พระอภิธรรมปิฎก อ่านออกเสียงยาก เชิญสมาชิกสอบถามคำอ่านได้ที่นี่

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย ผ่อนคลาย, 4 กุมภาพันธ์ 2007.

  1. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>นอัชฌัตติกทุกอัชฌัตติกทุกะ นะ อัด ชัด ติ กะ ทุ กะ อัด ชัด ติ กะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๒๑] อัชฌัตติกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    มี ๓ นัย
    พาหิรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๑๒๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นอุปาทาทุกอุปาทาทุกะ นะ อุ ปา ทา ทุ กะ อุ ปา ทา ทุ กะ
    </CENTER>[๑๒๓] อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๒๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕


    <CENTER>นอุปาทินนทุกอุปาทินนทุกะ นะ อุ ปา ทิน นะ ทุ กะ อุ ปา ทิน นะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๒๕] อนุปาทินนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๒๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕


    <CENTER>นอุปาทานโคจฉกทุกอุปาทานโคจฉกทุกะ นะ อุ ปา ทา นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ อุ ปา ทา นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๒๗] อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


    <CENTER>ฯลฯ

    </CENTER><CENTER>นกิเลสโคจฉกทุกกิเลสโคจฉกทุกะ นะ กิ เล สะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กิ เล สะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๒๘] กิเลสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


    <CENTER>ฯลฯ

    </CENTER><CENTER>นทัสสเนนปหาตัพพทุกทัสสเนนปหาตัพพทุกะ
    </CENTER>[๑๒๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-
    *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่
    ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
    ธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    [๑๓๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕


    <CENTER>นภาวนายปหาตัพพทุกภาวนายปหาตัพพทุกะ
    </CENTER>[๑๓๑] ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๓๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕


    <CENTER>นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ
    </CENTER>[๑๓๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๓๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ
    </CENTER>[๑๓๕] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๓๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นสวิตักกทุกสวิตักกทุกะ
    </CENTER>[๑๓๗] สวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
    ปัจจัย มี ๓ นัย
    อวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    สวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    สวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    อวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    อวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๓๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นสวิจารทุกสวิจารทุกะ
    </CENTER>[๑๓๙] สวิจารธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๔๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นสัปปีติกทุกสัปปีติกทุกะ
    </CENTER>[๑๔๑] สัปปีติกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๔๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นปีติสหคตทุกปีติสหคตทุกะ
    </CENTER>[๑๔๓] ปีติสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๔๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นสุขสหคตทุกสุขสหคตทุกะ นะ สุ ขะ สะ หะ คะ ตะ ทุ กะ สุ ขะ สะ หะ คะ ตะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๔๕] สุขสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๔๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นอุเบกขาสหคตทุกอุเบกขาสหคตทุกะ
    </CENTER>[๑๔๗] อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย
    อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-
    *สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ธรรม
    ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่
    ไม่ใช่ธรรม ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-
    *สหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๑๔๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 เมษายน 2011
  2. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>นกามาวจรทุกกามาวจรทุกะ นะ กา มา วะ จะ ระ ทุ กะ กา มา วะ จะ ระ ทุ กะ

    </CENTER> [๑๔๙] กามาวจรธรรม กา มา วะ จะ ระ ทำ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ธรรม
    ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๑๕๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙


    <CENTER>นรูปาวจรทุกรูปาวจรทุกะ น รู ปา วะ จะ ระ ทุ กะ รู ปา วะ จะ ระ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๕๑] รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๕๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙



    <CENTER>นอรูปาวจรทุกอรูปาวจรทุกะ
    </CENTER>[๑๕๓] ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย
    [๑๕๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙



    <CENTER>นปริยาปันนทุกปริยาปันนทุกะ
    </CENTER>[๑๕๕] ปริยาปันนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปริยาปันนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    มี ๓ นัย
    ปริยาปันนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อปริยาปันนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    ปริยาปันนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปริยาปันนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อปริยาปันนธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    [๑๕๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕



    <CENTER>นนิยยานิกทุกนิยยานิกทุกะ นะ นิย ยา นิ กะ ทุ กะ นิย ยา นิ กะ ทุ กะ </CENTER><CENTER> </CENTER>
    [๑๕๗] อนิยยานิกธรรม อะ นิย ยา นิ กะ ทำ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ..... นิย อ่านเหมือน นัย เพียงเปลียนสระเท่านั้น
    มี ๑ นัย
    อนิยยานิกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    อนิยยานิกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นิยยานิกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อนิยยานิกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    [๑๕๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕​



    <CENTER>นนิยตทุกนนิยตทุกะ นะ นิ ยะ ตะ ทุ กะ นิ ยะ ตะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๕๙] อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    อนิยตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นิยตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    [๑๖๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕



    <CENTER>นสอุตตรทุกสอุตตรทุกะ นะ สะ อุด ตะ ระ ทุ กะ สะ อุด ตะ ระ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๖๑] สอุตตรธรรม สะ อุด ตะ ระ ทำ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สอุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อนุตตรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สอุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    สอุตตรธรรม และอนุตตรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สอุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-
    *ปัจจัย มี ๓ นัย
    สอุตตรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อนุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    สอุตตรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สอุตตรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อนุตตรธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    [๑๖๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕



    <CENTER>นสรณทุกสรณทุกะ นะ สะ ระ นะ ทุ กะ สะ ระ นะ ทุ กะ
    </CENTER>[๑๖๓] อรณธรรม อะ ระ นะ ทำ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    อรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    อรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย มี ๑ นัย
    [๑๖๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๕
    [๑๖๕] อรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    สรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๖๖] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓



    <CENTER>สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
    </CENTER>[๑๖๗] ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม และอรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    [๑๖๘] ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    [๑๖๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๗
    [๑๗๐] ธรรมที่ไม่ใช่สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
    โดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย
    [๑๗๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๗
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๔
    อนุโลมก็ดี ปัจจนียะก็ดี อนุโลมปัจจนียะก็ดี ปัจจนียานุโลมก็ดี แห่งปัญหาวารใน
    กุสลัตติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น



    <CENTER>ปัจจนียาโลมทุกปัฏฐาน จบ.</CENTER><CENTER> </CENTER>
    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 เมษายน 2011
  3. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    </PRE><CENTER>ปัจจยวาร ปัด จะ ยะ วา ระ
    </CENTER>[๖๑๗] นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    นีวรณวิปปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-
    *ปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณวิปปยุตต-
    *ธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ ปฏิสนธิ มหาภูตรูป ๑ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตต
    ธรรม อาศัยหทัยวัตถุ
    นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
    ปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ
    นีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตต
    ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ จิตตสมุฏ-
    *ฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
    นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตต-
    *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    นีวรณวิปปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตต
    ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย
    นีวรณสัมปปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตต
    ธรรม และนีวรณวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และหทัยวัตถุ
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย


