รวบรวมภาพเมฆ, ท้องฟ้า, ดาว, เดือน, พระอาทิตย์ เพือเก็บตัวอย่างไว้ศึกษา

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 19 มิถุนายน 2007.

  1. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    862
    ค่าพลัง:
    +3,122
    [​IMG]
     
  2. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    862
    ค่าพลัง:
    +3,122
    [​IMG]
     
  3. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    862
    ค่าพลัง:
    +3,122
    [​IMG]
     
  4. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    862
    ค่าพลัง:
    +3,122
    [​IMG]
     
  5. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    862
    ค่าพลัง:
    +3,122
    ขอขอบคุณ http://www.taklong.com/ ครับ
     
  6. สิกขิม

    สิกขิม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,310
    ค่าพลัง:
    +6,034
    อุกาฟ้าเหลือง บางนา กรุงเทพฯ 25 เมษายน 2550



    [​IMG]
     
  7. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,425
    โห..รุ้งสวยมากๆเลย
    ชอบภาพ At The Rainbows End มากคร๊าบ *-*
     
  8. อักขรสัญจร

    อักขรสัญจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    4,514
    ค่าพลัง:
    +27,181
    ชมรมยกเมฆเหรอ
    อิอิ
     
  9. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,425
    55555 กระทู้เบาๆ ยกเมฆ ยกท้องฟ้า
    อีกหน่อยจะประกวดยกเมฆ ให้พี่ฝุ่นเป็นกรรมเกิน อิอิ :cool:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2007
  10. อักขรสัญจร

    อักขรสัญจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    4,514
    ค่าพลัง:
    +27,181
    "ยกเมฆ" คือวิชากึ่งโหราศาสตร์โบราณที่ใช้วิธีอ่านปรากฏการณ์บนท้องฟ้าและอธิษฐานดูนิมิตจากก้อนเมฆนะ
    อิอิ
    ไม่เบาเท่าไหร่งะ
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เมฆชั้นสูง (High Clouds)

    ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความสูง 6,000 - 18,000 เมตร (20,000 - 60,000 ฟุต) ขึ้นไป ส่วนใหญ่จะมีสีขาวหรือเทาอ่อน และเกิดขึ้นใน Stable air เป็นเมฆซึ่งไม่ทำให้เกิดฝน แต่ส่วนใหญ่จะเป็นเกล็ดน้ำแข็ง และมี Turbulence ด้วย เมฆชั้นสูงมีอยู่ 3 ชนิด ดังนี้

    1.1เมฆเซอรัส (Cirrus Cloud) มีลักษณะเป็นแผ่นบางสีขาวเจิดจ้า หรือสีเทาอ่อน ดวงอาทิตย์สามารถส่องผ่านได้อย่างดี มีหลาย ๆ รูปทรง เช่น เป็นฝอย คล้ายขนนกบางๆ หรือเป็นทางยาว อยู่สูงที่ระดับ 30,000 ฟุต

    1.2เมฆเซอโรสคิวมูลัส(Cirrocumulus Cloud) มีลักษณะเป็นปอยบางๆ สีขาว หรือคล้ายขนแกะหรือปุยนุ่น

    1.3เมฆเซอโรสเตรตัส(Cirrostratus Cloud) มีลักษณะคล้ายกับเมฆเซอรัส แต่จะแผ่ออกไปเป็นแผ่นเยื่อบางๆ ต่อเนื่องเป็นแผ่นตามทิศทางของลมในระดับสูง

    2.เมฆชั้นกลาง (Middle Clouds)
    ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความสูงระหว่าง 2,000 - 8,000 เมตร (6,500 - 26,000 ฟุต) มีอยู่ 2 ชนิด

    2.1เมฆอัลโตคิวมูลัส (Altocumulus Cloud) มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อนเล็ก ๆ คล้ายฝูงแกะที่อยู่รวมกัน บางครั้งอาจก่อตัวต่ำลงมาดูคล้าย ๆ กับเมฆสเตรโตคิวมูลัส หรือเกิดเป็นก้อนซ้อน ๆ กันคล้ายกับยอดปราสาท (Castellanus cloud) ในบางครั้งเมฆชนิดนี้เกิดขึ้นจากการเคลื่อนตัวในลักษณะลูกคลื่นของลม ทำให้เกิดมีรูปร่างคล้ายกับจานบินหรือแผ่นเลนส์นูน (Lenticular cloud)

    2.2เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus Cloud) มีลักษณะเป็นแผ่นปกคลุมบริเวณกว้าง บริเวณฐานเมฆจะเป็นสีเทา หรือสีฟ้า สามารถบังดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ ทำให้เห็นเป็นฝ้าๆ อาจทำให้เกิดฝนละอองบางๆได้

