขึ้นอยู่กับสภาวะของลมสุริยะ (พลังงานและความหนาแน่น)
    [​IMG]
    รูปที่ 2

    ออโรร่าที่โลกกับดาวเสาร์ต่างกันอย่างไร
    ถึงแม้เราจะมีสนามแม่เหล็กโลกป้องกันการชนโดยตรงจากลมสุริยะ อย่างไรก็ตามสนามแม่เหล็กโลกมิได้แข็งแรงมากพอที่จะป้องกันทุกๆ อนุภาค ขั้วโลกจึงเหมือนเป็นประตูทางเข้าที่อนุภาคพลังงานสูงสามารถ แทรกผ่านเข้ามาได้ ด้วยเหตุนี้เมื่อสภาวะของลมสุริยะต่างๆกัน พลังงานของออโรร่า (ซึ่งแปรผันตามความสว่าง) ก็จะเปลี่ยนตามสภาวะของลมสุริยะ
    ตรงกันข้ามกับดาวพฤหัส ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ บรรจุด้วยก็าซความหนาแน่นสูง และร้อนมาก ก็าซบางส่วนจึงสูญเสียอิเลคตรอนโดยง่ายกลายเป็นอนุภาคไอออน สภาวะผสมระหว่างไอออนและอิเล็คตรอน อาจเรียกได้ว่าเป็นสภาวะที่สี่ของอนุภาคหรือเรียกว่าพลาสมา (plasma) สนามแม่เหล็กที่เกิดจากการหมุนของดาวเคราะห์ก็าซขนาดใหญ่จึงมีปริมาณสูงมาก และออโรร่าสามารถเกิดได้ด้วยอนุภาคพลังงานสูงจากพลาสมาในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์เอง พลังงานของออโรร่ามีปริมาณสูงมากจะเทียบได้กับออโรร่าที่เกิดจากลมสุริยะ สนามแม่เหล็กที่แข็งแรงก็เปรียบเสมือนกำแพงที่แข็งแกร่งจากอนุภาคภายนอก

    ดาวพฤหัสที่มีขนาดใหญ่กว่าดาวเสาร์ มีออโรร่าที่ค่อนข้างเสถียร ไม่ค่อยจะเปลี่ยนมากนักเมื่อสภาวะของลมสุริยะเปลี่ยนไป นักวิทยาศาสตร์จึงได้ทำนายว่าออโรร่าของดาวเสาร์ควรจะมีสถานะที่เสถียรน้อยกว่าออโรร่าที่ดาวพฤหัส แต่ควรจะเสถียร์มากกว่าออโรร่าที่เกิดบนโลกของเรา

    กลุ่มวิจัยซึ่งนำโดยศาสตราจารย์ จอห์น คลาร์ก (Prof. John Clarke) มหาวิทยาลัย บอสตัน (Boston University) ได้มีโอกาสพิสูจน์ข้อสมมุติฐานนี้ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2547 ด้วยการให้ยานอวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) ถ่ายภาพออโรร่าของดาวเสาร์ (ขั้วใต้) ในช่วงความถี่อัลตราไวโอเลต (EUV) รูปที่ 3 จากการคำนวณเราได้พบว่าออโรร่าของดาวเสาร์มีลักษณะที่เปลี่ยนไปตามสภาวะของลมสุริยะ (ดูได้จากรูป j และ k ซึ่งเราได้รับข้อมูลจากยานอวกาศ Casini ว่าลมสุริยะมีพลังงานสูงในช่วงนั้น) แต่ออโรร่าของดาวเสาร์มีลักษณะเสถียรมากขึ้นเมือลมสุริยะมิได้มีพลังงานสูงนัก (รูป b และ c ) ข้อสมมุติฐานที่ตั้งไว้จึงได้รับการพิสูจน์ว่าค่อนข้างเป็นไปได้

    [​IMG]
    รูปที่ 3
    ยังมีความรู้เกี่ยวกับออโรร่าอีกมากมายที่รอการพิสูจน์ เราได้แต่เพียงหวังว่าจะเข้าใจคุณสมบัติของแสงอันสวยงามนี้มากขึ้นในอนาคต

    สุวิชา วรรณวิเชียร

    reference:


    http://www.exploratorium.edu/learning_studio/auroras/auroraslook.html

     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ภาพจริงจากดวงจันทร์ ชมโลก “ขึ้น-ตก” ที่ขอบฟ้าดาวบริวารกันบ้าง</TD><TD vAlign=baseline align=right width=85>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>14 พฤศจิกายน 2550 15:16 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ชมภาพดวงจันทร์ขึ้นและลับขอบฟ้าในยามค่ำคืนมานานแสนนาน คราวนี้องค์การอวกาศญี่ปุ่นนำภาพดาวเคราะห์สีน้ำเงินสวยที่กำลังขึ้นและตกจากขอบฟ้าของดวงจันทร์ จากกล้องโทรทัศน์ความละเอียดสูงบนยานสำรวจเซลีนมาอวดกันบ้าง นับเป็นภาพเคลื่อนไหวภาพแรกที่บันทึก “โลก” จากห้วงอวกาศ


    <IFRAME name=video src="http://www.jaxa.jp/press/2007/11/20071107_kaguya.swf" frameBorder=0 width=480 scrolling=no height=315></IFRAME>​


    องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (แจกซา) เผยภาพพื้นผิวของดวงจันทร์ พร้อมทั้งดาวโลกขณะขึ้นและลับจากขอบฟ้าซึ่งบันทึกด้วยกล้องวิดีโอความละเอียดสูง (HDTV) ที่ติดตั้งบนยานอวกาศ “เซลีน” (Selene) หรือในชื่อญี่ปุ่นว่า “คางูยะ” (Kaguya) ยานสำรวจดวงจันทร์ยานแรกของญี่ปุ่นที่ส่งขึ้นไปเมื่อวันที่ 14 ก.ย.ที่ผ่านมา

    นับเป็นภาพความละเอียดสูงของโลกภาพแรกซึ่งบันทึกในอวกาศไกลจากโลกออกไป 380,000 กิโลเมตร และสำหรับกล้องดังกล่าวนั้นพัฒนาขึ้นโดยสถานีโทรทัศน์เอ็นเอชเค (NHK) ของญี่ปุ่น

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=640>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพโลกขณะขึ้นจากขอบฟ้าดวงจันทร์ซึ่งบันทึกเมื่อวันที่ 7 พ.ย.ที่ผ่านมา เวลา 12.52 น. ตามประเทศไทย ซึ่งภาพนี้บันทึกที่ขั้วเหนือของดวงจันทร์และสังเกตเห็นมหาสมุทรอินเดียได้จากภาพนี้</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=640>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพขณะโลกกำลังจะลับขอบฟ้าดวงจันทร์เมื่อวันที่ 7 พ.ย.นี้ เวลา 10.07 น. ตามประเทศไทย ทั้งนี้เป็นภาพที่บันทึกจากทางขั้วใต้ของดวงจันทร์ ภาพของโลกที่เห็นจึงเป็นลักษณะกลับหัว โดยภาพโลกด้านบนคือซีกโลกใต้ ส่วนภาพของโลกด้านใต้คือซีกโลกเหนือ </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=640>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>ภาพต่อเนื่องขณะโลกกำลังลับขอบดวงจันทร์ซึ่งใช้เวลาทั้งสิ้นประมาณ 70 วินาที</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <CENTER>
    คลิกที่ไอคอน Manager Multimedia
    เพื่อรับชมภาพโลกขึ้น-ตกขอบดวงจันทร์เพิ่มเติม


    [​IMG]
    </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. nantiya.j

    nantiya.j เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    860
    ค่าพลัง:
    +8,550
    ชมฝนดาวตกลีโอนิดส์ตลอดคืนถึงเช้า

    19:57 น.