    <CENTER>ฯลฯ
    </CENTER>[๖๑๘] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๔
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในอนันตรปัจจัย มี " ๔
    ในวิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๑
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
    [๖๑๙] นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    คือ อวิชชานิวรณ์ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
    ด้วยอุทธัจจะ
    นีวรณวิปปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะ
    เหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณวิปปยุตต-
    *ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อะ เห ตุ กะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ จัก ขา ยะ ตะ นะ กายวิญญาณ กา ยะ วิน ยาน อาศัยกายายตนะ กา ยา ยะ ตะ นะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็น
    อเหตุกะ อาศัยหทัยวัตถุ
    นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้นไม่ใช่เพราะ
    เหตุปัจจัย
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ
    นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม และนีวรณวิปปยุตต
    ธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
    ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุ
    [๖๒๐] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัย มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัย มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓
    การนับทั้งสอง นอกนี้ก็ดี นิสสยวารก็ดี พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 เมษายน 2011
  4. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เรียนปรึกษาคำอ่าน คุณพี่ผ่อนฯ ค่ะ
    ลองสะกดคำ (สีส้ม) ไว้ หากผิด รบกวนกรุณาปรับแก้เป็น (สีเขียว) ด้วยนะคะ พร้อม กราบขอบพระคุณ ณ โอกาสนี้ สาธุธรรมค่ะ


    [​IMG]



    45-001 นกุสลัตติกะ น กุ สะ ลัด ติ กะ<O></O>


    ปัฏฐานปกรณ์(ปัด – ถาน - นะ – ปะ - กอน) ภาค ๖

    ปัจจนียติกปัฏฐาน (ปัด จะ นี ยะ ติ กะ ปัด ถาน)

    นกุสลัตติกะ (นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)<O></O>




    [๑] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย (เหด/เหตุ ปัด จัย) เห ตุ ปัจ จัย<O></O>


    คือ ธรรมที่เป็นอกุศล ธรรมที่เป็นอัพยากฤต อันได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป (จิด ตะ สะ หมุด ถาน นะ รูบ)อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศล ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป รูป (จิด ตะ สะ หมุด ถาน นะ รูบ) อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น<O></O>


    [๗] ธรรมที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศล เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย(อา รัม มะ นะ ปัด จัย)


    [๘] ในเหตุปัจจัย (เห ตุ ปัด จัย) มีวาระ ๒๙

    ในอารัมมณปัจจัย (อา รัม มะ นะ ปัด จัย) มีวาระ ๒๔

    ในอวิคตปัจจัย (อะ วิ คะ ตะ ปัด จัย) มีวาระ ๒๙

    สหชาตวาร (สะ หะ ชา ตะ วา ระ) ก็ดี ปัจจยวาร (ปัด จะ ยะ วา ระ) ก็ดี นิสสยวาร (นิด สะ ยะ วา ระ) ก็ดี สังสัฏฐวาร (สัง สัด ถะ วา ระ) ก็ดี สัมปยุตตวาร (สัม ปะ ยุด ตะ วา ระ) ก็ดี เหมือนปฏิจจวาร (ปะ ติด จะ วา ระ) <O></O>
    <O></O>


    [๑๐] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล โดยอารัมมณปัจจัย (อา รัม มะ นะ ปัด จัย)


    [๑๑] ธรรมที่ไม่ใช่กุศล เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กุศล โดยอธิปติปัจจัย (อะ ทิ ปะ ติ ปัด จัย) เป็นปัจจัยโดยอนันตรปัจจัย (อะ นัน ตะ ระ ปัด จัย) เป็นปัจจัย โดยสมนันตรปัจจัย (สะ มะ นัน ตะ ระ ปัด จัย) เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย (สะ หะ ชา ตะ ปัด จัย) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (อัน ยะ มัน ยะ ปัด จัย)เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย (นิด สะ ยะ ปัด จัย) เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย (อุ ปะ นิด สะ ยะ ปัด จัย)


    [๑๒] ที่เป็นปัจจัย โดยปุเรชาตปัจจัย (ปุ เร ชา ตะ ปัด จัย) คือ<O></O>

    ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๑๘ (ปัด ฉา ชา ตะ ปัด จัย)<O></O>

    ในอาเสวนปัจจัย มี " ๒๔ (อา เส วะ นะ ปัด จัย)<O></O>

    ในกัมมปัจจัย มี " ๒๙ (กำ มะ ปัด จัย)<O></O>

    ในวิปากปัจจัย มี " ๙ (วิ ปา กะ ปัด จัย)<O></O>

    ในอาหารปัจจัย มี " ๒๙ (อา หา ระ ปัด จัย)<O></O>

    ในอวิคตปัจจัย มี " ๓๔ (อะ วิ คะ ตะ ปัด จัย)<O></O>


    อนุโลม (อะ นุ โลม) ก็ดี ปัจจนียะ (ปัด จะ นี ยะ)ก็ดี อนุโลมปัจจนียะ (อะ ยุ โล มะ ปัด จะ นี ยะ) ก็ดี ปัจจนียานุโลม (ปัด จะ นี ยา นุ โลม) ก็ดี แห่งปัญหาวารในกุสลัตติกะ (ปัน หา วา ระ ใน กุด สะ ลัด ติ กะ)ท่านนับไว้ กุ สะ ลัด ติ กะ <O></O>


     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 เมษายน 2011
  5. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    45-002 นวิปากัตติกะ

    นเวทนาตติกะ (นะ เว ทะ นา ตะ ติ กะ)


    [๑๔] ธรรมที่ไม่ใช่ธรรมอันสัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมอันสัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย <O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่ธรรมอันสัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมอันสัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่ธรรมอันสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา (อะ ทุก ขะ มะ สุก ขะ เว ทะ นา) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ธรรมอันสัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    <O></O>

    นวิปากัตติกะ (นะ วิ ปา กัด ติ กะ)

    <O></O>
    [๑๕] ธรรมที่ไม่ใช่วิปากธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่วิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่วิปากธัมมธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่วิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม (เน วะ วิ ปา กะ นะ วิ ปา กะ ทำ มะ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย นอุปาทินนุปาทานิยัตติกะ (นะ อุ ปา ทิน นุ ปา ทา นิ ยัด ติ กะ)<O></O>


    [๑๖] ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทินนุปาทานิยธรรม (อุ ปา ทิน นุ ปา ทา นิ ยะ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย


    นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกัตติกะ (นะ สัง กิ ลิด ถะ สัง กิ เล สิ กัด ติ กะ)


    [๑๗] ธรรมที่ไม่ใช่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม (สัง กิ ลิด ถะ สัง กิ เล สิ กะ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    <O></O>


    นวิตักกัตติกะ (นะ วิ ตัก กัด ติ กะ)


    [๑๘] ธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกสวิจารธรรม (สะ วิ ตัก กะ สะ วิ จา ระ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สวิตกสวิจารธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกวิจารมัตตธรรม (อะ วิ จัก กะ วิ จา ระ มัด ตะ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อวิตกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกอวิจารธรรม (อะ วิ ตัก กะ อะ วิ จา ระ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อวิตกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>


    นปีติตติกะ (นะ ปิ ติ ตะ ติ ยะ) นะ ปี ติ ตะ ติ กะ<O></O>


    [๑๙] ธรรมที่ไม่ใช่ปีติสหคตธรรม (ปิ ติ สะ หะ คะ ตะ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม (สุ ขะ สะ หะ คะ ตะ ทำ) ฯลฯ (และอื่นๆ ??) <ใช่<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม (อุ เบก ขา สะ หะ คะ ตะ ทำ) ฯลฯ