    3.เมฆชั้นต่ำ (Low Clouds)
    ในบริเวณแถบโซนร้อนจะอยู่ที่ความสูงไม่เกิน 2,000 เมตร (ผิวพื้น - 6,500 ฟุต) มีอยู่ 4 ชนิด

    3.1เมฆสเตรตรัส (Stratus Cloud) มีลักษณะเป็นแผ่นสีเทา ไม่รวมตัวกันอยู่เป็นบริเวณกว้างมากนัก บางครั้งอาจเกิดในระดับต่ำมากคล้ายหมอก จะเคลื่อนที่ตามลมได้เร็ว และอาจทำให้เกิดฝนละอองได้

    3.1 เมฆสเตรโตรคิวมูลัส (Stratocumulus Cloud) มีลักษณะเป็นก้อนกลมคล้ายเมฆคิวมูลัส แต่เรียงติดกันเป็นแถวๆ รวมกันคล้ายคลื่น บางครั้งอาจจะแยกตัวออกเป็นกลุ่มที่ประกอบด้วยก้อนเล็ก ๆ จำนวนมาก

    3.2เมฆนิมโบสเตรตรัส (Nimbostratus Cloud) มีลักษณะเป็นแผ่นสีเทาเข้ม คล้ายพื้นดินที่เปียกน้ำ ปกคลุมเป็นบริเวณกว้างมาก ทำให้เกิดฝนหรือหิมะตกในปริมาณเล็กน้อยถึงปานกลางต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ ได้

    3.3เมฆคิวมูลัส (Cumulus Cloud) มีลักษณะเป็นก้อนหนา ฐานเมฆมักแบนราบ อาจเกิดเป็นก้อนเดี่ยวๆ หรือรวมตัวกันเป็นก้อนใหญ่ ทำให้มองเห็นคล้ายดอกกระหล่ำปี

    4.เมฆก่อตัวในทางตั้ง (Clouds with Vertical Development)
    เป็นเมฆที่ก่อตัวในแนวตั้งที่รุนแรงและฉับพลัน มีความสูงของฐานเมฆประมาณ 500 เมตร (1,600 ฟุต) ส่วนยอดเมฆ มีความสูงไม่แน่นอน บางครั้งสูงถึงระดับเมฆชั้นสูง มีอยู่ 2 ชนิด

    4.1เมฆทาว์เวอริ่งคิวมูลัส (Towering Cumulus Cloud)เป็นเมฆที่ก่อตัวในแนวตั้งที่รุนแรงและฉับพลัน มีลักษณะคล้ายดอกกระหล่ำปลี สูงเสียดขึ้นไปในเมฆชั้นสูง ฐานเมฆจะเป็นสีเทาดำ สภาพอากาศแบบ Unstable air ทำให้เกิด Turbulence และฝนฟ้าคนอง

    4.2เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus Cloud) มีลักษณะเป็นเมฆหนาก้อนใหญ่ ก่อตัวสูงมาก บางครั้งยอดเมฆจะแผ่ออกเป็นรูปทั่ง ทำให้เกิดฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง บางครั้งมีลูกเห็บตก จึงมักถูกเรียกว่า เมฆฝนฟ้าคะนอง


    http://www.bloggang.com/data/benzlemon/picture/1140775144.jpg
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เมฆถ่ายเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน เวลา 19.30 ที่ KL
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_8716.JPG
      IMG_8716.JPG
      ขนาดไฟล์:
      825.1 KB
      เปิดดู:
      145
    • IMG_8717.JPG
      IMG_8717.JPG
      ขนาดไฟล์:
      797.7 KB
      เปิดดู:
      164
    • IMG_8719.JPG
      IMG_8719.JPG
      ขนาดไฟล์:
      876.5 KB
      เปิดดู:
      188
    • IMG_8705.JPG
      IMG_8705.JPG
      ขนาดไฟล์:
      697.7 KB
      เปิดดู:
      136
    • IMG_8708.JPG
      IMG_8708.JPG
      ขนาดไฟล์:
      686.9 KB
      เปิดดู:
      173
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 มิถุนายน 2007
  14. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    โอ...เมฆชัดขนาดนั้น
     
  15. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,150
    ค่าพลัง:
    +18,072
    วันนี้พี่ Falkman ช่วนดูเมฆอีกแล้ว เมื่อวาน ปรากฎการณ์พายุถล่มกรุงเทพ สังเกตได้ว่าเมฆสีเทาลอยตัวสูง ลมแรง ลักษณะฝนสาดเป็นแนวเฉียงลงประมาณ 45 องค์ศา

    ใครเห็นแบบเราบ้างเอ๋ย??