    <DD>คืนนี้ฝนดาวตก ชมพร้อมดาวหาง17P/Holmes ค่ำวันที่ 18 ต่อเนื่องถึง 19 พ.ย.
    <DD>นายวรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต นักดาราศาสตร์ไทย กล่าวว่า ในคืนนี้จะเกิดปรากฏการณ์ ฝนดาวตกลีโอนิดส์ โดยช่วงเวลาการปะทะดาวตกสูงสุดในเวลา 06.30 น. โดยในประเทศไทยสามารถมองเห็นปรากฏการณ์ได้ตั้งแต่ 24.00 น.วันที่ 18 พ.ย. เป็นต้นไปและเริ่มมีดาวตกให้เห็นมากเริ่มจากเวลา 03.00 น.ถึงรุ่งเช้าคาดว่ามีจำนวน 30 ดวง / ชม.
    <DD>ฝนดาวตกลีโอนิดส์ในหน้าหนาวนี้คาดสามารถเห็นได้ดีเนื่องจากเป็นหน้าหนาวฟ้าเปิด เด็กและเยาวชนจะได้ประโยชน์นอกเหนือจากบทเรียนในชั้นเรียนเป็นการจุดประกายการศึกษาด้านโลกและอวกาศให้ได้ศึกษาจากปรากฏการณ์ท้องฟ้าธรรมชาตินี้เป็นรูปธรรม ที่โลกโคจรผ่านเศษซากดาวหางเทิมเพลทัตเติลที่ทิ้งเศษซากไว้ ที่จะเสียดสีกับชั้นบรรยากาศโลกลุกไหม้กลายเป็นลูกไฟ มองเห็นมีขนาดใหญ่สวยงามเป็นราชาฝนดาวตกที่สวยงามที่สุด
    <DD>นอกจากชมฝนดาวตกลีโอนิดส์ ยังได้ชมดาวหาง 17P/Holmes ที่ได้เกิดการระเหิดอย่างรุนแรง (Outburst)ที่ส่วนหัวของดาวหาง ซึ่งความสว่างปรกติของดาวหางมีค่าความสว่าง 17 การระเหิดอย่างรุนแรงทำให้ดาวหางดวงนี้สว่างขึ้นจนสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่ามีค่าความสว่างถึง 2.5 เห็นได้ชัดเจนในประเทศไทยอยู่ในกลุ่มดาวเปอร์ซิอุสเริ่มขึ้นจากขอบฟ้าตั้งแต่เวลา 19.30 ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือค่อนไปทางเหนือ การระเหิดครั้งนี้เป็นการระเหิดที่รุนแรงเป็นพิเศษมีไม่บ่อยครั้งนักที่ดาวหางระเหิดแบบนี้
    <DD>“ดาวหาง 17P/Holmes ค้นพบโดย Edwin Holmes (London Observatory) เมื่อเดือน พฤศจิกายน 1892 คาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ 6.88 ปีเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ครั้งหลัง เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2550 ขณะนี้กำลังวิ่งถอยหลังห่างจากดวงอาทิตย์ออกไปและขณะนี้อยู่ห่างโลก 245 ล้านกิโลเมตร"</DD><DD>http://breakingnews.nationchannel.com/read.php?newsid=291115&lang=T&cat=</DD><DD>
    </DD>
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td><b>สัญญาณที่อ่านได้จาก..<blink>"เมฆ"</blink></b><blink></blink></td> </tr> <tr> <td>
    </td> </tr> <tr> <td>
    เมฆ เป็นไอน้ำและเกล็ดน้ำแข็งที่เกิดการควบแน่นรวมกันเป็นกลุ่มก้อน และลอยอยู่บนท้องฟ้า ปกคลุกอยู่ในชั้นบรรยากาศของโลกอยที่ระยะไม่เกิน 5 กิโลเมตร นอกเหนือจากเมฆจะแสดงปรากฏการณ์ให้เห็นถึง การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ เช่น เกิดพายุฝน แล้ว เมื่อใดก็ตามที่เกิดการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เช่น แผ่นดินไหว การเกิดความร้อนผุดจากใต้พิภพ ฯลฯ การเกิดและการเปลี่ยนแปลงของเมฆ ก็สามารถสื่อสารให้เห็นถึงปรากฏการณ์เหล่านั้นได้เช่นกัน ต่อไปนี้คือตัวอย่างเมฆที่ได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ​
    </td> </tr> <tr> <td> </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG] [​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    การเกิดพายุหมุน ที่ จ.นครปฐม ​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td colspan="2">
    [​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td width="91%">
    ปรากฏการณ์เกิดฝนที่มีลักษณะไม่ปกติ​
    </td> <td width="9%"> </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    เมฆเกิดการกจะจายจากอิทธิพลความร้อนที่ผุดขึ้น ​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td width="34%">
    </td> <td width="36%">
    </td> <td width="30%"> </td> </tr> <tr> <td colspan="3">[​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td colspan="3">
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (1) ​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG] [​IMG]
    [​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (2)​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG] [​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (3)​
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td>[​IMG] [​IMG]
    </td> </tr> <tr> <td>
    เมฆที่เกิดความร้อนผุดขึ้นจากใต้พิภพ (4) ​
    </td></tr></tbody></table>
     
  9. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** เชื่อ โลกุตตระ สัจจะ นำชาติพ้นภัย ****

    ทรงโปรดเมตตาประทานสัจจะสู่ประชาชน
     
  10. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    *** โอกาสสุดท้าย ****

    เปิดโอกาส...ให้เรียนรู้
    เปิดโอกาสให้....คนหา หลักโลกุตตระธรรม
    เปิดโอกาสให้...รับ สัจจะ
    คือ ให้โอกาส....หลุดพ้นทุกข์

    โอกาสสุดท้าย ก่อนกรรมมาถึง
    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ชมดาวหาง "8 พี/ทัตเติล" เหนือฟ้าเมืองกรุงตลอดมกราฯ นี้ <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">22 มกราคม 2551 16:37 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">ดาวหาง 8P/ Tuttle บันทึกภาพด้วยกล้องสะท้อนแสงแบบ ชมิดท์ แคสซิเกรนขนาดหน้ากล้อง 11 นิ้ว f /6.3 ฐานตั้งกล้องแบบเยอรมัน อิเควทอเรียล Losmandy G 11 กล้อง DSLR แคนนอน 400 D เปิดหน้ากล้องนาน 40 วินาที ISO 1600 ดาวหางมีความสว่าง 6.2 อยู่ในกลุ่มดาว เตาหลอม (FORNAX) สถานที่บันทึกภาพคือหอดูดาวบัณฑิต อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา เวลา 22.06 น. วันที่ 17มกราคม พ.ศ. 2551 ถ่ายภาพโดย วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต </td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">แผนภาพวิถีการโคจรของดาวหาง 8พี /ทัตเติล (ภาพจากนายวรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต)</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> ปราชญ์ดาวหางเมืองแปดริ้ว ชวนนักดูดาวชมดาวหาง 8 พี/ทัตเติล ผ่านกรุงเทพฯ ตลอด ม.ค.นี้ ระบุ 27 ม.ค.จะเป็นช่วงที่ดาวหางมีความสว่างไสวมากที่สุด พร้อมเรียงภาพนิ่งจัดทำคลิปวิดีโอเก็บไว้เป็นอนุสรณ์

    นายวรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต กรรมการบริหารสมาคมดาราศาสตร์ไทย และครูภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านดาราศาสตร์จังหวัดฉะเชิงเทรา จากหอดูดาวบัณฑิต ต.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา กล่าวว่า ขณะนี้ดาวหาง 8 พี/ทัตเติล (8 P/Tuttle) กำลังโคจรผ่านฟากฟ้าทางทิศใต้ของกรุงเทพฯ

    ก่อนหน้านี้ในช่วงวันที่ 4 -5 ม.ค.51 ดาวหางดวงนี้ได้โคจรผ่านมาตรงกับละติจูดที่ 13.5 องศาเหนือ ซึ่งตรงกับกึ่งกลางท้องฟ้ากรุงเทพฯ พอดี โดยในเวลาดังกล่าวดาวหางได้โคจรผ่านกลุ่มดาวปลา (Pisces) และกลุ่มดาวแกะ (Aries) ตามลำดับ

    ในประเทศไทยสามารถชมดาวหาง 8 พี/ทัตเติลผ่านกล้องโทรทรรศน์มาตั้งแต่ปลาย ธ.ค.50 เรื่อยไปจนถึง มิ.ย.51 โดยนายวรวิทย์ยังได้บันทึกภาพนิ่งดาวหาง 8 พี/ทัตเติลด้วยกล้องดูดาวไว้ในคืนวันที่ 17 ม.ค.51 กว่า 30 รูปเพื่อจัดทำคลิปวิดีโอ

    แต่เนื่องจากคืนดังกล่าวมีเมฆมาบดบังระหว่างถ่ายภาพทำให้ต้องรอถ่ายภาพซ่อมอีกครั้งในคืนข้างแรม 7-8 ค่ำ หรืออีก 5 -6 วันข้างหน้าเพื่อเลี่ยงแสงรบกวนจากดวงจันทร์ คาดว่าจะสามารถนำมาจัดทำคลิปวิดีโอได้นานราว 5 วินาที

    สำหรับดาวหาง 8 พี/ทัตเติลในวันที่ 22 ม.ค.51 นี้มีตำแหน่งปรากฏในกลุ่มดาวเตาหลอม (Fornax) มีความสว่างระดับ 6.2 ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าหรือด้วยกล้องสองตา โดยกำลังเคลื่อนตัวผ่านโลกในทิศมุ่งเข้าหาโลกทำให้ดูเหมือนว่าดาวหางดังกล่าวเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงกว่าค่าเฉลี่ยของดาวหางทั่วๆ ไปที่ 70 กม./วินาที

    ทั้งนี้ ตำแหน่งของ 8 พี/ทัตเติลบนท้องฟ้าจะขยับไปเฉลี่ยวันละ 4 องศา จึงเหมาะแก่การถ่ายภาพทำคลิปวิดีโอ ซึ่งดาวหางจะเคลื่อนที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดในวันที่ 27 ม.ค.51 คาดว่าจะเป็นช่วงเวลาที่ดาวหาง 8 พี/ทัตเติลมีความสว่างไสวมากที่สุด</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    เมฆอวกาศขนาดยักษ์มุ่งหน้าระเบิดทางช้างเผือก <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">24 มกราคม 2551 17:31 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="right" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="bottom">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="bottom" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> <td> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> <td align="center" background="/images/linedot_vert.gif" valign="middle" width="1">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="right" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> <td align="center" background="/images/linedot_hori.gif" height="1" valign="top">[​IMG]</td> <td align="left" height="1" valign="top" width="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">ภาพจำลองแสดงเมฆแห่งสมิธซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็ววินาทีละ 240 กิโลเมตรพุ่งตรงมายังทางช้างเผือก โดยจุดกากบาทสีแดงคือตำแหน่งที่คาดว่าจะเกิดการปะทะดังกล่าว ขณะที่ตำแหน่งของดวงอาทิตย์ของเราคือจุดสีเหลืองที่มีชื่อกำกับไว้</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">คาดว่าการพุ่งชนของก๊าซยักษ์ครั้งนี้จะทำเกิดการก่อตัวของดาวใหม่ๆ</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">กลุ่มก๊าซไฮโดรเจนขนาดใหญ่ที่รวมตัวกันเป็นเมฆแห่งสมิธ</td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> บีบีซีนิวส์ - นักดาราศาสตร์สหรัฐฯ เผยก๊าซไฮโดรเจนที่รวมกันเป็นกลุ่มเมฆขนาดยักษ์กำลังมุ่งหน้าเตรียมชนกาแลกซีทางช้างเผือก ในอีก 20-40 ล้านปีข้างหน้า จะก่อให้เกิดดาวฤกษ์ใหม่ โดยกำแพงก๊าซได้ผ่านขอบกาแลกซีเราเข้ามาแล้ว

    กลุ่มเมฆในอวกาศขนาดใหญ่ที่ชื่อว่า "เมฆแห่งสมิธ" (Smith's Cloud) อาจสร้างปรากฏการณ์จุดพลุอันน่าตื่นเต้นเมื่อพุ่งชนกาแลกซีทางช้างเผือก (Milky Way) ของเราในอีก 20-40 ล้านปีข้างหน้า ซึ่งนักดาราศาสตร์เชื่อว่ากลุ่มเมฆดังกล่าวมีไฮโดรเจนมากพอที่จะผลิตดาวฤกษ์ลักษณะเช่นเดียวกับดวงอาทิตย์ของเราได้นับล้านดวง เมื่อทำอันตรกริยากันอย่างสมบูรณ์แล้วเมฆดังกล่าวอาจทำให้เกิดการระเบิดเพื่อสร้างดาวใหม่ในกาแลกซีของเราด้วย

    ทั้งนี้ในรายละเอียดของงานวิจัยซึ่งนำโดยทีมวิจัยจากหอดูดาวดาราศาสตร์วิทยุแห่งสหรัฐฯ (US National Radio Astronomy Observatory) และมหาวิทยาลัยวิสคันซิน-ไวต์วอเตอร์ (University of Wisconsin-Whitewater) ได้เปิดเผยภายในงานประชุมวิชาการของสมาคมดาราศาสตร์อเมริกันครั้งที่ 211 ในเมืองออสติน มลรัฐเท็กซัส สหรัฐฯ

    สำหรับเมฆแห่งสมิธนั้นตั้งตามชื่อ เกล สมิธ (Gail Smith) นักดาราศาสตร์อเมริกันหญิงจากมหาวิทยาลัยไลเดน (Leiden University) เนเธอร์แลนด์ ผู้ค้นพบเมื่อปี 2506

    แต่จนถึงทุกวันนี้นักดาราศาสตร์ก็ยังไม่เข้าใจว่า แท้จริงแล้วกลุ่มเมฆอวกาศนี้เคลื่อนที่ออกจากกาแลกซีทางช้างเผือก หรือว่ากำลังเคลื่อนที่เข้าหากันแน่