    <O></O>

    นทัสสนัตติกะ (นะ ทัด สะ นัด ติ กะ)<O></O>


    [๒๐] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม (ทัด สะ เน นะ ปะ หา ตับ พะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม (พา วะ นา ยะ ปะ หา ตับ พะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม (เน วะ ทัด สะ เนน นะ ภา วะ นา ยะ ปะ หา ตับ พะ ทำ) ฯลฯ
    <O></O>

    นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกัตติกะ (นะ ทัด สะ เน นะ ปะ หา ตับ พะ เต ตุ กัด ติ กะ)<O></O>


    [๒๑] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม (ทัด สะ เน นะ ปะ หา ตับ พะ เห ตุ กะ ทำ)ฯลฯ
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม (พา วะ นา ยะ ปา หา ตับ พะ เห ตุ กะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม (เน วะ ทัด สะ เนน นะ พา วะ นา ยะ ปะ หา ตับ พะ เห ตุ กะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    นอาจยคามิตติกะ (นะ อา จะ ยะ คา มิด ติ กะ)<O></O>

    [๒๒] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อาจยคามิธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อปจยคามิธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม (เน วา จะ ยะ คา มิ นา ปะ จะ ยะ คา มิ ทำ)ฯลฯ<O></O>

    นเสกขัตติกะ ( นะ เสก ขัด ติ กะ)<O></O>

    [๒๓] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เสกขธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อเสกขธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ<O></O>

    นปริตัตติกะ

    [๒๔] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม (ปะ ริด ตะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม ฯลฯ<O></O>

    นปริตตารัมมณัตติกะ<O></O>​

    [๒๕] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ<O></O>


    นหีนัตติกกะ (นะ หี นัด ติก/ติกะ กะ) นะ ฮี นัด ติก กะ อาจารย์สอนไวยากรณ์บาลีเคยสอนว่า หี ตัวนี้ ให้ออกเสียง ฮี เป็นอันเข้าใจกันในหมู่นักเรียนบาลี<O></O>

    [๒๖] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่หีนธรรม ฯลฯ
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มัชฌิมธรรม (มัด ชิม มะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปณีตธรรม (ปะ นี ตะ ทำ) ฯลฯ<O></O>


    นมิจฉัตตัตติกะ (นะ มิด/มิ จะ ฉัด ตัด ติ กะ)<O></O>

    [๒๗] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม (มิด/มิ จะ ฉัด ตะ นิ ยะ ทำ) ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อนิยตธรรม ฯลฯ

    นมัคคารัมมณัตติกะ<O></O>​

    [๒๘] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มัคคารัมมณธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มัคคเหตุกธรรม ฯลฯ
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่มัคคาธิปติธรรม (มัก คา ทิ ปะ ติ ทำ) ฯลฯ


    เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๕บรรทัดที่ ๑๑๙ - ๒๐๕.หน้าที่๕ - ๙




    [​IMG]

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 6 เมษายน 2011
  6. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>ปัจจนียานุโลมทุกัตติกปัฏฐาน ปัด จะ นี ยา นุ โลม มะ ทุ กัด ติ กะ ปัด ถาน

    </CENTER><CENTER>นเหตุทุกนกุสลัตติกเหตุทุกกุสลัตติกะ นะ เห ตุ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ เห ตุ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๑๗๒] กุศลธรรมที่เป็นเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    กุศลธรรมที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย
    กุศลธรรมที่เป็นเหตุธรรม และกุศลธรรมที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็น
    นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๗๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๑๗๔] อกุศลธรรมที่เป็นเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศล ที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๑๗๕] อัพยากตธรรม อับ พะ ยา กะ ตะ ทำ ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่เป็นนเหตุ-
    *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อัพยากตธรรมที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อัพยากตธรรมที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรมที่เป็นนเหตุธรรม และ
    ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๗๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓


    <CENTER>นสเหตุกทุกนกุสลัตติกสเหตุกทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๑๗๗] กุศลธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๗๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๑๗๙] อกุศลธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศล ที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๑๘๐] อัพยากตที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่ไม่ใช่สเหตุก-
    *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อัพยากตธรรมที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่ไม่ใช่อเหตุกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    อัพยากตธรรมที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม
    และธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่ไม่ใช่อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๘๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓


    <CENTER>นเหตุสัมปยุตตทุกนกุสลัตติกเหตุสัมปยุตตทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๑๘๒] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่เหตุสัมปยุตตธรรม ฯลฯ


    <CENTER>นเหตุสเหตุกทุกนกุสลัตติกเหตุสเหตุกทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๑๘๓] ธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นนเหตุธรรม และไม่ใช่อเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศล-
    *ธรรมที่เป็นทั้งเหตุและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ที่เป็นทั้งเหตุและสเหตุกธรรม และกุศลธรรมที่เป็น
    สเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
    ธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่อเหตุกธรรม และไม่ใช่นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่
    เป็นทั้งเหตุและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
    ธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นนเหตุธรรม แต่ไม่ใช่อเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่
    อเหตุกธรรม และไม่ใช่นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่เป็นทั้งเหตุและสเหตุกธรรม โดย
    อารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย
    ในปัจจัยทั้งปวง มีหัวข้อปัจจัย ๙
    [๑๘๔] ธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่เป็นนเหตุธรรม แต่ไม่ใช่อเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศล-
    *ธรรมที่เป็นทั้งเหตุและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ มีหัวข้อปัจจัย ๙
    [๑๘๕] ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรมที่เป็นนเหตุธรรม แต่ไม่ใช่อเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
    แก่อัพยากตธรรมที่เป็นทั้งเหตุและสเหตุกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ มี ๓ นัย มีหัวปัจจัย ๙


    <CENTER>นเหตุเหตุสัมปยุตตทุกนกุสลัตติกเหตุเหตุสัมปยุตตทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๑๘๖] ธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นเหตุธรรม แต่ไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
    กุศลธรรมที่เป็นทั้งเหตุและเหตุสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙
    [๑๘๗] ธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่เป็นนเหตุธรรม แต่ไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัย
    แก่อกุศลธรรมที่เป็นทั้งเหตุและเหตุสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๙
    [๑๘๘] ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรมที่เป็นนเหตุธรรม แต่ไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม เป็น
    ปัจจัยแก่อัพยากตธรรม ที่เป็นทั้งเหตุและเหตุสัมปยุตตธรรม โดยอารัมมณปัจจัย พึงกระทำ
    หัวข้อปัจจัย ๙


    <CENTER>นเหตุนสเหตุกทุกนกุสลัตติกนเหตุสเหตุกทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๑๘๙] กุศลธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นนเหตุธรรม
    แต่ไม่ใช่สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๑๙๑] อกุศลธรรมที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่เป็นนเหตุธรรม
    แต่ไม่ใช่สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๙๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๑๙๓] อัพยากตธรรมที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรมที่ไม่ใช่
    นเหตุธรรม และไม่ใช่อเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๙๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑


    <CENTER>นสัปปัจจยทุกนกุสลัตติกสัปปัจจยทุกกุสลัตติกะ นะ สับ ปัด จะ ยะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ สับ ปัด จะ ยะ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๑๙๕] กุศลธรรมที่เป็นสัปปัจจยธรรม สับ ปัด จะ ยะ ทำ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๙๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๑๙๗] อกุศลธรรมที่เป็นสัปปัจจยธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศล ที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๑๙๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๑๙๙] อัพยากตธรรมที่เป็นสัปปัจจยธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม ที่ไม่ใช่
    อัปปัจจยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๐๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑


    <CENTER>นสังขตทุกนกุสลัตติกสังขตทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>] ธรรมที่ไม่ใช่อสังขตธรรม ฯลฯ

    อนุโมทนาจ้ะ


    <CENTER></CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 เมษายน 2011
  7. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>สัญโญชนโคจฉกทุกนกุสลัตติกสัญโญชนโคจฉกทุกกุสลัตติกะ สัน โย ชะ นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ สัน โย ชะ นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๕๑] อกุศลธรรมที่เป็นสัญโญชนธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่สัญโญชน-
    *เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๕๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>คันถโคจฉกทุกนกุสลัตติกคันถโคจฉกทุกกุสลัตติกะ คัน ถะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สุ ลัด ติ กะ คัน ถะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กุ สุ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๕๓] อกุศลธรรมที่เป็นคันถธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่คันถธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๕๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>โอฆโคจฉกทุกนกุสลัตติกโอฆโคจฉกทุกกุสลัตติกะ โอ คะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ น กุ สะ ลัด ติ กะ โอ คะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๕๕] อกุศลธรรมที่เป็นโอฆธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่โอฆธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย





    <CENTER>โยคโคจฉกทุกนกุสลัตติกโยคโคจฉกทุกกุสลัตติกะ โย คะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สุ ลัด ติ กะ โย คะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กุ สุ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๕๖] อกุศลธรรมที่เป็นโยคธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่โยคธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๕๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นีวรณโคจฉกทุกนกุสลัตติกนีวรณโคจฉกทุกกุสลัตติกะ นี วอ ระ นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ นี วอ ระ นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๕๘] อกุศลธรรมที่เป็นนีวรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย





    <CENTER>ปรามาสโคจฉกทุกนกุสลัตติกปรามาสโคจฉกทุกกุสลัตติกะ ออกเสียงกล้ำร.เรือ>ปรา มา สะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ ปรา มา สะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๕๙] อกุศลธรรมที่เป็นปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๖๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นสารัมมณทุกนกุสลัตติกสารัมมณทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๖๑] กุศลธรรมที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่สารัมมณธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๖๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๒๖๓] อกุศลธรรมที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่สารัมมณธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๖๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๒๖๕] อัพยากตธรรมที่เป็นอนารัมมณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรมที่ไม่ใช่-
    *อนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๖๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑





    <CENTER>นจิตตทุกนกุสลัตติกจิตตทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๖๗] กุศลธรรมที่เป็นจิตตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่จิตตธรรม เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๖๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    ในธรรมที่ไม่ใช่อกุศล มี " ๓ นัย
    ในธรรมที่ไม่ใช่อัพยากตธรรม มี " ๓ นัย





    <CENTER>ฯลฯ




    </CENTER><CENTER>นเจตสิกทุกนกุสลัตติกเจตสิกทุกกุสลัตติกะ นะ เจ ตะ สิ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ เจ ตะ สิ กะ ทุ กะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    </CENTER>[๒๖๙] กุศลธรรมที่เป็นเจตสิกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่เจตสิกธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๗๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตสัมปยุตตทุกนกุสลัตติกจิตตสัมปยุตตทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๗๑] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่จิตตสัมป-
    *ยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๗๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตสังสัฏฐทุกนกุสลัตติกจิตตสังสัฏฐทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๗๓] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสังสัฏฐธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-
    *ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๗๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตสมุฏฐานทุกนกุสลัตติกจิตตสมุฏฐานทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๗๕] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-
    *ฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๗๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตสหภูทุกนกุสลัตติกจิตตสหภูทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๗๗] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๗๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตานุปริวัตติทุกนกุสลัตติกจิตตานุปริวัตติทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๗๙] กุศลธรรมที่เป็นจิตตานุปริวัตติธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่จิตตานุปริ-
    *วัตติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย





    <CENTER>นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกนกุสลัตติกะ




    </CENTER><CENTER>จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๘๐] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่-
    *จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๘๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกนกุสลัตติกะ




    </CENTER><CENTER>จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๘๒] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล
    ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๘๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓





    <CENTER>นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกนกุสลัตติกะ




    </CENTER><CENTER>จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกกุสลัตติกะ
    </CENTER>[๒๘๔] กุศลธรรมที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล
    ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๒๘๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓


    อนุโมทนาจ้ะ



    <CENTER></CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 เมษายน 2011
  8. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    มาถามคำยาก เพื่อ การอ่านง่าย :) ขอบพระคุณค่ะ

    [​IMG]

    ลองอ่านเป็น สีส้ม รบกวนแก้เป็น สีเขียว
    ขอบพระุคุณค่ะ




    ปัจจนียทุกปัฏฐาน
    45-004 นเหตุทุกะ นสเหตุกทุกะ

    ปัจจนียทุกปัฏฐาน (ปัด จะ นี ยะ ทุ กะ ปัด ถาน)

    นเหตุทุกะ

    [๔๑] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เหตุ เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป (จิด ตะ สะ มุด ถานะ รูบ) อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่เหตุเกิดขึ้น
    อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงมหาภูตรูป


    นสเหตุกทุกะ

    [๔๖] ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา สหรคตด้วยอยุทธัจจะ (อะ ยุด ทัด จะ) เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น

    <O></O>

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>

    <O></O>

    45-006 นสัปปปัจจยทุกะ

    นเกนจิวิญเญยยทุกะ (นะ เกน/เก นะ จิ วิน เยย ยะ ทุก กะ)

    [๗๘] ธรรมที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
    <O>


    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>



    45-007 นอาสวทุกะ

    [๙๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕

    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๒

    ในอวิคตปัจจัย (อะ วิ คะ คะ ตะ ปัด จัย) มี " ๕

    พึงให้พิสดารทุกวาร
    <O></O>


    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>


    45-010 นโอฆโยคนีวรณโคจฉกทุกะ

    นโอฆโยคนีวรณโคจฉกทุกะ(นะ โอ ค่ะ โย คะ นี วะ ระ นะ โค จะ ฉะ ทุ กะ)
    อันนี้ถูก >(นะ โอ คะ โย คะ นี ระ นะ โคฉะ กะ ทุ กะ)

    [๑๑๖] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่โอฆธรรม (โอ ฆะ ทำ) ฯลฯ

    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่โยคธรรม (โย คะ ทำ) ฯลฯ

    หลักจำแนกหัวข้อปัจจัยในโอฆโคจฉกะ และโยคโคจฉกะ เหมือนกับหลักจำแนกหัวข้อปัจจัยในอาสวโคจฉกะ

    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ฯลฯ

    หลักจำแนกหัวข้อปัจจัยในนีวรณโคจฉกะ เหมือนกับหลักจำแนกหัวข้อปัจจัยในสัญโญชนโคจฉกะ


    โนปรามาสโคจฉกทุกะ (โน ปรา มา สะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ) ปรา อ่านควบกร้ำ ร.เรือ

    [๑๑๗] ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

    ธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ปรามาสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
    <O></O><O>