    ไว้เดี๋ยวจะจัดทริปไปดูดาวที่ท้องฟ้าจำลองกัน ใครไปก็ยกมือไว้ อิอิอิ @^o^@
     
  16. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เมื่อวานนี้กรุงเทพเจอพายุ ขยะ กระดาษถูกดูดลอยสูงกว่าตึกสิบชั้น เริ่มเป็นแพทเทิร์นของพายุที่ปรากฏในฝันของหลายคนแล้ว แต่ยังไม่รุนแรงเท่า

    ส่วนที่ภูเก็ตเกิดพายุหอบเอาบ้านลอยขึ้นฟ้าเป็นหลังๆแล้ว

    สภาพอากาศแปรปรวนมากขึ้น จนผู้คนเริ่มให้ความสนใจเพิ่มมากขึ้นเรื่องผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
     
  17. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,425
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กรกฎาคม 2007
  18. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,116
    ค่าพลัง:
    +62,425
    ท้องฟ้าจำลอง ถ้าจะไปต้องไปก่อน บ่าย 2 โมงนะกิ๊ก (รอบสุดท้าย)
    พาหลานไปถึง 3 โมงอดดูครับไม่ทัน..
    ที่พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์คลอง 5 ก็น่าไป
    มีพื้นทดสอบแผ่นดินไหวด้วย ยืนแทบไม่อยู่เลย
    ของจริงคงยิ่งกว่านี้มาก
     
  19. MOUNTAIN

    MOUNTAIN เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    15,035
    ค่าพลัง:
    +132,081
    ท้องฟ้ายามเย็น ฝั่งศิริราช สวยไปอีกแบบ แปลกดีครับ นำมาฝาก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • PIC_0040.JPG
      PIC_0040.JPG
      ขนาดไฟล์:
      139.6 KB
      เปิดดู:
      162
    • PIC_0041.JPG
      PIC_0041.JPG
      ขนาดไฟล์:
      132.6 KB
      เปิดดู:
      200
    • PIC_0042.JPG
      PIC_0042.JPG
      ขนาดไฟล์:
      92.3 KB
      เปิดดู:
      149
    • PIC_0043.JPG
      PIC_0043.JPG
      ขนาดไฟล์:
      71.8 KB
      เปิดดู:
      146
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ไทยจะเห็นราชาฝนดาวตก- จันทรุปราคาเต็มดวง ส.ค.นี้ </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 กรกฎาคม 2550 19:34 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> นายอารี สวัสดี นายกสมาคมดาราศาสตร์ไทย กล่าวว่า ในระหว่างวันที่ 12-13 สิงหาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกเพอร์ซิอัส ซึ่งถือเป็นราชาฝนดาวตก มีสีสันสวยงาม เกิดจากการเสียดสีของสะเก็ดดาวและฝุ่นละอองกับอากาศ สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าทุกพื้นที่ของประเทศไทย และจะปรากฏชัดเจนในช่วงเวลา 22.00-24.00 น. ของคืนวันที่ 12 สิงหาคมต่อเนื่องช่วงเช้าของวันที่ 13 สิงหาคม ส่วนอัตราการตกของฝนดาวตกจะอยู่ที่ 60 ดวงต่อชั่วโมง ซึ่งจะอยู่ในทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และอยู่ใกล้เคียงกับดาวลูกไก่ และดาวค้างคาว หากประชาชนสนใจดูปรากฏการณ์ฝนดาวตกขอให้เลือกดูในสถานที่มืดและโล่ง เชื่อว่าในปีนี้จะสามารถมองเห็นปรากฏการณ์ฝนดาวตกได้อย่างชัดเจน เนื่องจากเป็นคืนจันทร์ดับไม่มีแสงจันทร์
    และในวันที่ 28 สิงหาคม จะเกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวง ซึ่งจะทำให้พระจันทร์มีสีส้มแดงสวยงาม สามารถเห็นได้ในหลายประเทศทั้งเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาสมุทรแปกซิฟิก เป็นต้น โดยดวงจันทร์จะถูกเงามืดของโลกบดบังตั้งแต่เวลา 14.51 น. ตามเวลาประเทศไทย และเต็มดวงในเวลา 18.22 น. สำหรับประเทศไทยสามารถเห็นได้ในช่วงท้ายของปรากฏการณ์ หรือประมาณเวลา 18.42 น. และจะสิ้นสุดในเวลา 19.24 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9500000080657
     

แชร์หน้านี้

Loading...