    กระทั่งงานวิจัยล่าสุดซึ่งอาศัยกล้องโทรทัศน์กรีนแบงค์ (Green Bank telescope: GBT) ในเวสต์เวอร์จิเนียสำรวจเมฆดังกล่าวซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าเป็นกรณีหลังอย่างแน่นอน

    เครื่องมือใหม่ของทีมวิจัยยังแสดงให้เห็นขนาดของเมฆหมอกปีศาจในอวกาศนี้ว่ามีความยาว 11,000 ปีแสงและกว้าง 2,500 ปีแสง อีกทั้งยังเคลื่อนที่ตรงมายังกาแลกซีของเราด้วยความเร็วมากกว่า 240 กิโลเมตรต่อวินาทีหรือ 864,000 กิโลเมตรต่อชัวโมง และตั้งมุมกระแทกกาแลกซีทางช้างเผือกที่ 45 องศา เมฆแห่งสมิธนี้กำลังหมุนรอบกาแลกซีของเรา ขณะเดียวกันก็เป็นการหมุนตรงเข้าหาด้วย ซึ่งทีมนักดาราศาสตร์ได้เห็นว่ากำแพงก๊าซของเมฆนี้ได้กำลังไถเข้ามาในชั้นบรรยากาศกาแลกซีของเราแล้ว

    ดร.เฟลิกซ์ ล็อคแมน (Dr.Felix Lockman) ผู้นำการวิจัยครั้งนี้จากหอดูดาวดาราศาสตร์วิทยุแห่งสหรัฐฯ กล่าวถึงเมฆซึ่งอยู่ไกลออกไปโลก 40,000 ปีแสงนี้ว่าหากมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจะเป็นภาพที่สวยงามน่าประทับใจมาก

    "เรายังไม่ทราบว่าเมฆนี้มาจากที่ไหน เช่นเดียวกับการโคจรของมันที่ยังสับสนเล็กน้อย แต่เราก็สามารถบอกว่าได้ว่ามันกำลังเริ่มต้นทำอันตรกริยากกับของกาแลกซีทางช้างเผือกของเราแล้ว ซึ่งมันกำลังถูกลากดึงและส่วนเล็กๆ ของมันกำลังตกลงมา แต่ในเวลาเดียวกันเมฆนี้ก็ได้รับแรงดึงโน้มถ่วงของทางช้างเผือกให้พุ่งตรงเข้ามา" ดร.ล็อคแมนกล่าว

    เมื่อถึงเวลาที่เมฆแห่งสมิธรวมเป็นหนึ่งเดียวกับกาแลกซีของเรา จะเกิดการปะทะบริเวณที่ห่างไกลจากตำแหน่งของระบบสุริยะของเรา ซึ่งบริเวณที่ถูกปะทะนั้นจะเกิด "คลื่นกระแทก" (shockwave) ในก๊าซที่มีอยู่เดิมของกาแลกซี คลื่นกระแทกนั้นจะทำให้เกิดการระเบิดครั้งใหญ่ของการก่อตัวเป็นตัวดาว ซึ่งดวงดาวเหล่านั้นจะมีมีมวลมหาศาล และผ่านช่วงชีวิตไปอย่างรวดเร็ว แล้วระเบิดเป็น "ซูเปอร์โนวา" (supernova)

    "เหมือนกันการทิ้งระเบิดแต่คุณก็ยังทำให้เกิดก๊าซใหม่ๆ จำนวนมากซึ่งอาจมีคุณสมบัติที่แตกต่างไปจากก๊าซที่มีอยู่เดิม โดยในช่วงเวลาหลายล้านปีของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นดูคล้ายการเฉลิมฉลองงานปีใหม่ที่พลุขนาดใหญ่ได้ระเบิดออกจากบริเวณนั้น" ดร.ล็อคแมนกล่าวถึงเหตุการณ์ซูเปอร์โนวาที่จะตามมา

    ทางด้าน ดร.โรเบิร์ต เบนจามิน (Dr.Robert Benjamin) ผู้ร่วมวิจัยจากมหาวิทยาลัยวิสคันซิน ไวท์วอเตอร์ กล่าวว่าหากมีการลากดึงเพียงพอและกลุ่มเมฆนี้ได้แตกเป็นส่วนๆ จะทำให้ได้รับผลกระทบจากการชนลดลง แต่ในเวลานี้ดูคล้ายว่ากลุ่มเมฆนี้กำลังเกาะกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น

    ก่อนหน้านี้นักดาราศาสตร์สันนิษฐานว่าบริเวณที่มีดาวสุกสว่างที่เรียกว่า "แถบของกูลด์" (Gould's Belt) ซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับระบบสุริยะของเรานั้นน่าจะเกิดจากการชนของกลุ่มก๊าซในลักษณที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตนี้

    "นับเป็นครั้งแรกที่เราได้เห็นจริงๆ ว่ามันเกิดขึ้น ทางช้างเผือกของเราถูกระเบิดอยู่ตลอดเวลา และก็ยังคงมีเศษชิ้นส่วนจากการระเบิดครั้งนั้น เมื่อเกิดการระเบิดระเบิดขึ้นก็จะทำให้เกิดก๊าซใหม่ๆ ที่กระตุ้นให้เกิดการสร้างดาวใหม่ และเป็นเรื่องน่าสนใจหากเราจะคิดกันเล่นไ ว่าปรากฏการณ์ลักษณะนี้เคยเกิดขึ้นแล้วใกล้กับดวงอาทตย์ของเรา" ดร.ล็อคแมนกล่าว
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  13. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,926
    น้ำแข็ง
     
  14. zetaboo

    zetaboo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2008
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +503
    <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="headline" align="left" valign="baseline">ชมคลิป "8พี/ทัตเทิล" ดาวหางโคจรเร็วเหนือท้องฟ้าเมืองไทย</td> <td align="right" valign="baseline" width="85">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">27 มกราคม 2551 14:32 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr> <td align="left" height="12" valign="bottom">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#cccccc"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="1" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <table cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="160"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="4" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="center" valign="baseline">คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">ดาวหาง 8P/ Tuttle บันทึกภาพด้วยกล้องสะท้อนแสงแบบ ชมิดท์ แคสซิเกรนขนาดหน้ากล้อง 11 นิ้ว f /6.3 ฐานตั้งกล้องแบบเยอรมัน อิเควทอเรียล Losmandy G 11 กล้อง DSLR แคนนอน 400 D เปิดหน้ากล้องนาน 40 วินาที ISO 1600 ดาวหางมีความสว่าง 6.2 อยู่ในกลุ่มดาว เตาหลอม (FORNAX) สถานที่บันทึกภาพคือหอดูดาวบัณฑิต อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา เวลา 22.06 น. วันที่ 17มกราคม พ.ศ. 2551 ถ่ายภาพโดย วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">แผนภาพวิถีโคจรของดาวหาง 8 พี/ทัตเติล (ภาพจาก วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต) </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td align="center" valign="baseline">วรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต </td> </tr> </tbody></table>
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" height="1" valign="middle" width="165">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table></td> <td background="/images/linedot_vert3.gif" width="4">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellspacing="7" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> <center>
    <iframe name="video" src="http://www.manager.co.th/Multimedia/Video.aspx?strPath=mms://tv.manager.co.th/videoclip/11News1/science/sci_8PTuttle-170108.wmv" frameborder="0" height="250" scrolling="no" width="270"></iframe>