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙
    <O></O>


    ปัจจนียทุกติกปัฏฐาน


    ปัจจนียทุกติกปัฏฐาน (ปัด จะ นี ยะ ทุ กะ ติ กะ ปัด ภาน)

    นเหตุทุกนกุสลัตติกะ (นะ เห ตุ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)

    [๑๙๒] ธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นเหตุธรรม (เห ตุ ทำ) อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่เป็นนเหตุธรรม (นะ เห ตุ ทำ) เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

    คือ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป (จิด ตะ สะ หมุด ถาน นะ รูบ) อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและอัพยากฤตที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น<O></O>



    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>


    45-015นเหตุทุกนเวทนาตติกะ (นะ เห ตุ ทุ กะ นะ เว ทะ นา ตะ ติ กะ)

    นเหตุทุกนเวทนาตติกะ

    [๒๐๗] ธรรมที่ไม่ใช่สุขายเวทนายสัมปยุตตธรรมที่เป็นนเหตุธรรมอาศัยธรรมที่ไม่ใช่สุขายเวทนายสัมปยุตตธรรมที่เป็นนเหตุธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย<O></O>

    ธรรมที่ไม่ใช่สุขายเวทนายสัมปยุตตธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรมอาศัยธรรมที่ไม่ใช่สุขายเวทนายสัมปยุตตธรรมที่เป็นนเหตุธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

    นเหตุทุกนทัสสเนนปหาตัพพเหตุกัตติกะ ( นะ เห ตุ ทุ กะ นะ ทัด สะ เน นะ ปะ หา ตับ พะ เห ตุ กัด ติ กะ)

    [๒๑๙] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรมฯลฯ

    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรมฯลฯ

    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรมฯลฯ

    <O>

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙





    </O></O></O>[​IMG]


    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 9 เมษายน 2011
  9. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เชิญดาวน์โหลดไฟล์ซิปพระไตรปิฎกเสียงอ่าน เพื่อไปฟัง/ทำแผ่น MP3

    สาธุธรรม
    กราบขอบพระคุณ คุณพี่ผ่อนฯ ค่ะ
    ขอกุศลส่งบุญ เจ้าค่ะ




    [​IMG]





    นเวทนาตติกนวิปากัตติกะ<O></O>

    [๔๐๑] ธรรมที่ไม่ใช่วิปากธรรม (วิ ปาก/ วิ ปา กะ ทำ) ที่ไม่ใช่สุขายเวทนายสัมปยุตตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่วิปากธรรม ที่ไม่ใช่สุขายเวทนายสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O></O>

    <O>
    [๔๐๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔๙<O></O>
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๔๙
    <O></O></O>​

    (ฯฯฯฯ)<O></O>​


    <O>
    นวิปากัตติกนกุสลัตติกะ<O></O></O>​

    [๔๐๓] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่วิปากธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่วิปากธัมมธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ (เน วะ วิ ปา กะ นะ วิ ปาก/วิ ปา กะ ทำ มะ ทำ)<O></O>
    <O>
    </O>​

    นอุปาทินนุปาทานิยติกนกุสลัตติกะ<O></O>​

    [๔๐๔] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ฯลฯ
    <O></O>
    <O></O>​

    นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกัตติกนกุสลัตติกะ (นะ สัง กิ ลิ กุด/ กุ ทะ ส่ง กิ เล สิ กัด ติ กะ นะ กุด/กุ สะ ลัด ติ
    กะ
    นะ สัง กิ ลิด ถะ สัง กิ เล สิ กัด ติ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ<O></O>


    [๔๐๕] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ฯลฯ
    <O></O>
    <O></O>​

    (ฯฯฯฯ)<O></O>​


    <O>
    นมิจฉัตตัตติกนกุสลัตติกะ (นะ มิด/มิ จะ ฉัด ตัด ติก/ติ กะ นะ กุด/ กุ สะ ลัด ติ กะ)<O></O></O>​

    [๔๑๕] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่มิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่สัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อนิยตธรรม ฯลฯ<O></O>
    <O>
    </O>​

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>​




    นอาสวโคจฉกทุกนกุสลัตติกะ (นะ อา สะ วะ โคด/โค จะ ฉะ กะ ทุก/ ทุก กะ นะ กุด/ กุ สะ ลัด ติ กะ)
    นะ อา สะ วะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ <O></O>

    [๒๕๙] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่อาสวธรรม ฯลฯ

    <O></O>


    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>​






    ปิฏฐิทุกนกุสลัตติกะ (ปิด/ปิ ตะ ทิ ทุก/ทุ กะ นะ กุด/กุ สะ ลัด ติ กะ)
    ปิด ถิ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ<O></O>

    [๒๖๔] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศล ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
    <O></O>


    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>​


    ปัจจนียติกทุกปัฏฐาน
    45-021นกุสลัตติกนเหตุทุกะ

    ปัจจนียติกทุกปัฏฐาน (ปัด จะ นี ยะ ติก/ติ กะทุก/ ทุ กะ ปัด ถาน)<O></O>​

    นกุสลัตติกนเหตุทุกะ
    [๒๘๐] นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยนเหตุธรรม ที่ไม่ใช่กุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย





    [​IMG]



    เชิญดาวน์โหลดไฟล์ซิปพระไตรปิฎกเสียงอ่าน เพื่อไปฟัง/ทำแผ่น MP3

    คลิ้ก<!-- google_ad_section_end --><O></O>

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 9 เมษายน 2011
  10. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>กุสลัตติกสวิตักกัตติกนกุสลัตติกนสวิตักกัตติกะ
    </CENTER>[๗๔๙] ธรรมที่ไม่ใช่สวิตักกสวิจารธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยสวิตักกสวิจารธรรมที่เป็น
    กุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๕๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓
    ในกุศล มี " ๕
    ในอกุศล มี " ๕
    ในอัพยากฤต มี " ๓
    [๗๕๑] ธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
    ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๕๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓
    [๗๕๓] ธรรมที่ไม่ใช่อวิตักกอวิจารธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม ที่เป็น
    กุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๗๕๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๖



    <CENTER>กุสลัตติกปีติตติกนกุสลัตติกนปีติตติกะ
    </CENTER>[๗๕๕] ธรรมที่ไม่ใช่ปีติสหคตธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยปีติสหคตธรรม ที่เป็นกุศล
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
    [๗๕๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓
    [๗๕๗] ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยสุขสหคตธรรม ที่เป็นกุศล
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
    [๗๕๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓
    [๗๕๙] ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม ที่
    เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๕ นัย
    [๗๖๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑๓



    <CENTER>กุสลัตติกทัสสนัตติกนกุสลัตตินนทัสสนัตติกะ
    </CENTER>[๗๖๑] ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
    *ธรรม ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๖๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๖๓] ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม
    ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๖๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๖๕] ธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัย
    เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๖๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓



    <CENTER>กุสลัตติกทัสสเนนปหาตัพพเหตุกัตติกะ


    </CENTER><CENTER>นกุสลัตติกนทัสสเนนปหาตัพพเหตุกัตติกะ
    </CENTER>[๗๖๗] ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยทัสสเนนปหา-
    *ตัพพเหตุกธรรม ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๖๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๖๙] ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่อกุศล อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
    *เหตุกธรรม ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๗๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๗๑] ธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัย
    เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เป็นอกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๗๒] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๗๓] ธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่อัพยากฤต
    อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๗๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓



    <CENTER>กุสลัตติกอาจยคามิตติกนกุสลัตติกนอาจยคามิตติกะ กุ สะ ลัด ติ กะ อา จะ ยะ คา มิ ตะ ติ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ นะ อา จะ ยะ คา มิ ตะ ติ กะ
    </CENTER>[๗๗๕] ธรรมที่ไม่ใช่อาจยคามิธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอาจยคามิธรรม ที่เป็นกุศล
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๗๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๖
    [๗๗๗] ธรรมที่ไม่ใช่อปจยคามิธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอปจยคามิธรรม ที่เป็นกุศล
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๗๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๗๙] ธรรมที่ไม่ใช่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยเนวาจย-
    *คามินาปจยคามิธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๘๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕



    <CENTER>กุสลัตติกเสกขัตติกนกุสลัตติกนเสกขัตติกะ
    </CENTER>[๗๘๑] ธรรมที่ไม่ใช่เสกขธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยเสกขธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย มูล ๒ มี ๖ นัย
    [๗๘๒] ธรรมที่ไม่ใช่อเสกขธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอเสกขธรรมที่เป็นอัพยากฤต
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๘๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๘๔] ธรรมที่ไม่ใช่เนวเสกขานาเสกขธรรม เน วะ เสก ขา นา เสก ขะ ทำ ที่ไม่ใช่อัพยากฤต อาศัยเนวเสกขานา-
    *เสกขธรรม ที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๘๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๕



    <CENTER>กุสลัตติกปริตตัตติกนกุสลัตติกนปริตตัตติกะ
    </CENTER>[๗๘๖] ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยปริตตธรรมที่เป็นอัพยากฤต เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๘๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๗๘๘] ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยมหัคคตธรรมที่เป็นกุศล เกิดขึ้น
    เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๘๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๖
    [๗๙๐] ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอัปปมาณธรรม ที่เป็นกุศล
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๙๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๖



    <CENTER>กุสลัตติกปริตตารัมมณัตติกนกุสลัตติกนปริตตารัมมณัตติกะ
    </CENTER>[๗๙๒] ธรรมที่ไม่ใช่ปริตตารัมมณธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยปริตตารัมมณธรรม ที่
    เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๙๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
    [๗๙๔] ธรรมที่ไม่ใช่มหัคคตารัมมณธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยมหัคคตารัมมณธรรม
    ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๙๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
    [๗๙๖] ธรรมที่ไม่ใช่อัปปมาณารัมมณธรรม ที่ไม่ใช่กุศล อาศัยอัปปมาณารัมมณธรรม
    ที่เป็นกุศล เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๗๙๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๖



    <CENTER></CENTER>อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 10 เมษายน 2011
  11. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER><CENTER>อนุโลมปัจจนียติกัตติกปัฏฐาน อะ นุ โลม มะ ปัด จะ นี ยะ ติ กัด ติ กะ ปัด ถาน

    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>
    </CENTER>

    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>อนุโลมปัจจนียทุกทุกปัฏฐาน อะ นุ โลม มะ ปัด จะ นี ยะ ทุ กะ ทุ กะ ปัด ถาน</CENTER><CENTER>


    </CENTER><CENTER>เหตุทุกสเหตุกทุกนเหตุทุกนสเหตุกทุกะ เห ตุ ทุ กะ สะ เห ตุ กะ ทุ กะ นะ เห ตุ กะ ทุ กะ นะ สะ เห ตุ กะ ทุ กะ
    </CENTER>[๘๙๘] ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยสเหตุกธรรมที่เป็นเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยสเหตุกธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยสเหตุธรรม และสเหตุกธรรม ที่เป็น
    นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๘๙๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๑
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๕
    [๙๐๐] ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยสเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุ-
    *ธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๐๑] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๓
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๓



    <CENTER>สหชาตวารก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาร
    </CENTER>[๙๐๒] สเหตุกธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็น
    นเหตุธรรม โดยเหตุปัจจัย
    [๙๐๓] สเหตุกธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็น
    นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    สเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุ-
    *ธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    สเหตุกธรรมที่เป็นเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม
    และธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    สเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย
    สเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย
    สเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม
    และธรรมที่ไม่ใช่สเหตุกธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    [๙๐๔] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๒
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๕



    <CENTER>ปัญหาวารพึงให้พิสดาร
    </CENTER>[๙๐๕] ธรรมที่ไม่ใช่อเหตุธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยอเหตุกธรรม ที่เป็นเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่อเหตุกธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยอเหตุกธรรมที่เป็นนเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๙๐๖] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔



    <CENTER>เหตุทุกเหตุสัมปยุตตทุกนเหตุทุกนเหตุสัมปยุตตทุกะ
    </CENTER>[๙๐๗] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุสัมปยุตตธรรมที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยเหตุสัมปยุตตธรรม
    ที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย



    <CENTER>เหมือนกับสเหตุกะ
    </CENTER>[๙๐๘] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยเหตุวิปปยุตตธรรม
    ที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยเหตุวิปปยุตตธรรมที่เป็น
    นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย
    [๙๐๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๔



    <CENTER>เหตุทุกเหตุสเหตุกทุกนเหตุทุกนเหตุสเหตุกทุกะ เห ตุ ทุ กะ เห ตุ สะ เห ตุ กะ ทุ กะ นะ เห ตุ ทุ กะ นะ เห ตุ สะ เห ตุ สะ กะ ทุ กะ
    </CENTER>[๙๑๐] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่อเหตุกธรรมที่เป็นเหตุธรรม อาศัยธรรม
    ที่เป็นเหตุธรรม และสเหตุกธรรมที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๑๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๙๑๒] ธรรมที่ไม่ใช่อเหตุกธรรม และไม่ใช่นเหตุธรรมที่เป็นธรรมที่ไม่ใช่นเหตุธรรม
    อาศัยธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๑๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑



    <CENTER>เหตุทุกเหตุเหตุสัมปยุตตทุกนเหตุทุกนเหตุเหตุสัมปยุตตทุกะ
    </CENTER>[๙๑๔] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัย
    ธรรมที่เป็นเหตุธรรม และเหตุสัมปยุตตธรรม ที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๑๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๙๑๖] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุวิปปยุตตธรรม และไม่ใช่นเหตุธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม
    อาศัยธรรมที่เป็นเหตุสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่เหตุธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะ
    เหตุปัจจัย
    [๙๑๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑



    <CENTER>เหตุทุกนเหตุสเหตุกทุกนเหตุทุกนเหตุนสเหตุกทุกะ
    </CENTER>[๙๑๘] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่สเหตุกธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรม
    ที่ไม่ใช่เหตุธรรม แต่เป็นสเหตุกธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๑๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๙๒๐] ธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม และไม่ใช่อเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่เหตุธรรม อาศัยธรรม
    ที่ไม่ใช่เหตุธรรม แต่เป็นอเหตุธรรมที่ไม่ใช่เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๒๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑



    <CENTER>เหตุทุกสัปปัจจยทุกนเหตุทุกนสัปปัจจยทุกะ
    </CENTER>[๙๒๒] อัปปัจจยธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม
    ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
    เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม ที่ไม่ใช่เหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย.
    เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจย-
    *ธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
    [๙๒๓] ในอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓
    อสังขตธรรม ก็เหมือนกับอัปปัจจยธรรม ฯลฯ



