มาคุยกันเถอะ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย albertalos, 22 เมษายน 2009.

  1. nanakorn

    nanakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    1,075
    ค่าพลัง:
    +155
    คุณเสขะ
    อืม งั้นลองบอกวิธีการทำทาน ศีล ภาวนา ว่าทำอะไรบ้าง
    หรือถ้าไม่สะดวกก็ไม่เป็นไร แต่ถ้าบอกได้ มันก็เป็นแนวทางสำหรับผู้อื่นค่ะ อนุโมทนา
     
  2. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ต้องกลัวจิตฟุ้งทามไมอ่ะคับ จิตฟุ้งก้รู้ว่าจิตฟุ้ง ท่าเราไม่อยากคบ( ร่วม รับ ให้ ) ใจเราก้ไม่ไปเกี่ยวด้วยอยู่แล้ว ตรงนี้ไม่ต้องมานั่งสำรวมไม่ต้องมานั่งกดอารม หากยังมัวกดอารมอยู่มันก้ปลายเหตุ

    เราต้องรู้ตัวพร้อม นั้นคือสติ ยิ่งปรกติแล้วเจริญสติปัฐฐานมากๆยิ่งรู้ตัวตลอดเวลา คือสตินั้นมีตลอดอยู่แล้ว มีความธรรมดาในความหน่ายตรงนี้เกิดเอง จะไม่เข้าไปยึดกับสิ่งใดท่าเจริญมรนานุสติช่วย ตรงนี้ไม่ต้องฝืนไม่ต้องกดไม่ต้องละไม่ต้องวาง แต่เป็นธรรมชาติที่ใจไม่ได้เกี่ยวรัดเอาไว้

    เผลอเปปเดียวเป็นร้อยเลย
     
  3. เสขะ บุคคล

    เสขะ บุคคล เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,240
    กระทู้เรื่องเด่น:
    54
    ค่าพลัง:
    +4,023
    โมทนาครับ
    ไม่กลัวครับ แต่เห็นเหตุแห่งอกุศลจิต ถ้าเลือกได้ก็ต้องเลือกไม่ทำเหตุ
    ธรรมชาติของจิตย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำ ส่วนสติก็ระลึกรู้เท่าที่มันจะระลึกรู้ได้ครับ
    ส่วนภูมิของผมก็ยังไม่สามารถระลึกรู้ได้ตลอดเวลาครับ
     
  4. ดับ

    ดับ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2009
    โพสต์:
    213
    ค่าพลัง:
    +533
    ขอเสริมนะครับ

    ธรรมชาติของจิตที่ยังแบกตัญหา อุปาทานย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำ หากเราวางภาระนี่ได้จิตก็จะเบา ผมมันคนชอบง่ายๆ ตอนนี้กำลังเลื่อยโคนต้นของสังโยชน์อยู่
    คือสักกายะทิฏฐิ กิเลสตัญหามันมันเป็นยาง ตัดต้นก่อน(ผมไม่ยืนยันว่าที่ผมทำถูกนะครับ กำลังลองดูและไม่แนะนำให้ทำตาม) แล้วค่อยขุดเอารากคืออวิชาขึ้นมาเผา
     
  5. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    [​IMG][​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 เมษายน 2009

แชร์หน้านี้

Loading...