    ดาวหาง 8พี/ทัตเทิล
    บันทึกเมื่อวันที่ 17 ม.ค.51 เวลา 22.05-22.56
    ในกลุ่มดาวเตาหลอม
    โดยวรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต และ วิษณุ เอื้อชูเกียรติ
    ณ หอดูดาวบัณฑิต อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา

    </center>
    ปราชญ์ดาวหางฉะเชิงเทราโชว์คลิป "8 พี/ทัตเทิล" ความยาว 12 วินาที นับเป็นภาพถ่ายดาวหางเคลื่อนไหวครั้งแรกที่นักดาศาสตร์ไทยบันทึกได้จากภาคพื้นดิน ดาวหางดวงนี้กำลังเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดในวันที่ 27 ม.ค.51 เมื่อมองผ่านกล้องดูดาวจะมีความสว่างสูงที่สุด

    นายวรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต อดีตกรรมการบริหารสมาคมดาราศาสตร์ไทย และครูภูมิปัญญาท้องถิ่น จ.ฉะเชิงเทรา ได้จัดทำคลิปภาพดาวหาง "8 พี/ทัตเทิล" (8P/Tuttle) ร่วมกับนายวิษณุ เอื้อชูเกียรติ นักดาราศาสตร์อดีตกรรมการบริหารสมาคมดาราศาสตร์ไทยอีกคน

    คลิปดังกล่าวมีความยาว 12 วินาที ทำขึ้นจากการเรียงภาพนิ่งจำนวน 28 ภาพที่บันทึกไว้ได้เมื่อวันที่ 17 ม.ค.51 ระหว่างเวลา 22.05-22.56 น.ในกลุ่มดาวเตาหลอม (Fornax) ที่หอดูดาวบัณฑิต อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา

    ทว่าจากคลิปดังกล่าวจะเห็นว่าดาวหางมีความสว่างไม่สม่ำเสมอ ซึ่งนายวรวิทย์เผยว่าเพราะวันที่บันทึกภาพมีเมฆมารบกวน แต่ก็เรียกได้ว่าเป็นภาพถ่ายที่บันทึกภาพปรากฏการณ์ธรรมชาตินี้ไว้จริงๆ โดยไม่ได้ปรับแต่งแต่อย่างใด

    นับว่าเป็นครั้งแรกที่นักดาราศาสตร์ไทยสามารถบันทึกภาพการเคลื่อนไหวของดาวหางบนท้องฟ้าด้วยกล้องดูดาวบนภาคพื้นดิน

    อย่างไรก็ดี ในวันที่ 27 ม.ค.51 ดาวหาง 8 พี/ทัตเทิลจะโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด และจะทำให้มีแสงสว่างมากที่สุดก่อนขยับออกจากดวงอาทิตย์ ซึ่งเมื่อมองจากพื้นโลกในวันที่ 2 ม.ค.51 จะเป็นจังหวะที่คนกรุงเทพฯ มองเห็นดาวหางสว่างไสวที่สุด

    ดาวหาง 8 พี/ทัตเทิล มีคาบโคจรรอบดวงอาทิตย์ 13.6 ปี เข้าใกล้โลกที่สุดวันที่ 2 ม.ค.51 ที่ 37,848,294 กิโลเมตร มีโชติมาตร (ความสว่าง) 5.7 อีกทั้งได้โคจรผ่านละติจูด 13.5 องศาเหนือตรงกับกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 4-5 ม.ค.51 โดยเคลื่อนที่ลงทิศใต้อยู่ในกลุ่มดาวปลาและกลุ่มดาวแกะตามลำดับ

    จากนั้นวันที่ 17 ม.ค.51 ดาวหางอยู่ในกลุ่มดาวเตาหลอม มีโชติมาตร 6.2 ก่อนเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดวันที่ 27 ม.ค.51 ที่ 153,637,146 กิโลเมตร ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า แต่เห็นได้ในกล้องดูดาวขนาด 8 นิ้วขึ้นใป

    ผู้ค้นพบดาวหางดวงนี้เป็นคนแรกคือ ปิแยร์ เมแชง (P.F.A. Mechain) ที่กรุงปารีส เมื่อ ม.ค.2333 แต่ไม่สามารถหารายละเอียดเกี่ยวกับดาวดวงนี้ได้ ต่อมาฮอเรซ พาร์เนล ทัตเทิล (Horace Parnell tuttle) ชาวอเมริกันได้ค้นพบเป็นคนที่ 2 ณ หอดูดาวฮาร์วาร์ด ในเมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ (Harvard college observatory cambridge Massachusetts) เมื่อ ม.ค.2401 ซึ่งดาวหางนี้เป็นต้นกำเนิดของฝนดาวตกจากกลุ่มดาวหมีเล็กในช่วงวันที่ 22 ธ.ค.ของทุกปีเรียกว่าฝนดาวตกหมีเล็ก (Ursids)
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  15. ใหญ่...พปด

    ใหญ่...พปด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    447
    ค่าพลัง:
    +188
    รูปที่เกิดจากธรรมชาติ สวยงามทุกรูปโดยไม่ต้องเสริมแต่ง แต่แฝงไว้ซึ่งความน่ากลัว ขอบคุณทุกท่านครับ แต่ผมกลัวมากอยู่ลมนึงครับ "ลมเพชรหึง" โดยทีไรเจ็บตัวทุกที
     
  16. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    เอารูปที่ถ่ายเล่นมาอวดค่ะ

    รูปแรกเหมือนห่านเลย
    [​IMG]


    รูปที่2 เมฆครึม ฝนกำลังจากตก ดูน่ากลัว

    [​IMG]

    รูปที่สามถ่ายตอนเช้า เมฆเยอะมาก ถ่ายช่วงแถววันที่พระพี่นางสวครรคต (เขียนถูกป่าวเนี่ย)

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC00312.JPG
      DSC00312.JPG
      ขนาดไฟล์:
      178.8 KB
      เปิดดู:
      1,259
    • DSC00253.JPG
      DSC00253.JPG
      ขนาดไฟล์:
      107 KB
      เปิดดู:
      1,273
    • DSC00352.JPG
      DSC00352.JPG
      ขนาดไฟล์:
      191.9 KB
      เปิดดู:
      1,215
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    กาแลกซีเก่าแก่สุดเท่าที่บันทึกได้ เกิดช่วงยุคมืดแห่งจักรวาล <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">15 กุมภาพันธ์ 2551 15:18 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="461"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="461"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline"> ภาพกาแลกซีเก่าแก่ที่สุดที่บันทึกได้ ภาพใหญ่ทางซ้ายมือแสดงภาพกลุ่มกาแลกซีที่ทำหน้าที่เป็นเลนส์ขยายภาพกาแลกซี A1689-zD1 ซึ่งอยู่ในช่องสี่เหลี่ยมเล็กให้ชัดเจนขึ้น ภาพขวามือ บนเป็นภาพจากกล้องฮับเบิลซึ่งไม่สามารถบันทึกกาแลกซีได้ด้วยแสงที่มองเห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากแสงของกาแลกซีถูกขยายสู่ย่านอินฟราเรดเนื่องจากเอกภพขยายตัว ภาพขวากลางคือภาพที่บันทึกด้วยอุปกรณ์รับสัญญาณอินฟราเรดของฮับเบิล ส่วนขวาล่างแสดงภาพกาแลกซีที่บันทึกรังสีอินฟราเรดด้วยกล้องสปิตเซอร์</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> สเปซเดลี/เอพี/เอเยนซี - นักดาราศาสตร์จับภาพกาแลกซีเก่าแก่ที่สุดเท่าที่เคยบันทึกมา ก่อเกิดในยุคมืดแห่งจักรวาลเมื่อ 1.3 หมื่นล้านปีมาแล้ว นับเป็นภาพกาแลกซีเก่าแก่ที่สุดเท่าเคยบันทึกได้ เผยโชคดีกาแลกซีข้างเคียงช่วยสร้าง "เลนส์ธรรมชาติ" ขยายภาพได้ชัดเจนขึ้น 10 เท่า