    <CENTER>เหตุทุกสนิทัสสนทุกนเหตุทุกนสนิทัสสนทุกะ
    </CENTER>[๙๒๔] สนิทัสสนธรรมที่เป็นนเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สนิทัสสนธรรม
    ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สนิทัสสนธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สนิทัสสนธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    สนิทัสสนธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    [๙๒๕] ในอารัมมณปัจจัย มีวาระ ๓
    [๙๒๖] ธรรมที่ไม่ใช่อนิทัสสนธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยอนิทัสสนธรรมที่เป็น
    เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๒๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓



    <CENTER>เหตุทุกสัปปฏิฆทุกนเหตุทุกนสัปปฏิฆทุกะ
    </CENTER>[๙๒๘] ธรรมที่ไม่ใช่สัปปฏิฆธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรมที่เป็น
    นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๒๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๑
    [๙๓๐] ธรรมที่ไม่ใช่อัปปฏิฆธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรมที่เป็นเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๓๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓



    <CENTER>เหตุทุกรูปีทุกนเหตุทุกนรูปีทุกะ
    </CENTER>[๙๓๒] ธรรมที่ไม่ใช่รูปีธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยรูปีธรรมที่เป็นนเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๓๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๙๓๔] ธรรมที่ไม่ใช่อรูปีธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยอรูปีธรรมที่เป็นเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๓๕] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓



    <CENTER>เหตุทุกโลกิยทุกนเหตุทุกนโลกิยทุกะ
    </CENTER>[๙๓๖] ธรรมที่ไม่ใช่โลกิยธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยโลกิยธรรมที่เป็นนเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๓๗] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๙๓๘] ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยโลกุตตรธรรมที่เป็น
    เหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๓๙] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓



    <CENTER>เหตุทุกเกนจิวิญเญยยทุกนเหตุทุกนเกนจิวิญเญยยทุกะ
    </CENTER>[๙๔๐] ธรรมที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม
    ที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๔๑] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙
    [๙๔๒] ธรรมที่ไม่ใช่เกนจิวิญเญยยธรรม ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยเกนจิวิญเญยยธรรม
    ที่เป็นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๔๓] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๙

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 11 เมษายน 2011
  12. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]






    นเหตุนสเหตุกทุกนกุสลัตติกะ
    (นะ เห ตุ นะ สะ เห ตุ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ) กุ ไม่มีด.เด็ก
    <O></O>


    [๒๕๗] ธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่เหตุธรรมและไม่ใช่สเหตุกธรรมอาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่เหตุธรรมและไม่ใช่สเหตุกธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยมี นัย
    <O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่เหตุธรรมและที่ไม่ใช่สเหตุกธรรมอาศัยธรรมที่ไม่ใช่อกุศลที่ไม่ใช่เหตุธรรมและไม่ใช่สเหตุกธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยมี นัย
    <O></O>
    ธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤตที่ไม่ใช่เหตุธรรมและไม่ใช่อเหตุกธรรมอาศัยธรรมที่ไม่ใช่อัพยากฤตที่ไม่ใช่เหตุธรรมและไม่ใช่อเหตุกธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยมีนัยเท่านั้น
    <O></O>
    โดยอุบายนี้กุสลากุสลทุกะกุสลัตติกะนั่นเทียวควรในที่นี้
    <O></O>
    <O>
    </O>

    จูฬันตรทุกนกุสลัตติกะ
    (จู ลัน ตะ ระ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)
    <O></O>


    [๒๕๘] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่อัปปัจจัยธรรมฯลฯ
    <O></O>
    <O></O>​

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙<O></O>




    นอาสวโคจฉกทุกนกุสลัตติกะ
    (นะ อา สะ วะ โค จะ ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)
    (นะ อา สะ วะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)....


    [๒๕๙] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่อาสวธรรมฯลฯ<O></O>


    ฉโคจฉกทุกนกุสลัตติก
    (ฉะ โค จะ ฉะ กำ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)
    ฉะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    <O></O>


    [๒๖๐] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรมฯลฯ (สัน โย ชะ นะ ทำ)<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรมฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่คันถธรรมฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่โอฆธรรมฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่โยคธรรมฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่นีวรณธรรมฯลฯ<O></O>
    อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่ปรามาสธรรมฯลฯ (ปรา/ปะรา มาด สะ ทำ) ปรา มาด สะ ทำ .......ปรา อ่านออกเสียงควบกล้ำร.เรือ
    <O></O>
    <O></O>


    นอุปาทานโคจฉทุกนกุสลัตติกะ
    (นะ อุ ปา ทา นะ โค จะ ฉะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)
    นะ อุ ปา ทา นะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ

    หนังสือตก .ไก่

    <O></O>​


    [๒๖๒] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมฯลฯ<O></O>
    <O></O>


    นกิเลสโคจฉทุกนกุสลัตติกะ
    (นะ กิ เล สะ โค จะ ฉะ ทุ กะ นะ กุ ส ะลัด ติ กะ)

    นะ กิ เล สะ โคด ฉะ กะ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ
    <O></O>


    [๒๖๓] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่กิเลสธรรมฯลฯ
    <O></O>
    <O></O>

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙




    ปิฏฐิทุกนกสลัตติกะ
    (ปิ ตะ ทิ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ)
    ปิด ถิ ทุ กะ นะ กุ สะ ลัด ติ กะ<O></O>


    [๒๖๔] อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมฯลฯ<O></O>

    <O>
    </O>

    ๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙๙






    [​IMG]



    เชิญดาวน์โหลดไฟล์ซิปพระไตรปิฎกเสียงอ่าน เพื่อไปฟัง/ทำแผ่น MP3





    [​IMG]
    .
    .
    .
    .
    อนุโมทนาจ้ะ



    <O></O>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 11 เมษายน 2011
  13. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>เหตุทุกเจตสิกทุกนเหตุทุกนเจตสิกทุกะ เห ตุ ทุ กะ เจ ตะ สิ กะ ทุ กะ นะ เห ตุ ทุ กะ นะ เจ ตะ สิ กะ ทุ กะ
    </CENTER>[๙๘๗] ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิกธรรม เจ ตะ สิ กะ ทำ ที่เป็นนเหตุธรรม อาศัยเจตสิกธรรมที่เป็นเหตุธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๘๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓
    [๙๘๙] ธรรมที่ไม่ใช่อเจตสิกธรรม ที่ไม่ใช่นเหตุธรรม อาศัยอเจตสิกธรรมที่เป็น
    นเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
    [๙๙๐] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๓

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 11 เมษายน 2011
  14. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    มาถึงหัวข้อสุดท้ายของเล่มนี้แล้วค่ะพี่ผ่อน พี่ผ่อนสู้ๆๆ



    สรณทุกจูฬันตรทุกนสรณทุกจูฬันตรทุกะ สะ ระ นะ ทุ กะ จู ลัน ตะ ระ ทุ กะ นะ สะ ระ นะ ทุ กะ จู ลัน ตะ ระ ทุ กะ


    </PRE>

    [๑๑๖๗]อัปปัจจยธรรมที่เป็นอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อัปปัจจยธรรม