    ทีมนักดาราศาสตร์อาศัยอุปกรณ์บันทึกภาพรังสีอินฟราเรดใกล้ (near infrared) ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble) และกล้องโทรทรรศน์อวกาศอินฟราเรดสปิตเซอร์ (Spitzer) ซึ่งเป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) บันทึกภาพกาแลกซีเก่าแก่ที่สุดเท่าที่เคยบันทึกได้ซึ่งก่อเกิดเมื่อเอกภพมีอายุได้เพียง 700 ล้านปี ถือว่าอยู่ในยุคมืดของเอกภพและนับว่าไม่ห่างจากการก่อเกิดของกาแลกซีแรกมากนัก

    กาแลกซีที่พบนี้ชื่อ "เอ1689-ซีดี1" (A1689-zD1) อยู่ในช่วงสร้างดวงดาวระยะสุดท้ายก่อนที่จะกลายเป็นกาแลกซีเช่นเดียวกับกาแลกซีของเราในอนาคต โดยนักดาราศาสตร์พบว่าเป็นภาพระยะเกิดใหม่ของกาแลกซีซึ่งอยู่ท่ามกลางทะเลเพลิงที่โหมกระหน่ำระหว่างการก่อเกิดของดวงดาวหลัง "บิกแบง" (Big Bang) ไม่นาน

    ทฤษฎีในปัจจุบันระบุว่า "ยุคมืด" ของเอกภพเริ่มต้นประมาณ 400,000 ปีหลังบิกแบง ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สสารในเอกภพที่ขยายตัวเย็นลงแล้วก่อตัวเป็นกลุ่มเมฆของไฮโดรเจนเย็น กลุ่มเมฆเย็นเหล่านี้แผ่กระจายไปทั่วเอกภพคล้ายหมอกหนาๆ และระหว่างยุคนี้ดวงดาวและกาแลกซีก็เริ่มก่อตัวขึ้น แล้วเกิดแสงสะสมขึ้นเผาไหม้และขจัดหมอกของไฮโดรเจนเย็นออกไป นับเป็นการสิ้นสุดยุคมืดหลังเกิดบิกแบงหลายพันล้านปี

    ฮอลล์แลนด์ ฟอร์ด (Holland Ford) ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยจอห์นส ฮอปกินส์ (Johns Hopkins University) สหรัฐฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมนักดาราศาสตร์ที่ร่วมกันค้นหากาแลกซีเก่าแก่ในครั้งนี้กล่าวว่า แม้ภาพที่ได้จะเป็นเพียงภาพขาว-ดำและยุ่งเหยิงแต่ก็มีรายละเอียดมากพอ และพามนุษย์มองย้อนเวลาออกไปยังระยะทางอันไกลโพ้นได้ดีที่สุด แต่กาแลกซีที่พบนี้ก็ต่างไปจากกาแลกซีทางช้างเผือกที่โลกเป็นสมาชิก เนื่องจากขนาดที่เล็กกว่ามากและมี 2 ศูนย์กลางแทนที่จะมีเพียงหนึ่ง

    "เราประหลาดใจอย่างยิ่งที่พบกาแลกซีซึ่งเคยเยาว์วัยเมื่อ 12.8 ล้านปีในอดีต และนี่เป็นรายละเอียดมากที่สุดในการระบุวันเวลาของสิ่งที่พบย้อนกลับไปนานมาก" การ์ธ อิลลิงเวิร์ธ (Garth Illingworth) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียในซานตา ครูซ (University of California, Santa Cruz) หนึ่งในทีมนักดาราศาสตร์ที่ร่วมค้นพบกาแลกซีนี้กล่าว

    เพื่อสำรวจเอกภพให้ได้ไกลนักดาราศาสตร์จำเป็นต้องได้รับโชคและการช่วยเหลือเล็กน้อยจากจักรวาล ครั้งนี้กลุ่มของกาแลกซีจำนวนมากทำหน้าที่เสมือน "เลนส์ขยาย" ให้แก่กล้องโทรทรรศน์บนโลก โดยแรงโน้มถ่วงที่มีความเข้มสูงได้เบนแสงที่อยู่รอบๆ กลุ่มกาแลกซีแล้วขยายแสงที่อยู่เบื้องหลังกลุ่มกาแลกซีตรงๆ ซึ่งในกรณีนี้ทำให้กาแลกซีวัยเยาว์ที่เก่าแก่สว่างขึ้นจากปกติ 10 เท่า ภาพบริเวณอื่นๆ ที่อยู่หลังกลุ่มกาแลกซีเหล่านั้นก็คมชัดขึ้นหลายร้อยเท่า

    ทั้งนี้นักดาราศาสตร์เชื่อว่าหากมีกล้องโทรทรรศน์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในอนาคตซึ่งรวมถึงกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เวบบ์สเปซ (James Webb Space Telescope) ที่จะส่งขึ้นไปในปี 2556 นี้ โดยกล้องดังกล่าวสามารถบันทึกภาพกาแลกซีที่อยู่ไกลได้ชัดกว่ากล้องเดิมๆ แม้ว่าแสงจากต้นกำเนิดจะถูกขยายออกไปสู่ย่านรังสีอินฟราเรดก็ตาม และเชื่อว่ากล้องโทรทรรศน์ใหม่นี้จะช่วยบันทึกภาพกาแลกซีเก่าแก่ที่เพิ่งค้นพบนี้ได้ชัดเจนขึ้นด้วย
     
  18. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    สิ่งบอกเหตุก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
    ปรากฏการณ์ล่วงหน้า (Precursory phenomena) อาจเป็นสิ่งเตือนภัย หรือลางบอกเหตุสัญญาณให้รู้ว่า อีกไม่นานจะมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ในอเมริกา รัสเซีย จีน ญี่ปุ่น ต่างให้ความสนใจ พยายามค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับปรากฏการบางอย่างกันมาก ได้แก่
    1) พื้นดินเกิดการยกตัวขึ้นมาอย่างผิดปกติ
    2) ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนแปลงไป
    3) สภาพการนำไฟฟ้าของหินเปลี่ยนแปลง
    4) เกิดแผ่นดินไหวเล็กๆ เกิดขึ้นเป็นการเตือนภัยก่อน
    5) มีปริมาณก๊าชเรดอนในบ่อน้ำสูงกว่าปกติ

    [​IMG]















    สัญชาตญาณของสัตว์
    จากการศึกษาวิจัยของผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวพบว่า หากสัตว์ป่ามีพฤติกรรมผิดไปจากปกติ มักจะเกี่ยวข้องกับการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว ทั้งนี้เพราะสัตว์มีความสามารถรู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดแผ่นดินไหว เป็นสัญชาตญาณอย่างหนึ่งในการเอาชีวิตรอด
    พฤติกรรมผิดปกติของนก
    นกมีความรู้สึกไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะนกพิราบป่าจะไวเป็นพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวประเทศจีนพบว่า ขณะเกิดแผ่นดินไหวแรงสั่นสะเทือน 3 ริกเตอร์ขึ้นไป ฝูงนกพิราบป่าที่อยู่ภายในรัศมี 50 กม. จากศูนย์กลางแผ่นดินไหวจะล่วงรู้ล่วงหน้า และบินหนีไปภายใน 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ กาและนกเลี้ยงบางชนิด เช่น นกแก้ว ก็มีความรู้สึกไวต่อการเกิดแผ่นดินไหวเช่นกัน
    พฤติกรรมผิดปกติของปลา
    - ปลาน้ำเค็ม
    เมื่อ ค.ศ. 1995 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ ชาวประมงจับปลาได้ปลาได้มากกว่าปกติ และมีปลาจากทะเลลึกว่ายเข้ามาในเขตน้ำตื้นด้วย
    -ปลาน้ำจืด
    ปลาน้ำจืดในแม่น้ำหรือทะเลสาบที่มีความรู้สึกไวต่อการเกิดแผ่นดินไหวหรือปลาคาร์ป ก่อนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง เคยมีคนเห็นปลาคาร์ปจำนวนมากกระโดดขึ้นมาบนผิวน้ำเหมือนตกใจหนีอะไรบางอย่าง
    พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์เลื้อยคลาน
    ผลการวิจัยพบว่า สัตว์ที่รู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดแผ่นดินไหวก่อนใครคืองู ทั้งนี้เพราะงูจำศีลอยู่ในโพรงใต้ดิน (งูในประเทศเขตหนาว) จึงรู้สึกถึงความผิดปกติได้ง่ายเมื่อมีการสั่นสะเทือนของเปลือกโลก มีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ฯลฯ และจะหลบภัยด้วยการเลื้อยขึ้นมาบนดินแม้จะเป็นช่วงฤดูหนาวก็ตาม
    ตัวอย่างเช่นเมื่อ ค.ศ. 1855 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่นหนึ่งวัน พบฝูงงูเลื้อยขึ้นมาบนดินหลายตัว เมื่อ ค.ศ. 1977 ตอนเกิดแผ่นดินไหวที่โรมาเนีย ก็มีฝูงงูเลื้อยขึ้นมาแข็งตายบนดิน เมื่อ ค.ศ. 1976 หนึ่งวันก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่เมืองถังซานประเทศจีน ก็มีฝูงงูจำนวนมากเข้าไปหลบอยู่ในซอกหิน
    พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
    กบก็แสดงพฤติกรรมผิดปกติเช่นเดียวกับงู เมื่อ ค.ศ. 1976 ไม่กี่ชั่งโมงก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่เมืองถังซานในประเทศจีน มีคนเห็นฝูงกบนับพันนับหมื่นตัวพากันอพยพ
    พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
    สุนัข
    ตอนที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ มีรายงานว่าสุนัขจะแสดงพฤติกรรมแปลกๆ มากที่สุด สุนัขเป็นสัตว์ที่ใกล้ชิดกับคน จึงสังเกตความผิดปกติจากสุนัขได้ง่าย และพบว่าก่อนเกิดแผ่นดินไหว สุนัขจะมีอาการตื่นตระหนก วิ่งไปวิ่งมา บางตัวก้าวร้าวขึ้น ส่วนบางตัวก็เห่าและหอน
    แมว
    ก่อนเกิดแผ่นดินไหว แมวส่วนใหญ่จะหาที่หลบ ญี่ปุ่นมีคำโบราณกล่าวไว้ว่า "ก่อนแผ่นดินไหว แมวจะปีนขึ้นต้นไม้สูง" และมีคนเห็นเช่นนี้จริงๆ ก่อนเกิดแผ่นไหว แมวบางตัวแสดงอาการงุ่นง่าน วิ่งไปมา และส่งเสียงร้องอย่างกระวนกระวาย
    หนู
    เมื่อ ค.ศ. 1923 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่คันโต หนูพากันหลบหนีไปหมด และตอนเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ ก็พบปรากฏการณ์หนูพากันหลบหนีเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่าก่อนเกิดแผ่นดินไหวจะมีหนูติดกับดักเพิ่มขึ้น และหนูบางตัววิ่งพล่านไปทั่ว

    การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดิน
    นับแต่โบราณ ชาวจีนค้นคว้าหาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดแผ่นดินไหวกับระดับน้ำใต้ดิน และนำมาใช้ในการคาดการณ์การเกิดแผ่นดินไหว ตั้งแต่ ค.ศ. 1981-1985 มีรายงานความผิดปกติของระดับน้ำใต้ดินหลายครั้ง เป็นการลดลง 27 ครั้ง เพิ่มลดสลับกัน 3 ครั้ง น้ำใต้ดินเกิดคลื่น 3 ครั้ง และระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลงอย่างผิดปกติ 12 ครั้ง
    ค.ศ. 1975 มีการคาดการณ์แผ่นดินไหวที่ชายฝั่งทะเลของประเทศจีนเป็นครั้งแรกของโลก จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า ก่อนเกิดแผ่นดินไหวที่มีความสั่นสะเทือน 7 ริกเตอร์ขึ้นไป บางครั้งระดับน้ำใต้ดินที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงศูนย์กลางแผ่นดินไหวจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติล่วงหน้าเป็นปี ๆ แต่หากแผ่นดินไหวที่มีความสั่นสะเทือนต่ำกว่า 6 ริกเตอร์ การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดินครั้งแรกเกิดขึ้นราวสองสามเดือนก่อนแผ่นดินไหว

    ความสั่นสะเทือนที่ใต้ดิน
    ลางบอกเหตุแผ่นดินไหวที่พิเศษที่สุดคือเสียงสั่นสะเทือนที่ใต้ดิน เท่าที่ค้นพบในเวลานี้มีบันทึกเกี่ยวกับเสี่ยงสั่นสะเทือนจากใต้ดินในสมัยราชวงศ์เว่ย เมื่อ 1,500 ปีก่อนแล้ว ซึ่งบันทึกไว้ว่า ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 464 เกิดแผ่นดินไหวที่บริเวณเมืองเยียนเหมินฉี (มณฑลชานซีในปัจจุบัน) ก่อนเกิดแผ่นดินไหวมีเสียงสั่นสะเทือนจากใต้ดินดังครืนๆ เหมือนฟ้าร้องพอสงบลงก็เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง และในปี ค.ศ 1967 หลังเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงที่เมืองถังซาน ได้มีการสอบถามผู้คนที่อาศัยอยู่ในรัศมี 1,000 กิโลเมตรจากศูนย์กลางของแผ่นดินไหว พบว่า 95 % ได้ยินเสียงดังครืนๆ อย่างชัดเจน
    ชนิดของเสียงสั่นสะเทือนที่ใต้ดิน
    เสียงสั่นสะเทือนที่พื้นดินที่เป็นลางบอกเหตุแผ่นดินไหวมีมากหลายแบบ จากผลการวิจัยแบ่งได้เป็น 6 แบบคือ
    1. เสียงฟ้อง : เป็นเสียงที่พบบ่อยที่สุด มักจะดังขึ้นก่อนเกิดแผ่นดินไหว
    2. เสียงพายุ: ดังเหมือนพายุพัด คล้ายเสียงร้องของช้างพลาย
    3. เสียงระเบิด: ดังตูมตามเหมือนเสียงระเบิดขนาดใหญ่
    4. เสียงเครื่องยนต์: ดังเหมือนเสียงรถยนต์ รถไถ รถรางไฟฟ้า หรือเครื่องบิน
    5. เสียงเลื่อยไม้: ตอนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่เมืองถังซาน มีคนจำนวนไม่น้อยได้ยินเสียสั่นสะเทือนที่ใต้ดินที่ดังเหมือนเสียงระเบิดและเสียงเลื่อยไม้
    6. เสียงฉีกผ้า: เสียงนี้มักได้ยินที่ทะเลมากกว่าบนบก

    ท้องฟ้าก็บอกเหตุแผ่นดินไหว
    ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวชาวญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยเชื่อว่า ท้องฟ้าก็บอกเหตุแผ่นดินไหว โดยก่อนแผ่นดินไหวรุนแรง ท้องฟ้าจะมี
    ปรากฏการณ์ที่ผิดปกติ เช่น มีเมฆรูปร่างประหลาด เกิดประกายแสง มีรุ้งกินน้ำ เป็นต้น แต่ที่พบบ่อยที่สุดคือมี "เมฆแผ่นดินไหว" (Earthquake
    Clouds)
    โมเดลของการเกิดเมฆแผ่นดินไหว
    หลักการของการเกิด "เมฆแผ่นดินไหว" นั้น Zhonghao Shou (Earthquake Prediction Center, New York, USA) อธิบายไว้ว่า ในบริเวณที่มีแนวรอยเลื่อนมีพลัง เมื่อหินถูกแรงเค้นจากภายนอกเข้ากระทำ ทำให้หินบริเวณนั้นแตกร้าวบางส่วน เป็นรอยเลื่อนในชั้นหิน และเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กทันที (ก่อแผ่นดินไหวใหญ่จะตามมา) แอ่งน้ำร้อนที่สะสมตัวใต้ดิน/หิน (Hydrothermal) จะกลายเป็นไอที่มีอุณหภูมิร้อน และความดันสูง ไหลพุ่งขึ้นมาตามรอยเลื่อนนี้ ระเหยขึ้นสู่ท้องฟ้าเบื้องบน ขณะที่บรรยากาศโดยรอบมีอุณหภูมิเย็น จะก่อให้เกิด เมฆแผ่นดินไหว ปรากฏเหนือและ ขนานยาวตามแนวรอยเลื่อนนั้นๆ

    [​IMG]
    รูป 1 (8/01/2537NW) รูป 2 (13/02/2537 NE) รูป 3 (31/08/2537 NW)
    [​IMG]
    รูป 4 (18/10/2537 NE) รูป 5 (15/11/2537 NW) รูป 6 (22/07/2539 NE)
    ภาพถ่ายลักษณะต่างๆ ของเมฆแผ่นดินไหว ที่ไม่สามารถอธิบายด้วยวิชาอุตุนิยมวิทยา ถูกบันทึกภาพโดย Zhonghao Shou
    ในพื้นที่ของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ใต้รูปภาพบอก วัน/เดือน/ปี พ.ศ. ที่ถ่ายภาพ และทิศทางที่มอง)
    รูป 1 เมฆรูปเส้นตรง (Line-shaped cloud) พบบริเวณเมือง Pasadena ในวันที่ 8 มกราคม 2537 ที่เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์แผ่นดินไหว
    ขนาด 6.7 ริกเตอร์ ของวันที่ 17 มกราคม 2537 (Northridge earthquake, ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 34.21N, 118.53W)
    รูป 2 เมฆรูปคลื่น (Wave-shaped cloud) ที่บันทึกภาพได้วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 ริกเตอร์
    ของวันที่ 20 มีนาคม 2537 (Northridge earthquake)
    รูป 3 เมฆรูปเส้นตรง ที่ถูกถ่ายภาพไว้ได้วันที่ 31 สิงหาคม 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ของวันที่ 1 กันยายน 2537
    บริเวณนอกชายฝั่งทะเลตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 40.40N, 125.68W)
    รูป 4 เมฆรูปขนนก (Feather-shaped cloud) ) ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าในวันที่ 18 ตุลาคม 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร์
    ของวันที่ 27 ตุลาคม 2537 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลของรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 43.51N, 127.42W)
    รูป 5 เมฆรูปตะเกรียง (Lantern-shaped cloud) ถูกบันทึกภาพได้เหนือท้องฟ้าเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหว
    ขนาด 6.8 ริกเตอร์ ของวันทื่ 19 กุมภาพันธ์ 2538 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
    (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 40.55N, 125.53W)
    รูป 6 เมฆรูปรัศมี (Radiation-pattern-shape cloud) ที่ถูกถ่ายภาพไว้ได้วันที่ 22 กรกฎาคม 2539 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 ริกเตอร์
    ของวันที่ 14 สิงหาคม 2539 บริเวณเมือง Joshua Tree (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 34.59N, 116.28W)


    <TABLE id=AutoNumber1 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" borderColor=#111111 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    [​IMG]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    ภาพดาวเทียมของ University College London ได้บันทึกไว้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2541 เวลา 7:32 ปรากฏ เมฆแผ่นดินไหวรูปตะแกรง เหนือ ประเทศอัฟกานิสถาน ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2541

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width="50%">
    ภาพดาวเทียมที่บันทึกไว้เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2542 ปรากฎ เมฆแผ่นดินไหวรูปขนนก เหนือพื้นที่ตอนกลางประเทศเม็กซิโก ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.7 ริกเตอร์ ในวันที่ 15 มิถุนายน 2542 ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    http://www.dmr.go.th/geohazard/earthquake_n/precursory.htm
     
  19. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE class=MsoNormalTable style="WIDTH: 480pt; mso-cellspacing: 0in; mso-padding-alt: 6.0pt 6.0pt 6.0pt 6.0pt" cellSpacing=0 cellPadding=0 width=640 border=0><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; PADDING-BOTTOM: 6pt; WIDTH: 55%; PADDING-TOP: 6pt" width="55%" rowSpan=9>
    [​IMG]
    </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; BACKGROUND: silver; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">Introduction
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 2"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">Theory and Model
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 3"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; BACKGROUND: silver; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">New Predictions Update
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 4"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">Publication & News
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 5"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; BACKGROUND: silver; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">Essays and Press Releases
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 6"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">Past Predictions
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 7"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; BACKGROUND: silver; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">References and Links
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 8; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="PADDING-RIGHT: 6pt; PADDING-LEFT: 6pt; PADDING-BOTTOM: 6pt; PADDING-TOP: 6pt">Contact Information
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    http://quake.exit.com/
     
  20. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649

แชร์หน้านี้

Loading...