    อนุโมทนาจ้ะ


    </PRE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 12 เมษายน 2011
  15. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>เอกกนิทเทส เอก กะ นิด เทด
    </CENTER>[๑๗] บุคคลผู้พ้นแล้วในสมัย เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกต้องวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย ในกาลโดยกาล
    ในสมัยโดยสมัย แล้วสำเร็จอิริยาบถอยู่ อนึ่ง อาสวะบางอย่างของบุคคลนั้น
    หมดสิ้นแล้วเพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้เรียกว่า ผู้พ้นแล้วในสมัย
    [๑๘] บุคคลผู้มิใช่พ้นแล้วในสมัย เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ มิได้ถูกต้องวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย ในกาลโดยกาล
    ในสมัยโดยสมัย สำเร็จอิริยาบถอยู่ อนึ่ง อาสวะทั้งหลายของบุคคลนั้น หมด
    สิ้นแล้วเพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้เรียกว่าผู้มิใช่พ้นแล้วในสมัย พระอริย-
    *บุคคลแม้ทั้งปวง ชื่อว่าผู้มิใช่พ้นแล้วในสมัย ในวิโมกข์ ส่วนที่เป็นอริยะ
    [๑๙] บุคคลผู้มีธรรมอันกำเริบ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ได้สมาบัติอันสหรคตด้วยรูปฌาน หรือ
    สหรคตด้วยอรูปฌาน แต่บุคคลนั้น มิใช่เป็นผู้ได้ตามปรารถนา มิใช่เป็นผู้ได้
    โดยไม่ยาก มิใช่เป็นผู้ได้โดยไม่ลำบาก ไม่สามารถจะเข้าหรือออกสมาบัติใด
    ในที่ใด นานเท่าใด ตามปรารถนา ข้อนี้ก็เป็นฐานะอยู่แล ที่สมาบัติเหล่านั้น
    จะพึงกำเริบได้ เพราะอาศัยความประมาทของบุคคลนั้น บุคคลนี้เรียกว่า ผู้มี
    ธรรมอันกำเริบ
    [๒๐] บุคคลผู้มีธรรมอันไม่กำเริบ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ได้สมาบัติอันสหรคตด้วยรูปฌาน หรือ
    สหรคตด้วยอรูปฌาน แต่บุคคลนั้น เป็นผู้ได้ตามต้องการ เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก
    เป็นผู้ได้โดยไม่ลำบาก สามารถจะเข้าหรือออกสมาบัติใดในที่ใด นานเท่าใด
    ได้ตามปรารถนา ข้อนี้ไม่เป็นฐานะไม่เป็นโอกาสที่สมาบัติเหล่านั้นจะพึงกำเริบ
    เพราะอาศัยความประมาทของบุคคลนั้น บุคคลนี้เรียกว่า ผู้มีธรรมอันไม่กำเริบ
    พระอริยบุคคลแม้ทั้งหมดชื่อว่าผู้มีธรรมอันไม่กำเริบ ในวิโมกข์ส่วนที่เป็นอริยะ
    [๒๑] บุคคลผู้มีธรรมอันเสื่อม เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ได้สมาบัติอันสหรคตด้วยรูปฌาน หรือ
    สหรคตด้วยอรูปฌาน แต่บุคคลนั้น มิใช่เป็นผู้ได้ตามต้องการ มิใช่เป็นผู้ได้โดย
    ไม่ยาก มิใช่เป็นผู้ได้โดยไม่ลำบาก ไม่สามารถจะเข้าหรือออกสมาบัติใด ในที่
    ใด นานเท่าใดตามปรารถนา ข้อนี้ก็เป็นฐานะอยู่แล ที่บุคคลนั้น จะพึงเสื่อม
    จากสมาบัติเหล่านั้นได้ เพราะอาศัยความประมาท บุคคลนี้เรียกว่า ผู้มีธรรม
    อันเสื่อม
    [๒๒] บุคคลผู้มีธรรมอันไม่เสื่อม เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ได้สมาบัติอันสหรคตด้วยรูปฌาน หรือ
    สหรคตด้วยอรูปฌาน แต่บุคคลนั้นเป็นผู้ได้ตามต้องการ เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก
    เป็นผู้ได้โดยไม่ลำบาก สามารถจะเข้าหรือออกสมาบัติใด ในที่ใด นานเท่าใด
    ตามปรารถนา ข้อนี้ไม่เป็นฐานะไม่เป็นโอกาสที่บุคคลนั้นจะพึงเสื่อมจากสมาบัติ
    เหล่านั้น เพราะอาศัยความประมาท บุคคลนี้เรียกว่า ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อม
    พระอริยบุคคลแม้ทั้งปวงเป็นผู้มีธรรมอันไม่เสื่อมในวิโมกข์ส่วนที่เป็นอริยะ
    [๒๓] บุคคลผู้ควรโดยเจตนา เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ได้สมาบัติอันสรหคตด้วยรูปฌาน หรือ
    สหรคตด้วยอรูปฌาน แต่บุคคลนั้นมิใช่เป็นผู้ได้ตามต้องการ มิใช่ได้โดยไม่ยาก
    มิใช่เป็นผู้ได้โดยไม่ลำบาก ไม่สามารถจะเข้าหรือออกสมาบัติใด ในที่ใด นาน
    เท่าใดได้ตามปรารถนา หากว่าคอยใส่ใจอยู่ ย่อมไม่เสื่อมจากสมาบัติเหล่านั้น
    หากไม่เอาใจใส่ก็เสื่อมจากสมาบัติเหล่านั้น บุคคลนี้เรียกว่า ผู้ควรโดยเจตนา
    [๒๔] บุคคลผู้ควรโดยการตามรักษา เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ได้สมาบัติอันสรหคตด้วยรูปฌาน หรือ
    สรหคตด้วยอรูปฌาน และบุคคลนั้นแลมิใช่เป็นผู้ได้ตามต้องการ มิใช่เป็นผู้ได้
    โดยไม่ยาก มิใช่เป็นผู้ได้โดยไม่ลำบาก ไม่สามารถจะเข้าหรือออกสมาบัติใด
    ในที่ใด นานเท่าใดได้ตามปรารถนา หากว่าคอยรักษาอยู่ ย่อมไม่เสื่อมจาก
    สมาบัติเหล่านั้น หากว่าไม่คอยรักษาก็เสื่อมจากสมาบัติเหล่านั้น บุคคลนี้เรียกว่า
    ผู้ควรโดยการตามรักษา
    [๒๕] บุคคลที่เป็นปุถุชน เป็นไฉน
    สัญโญชน์ ๓ อันบุคคลใดละไม่ได้ ทั้งไม่ปฏิบัติเพื่อละธรรมเหล่านั้น
    บุคคลนี้เรียกว่า ปุถุชน
    [๒๖] โคตรภูบุคคล เป็นไฉน
    ความย่างลงสู่อริยธรรมในลำดับแห่งธรรมเหล่าใด บุคคลผู้ประกอบ
    ด้วยธรรมเหล่านั้น นี้เรียกว่า โคตรภูบุคคล
    [๒๗] บุคคลผู้งดเว้นเพราะกลัว เป็นไฉน
    พระเสขะ ๗ จำพวก และบุคคลปุถุชนผู้มีศีล ชื่อว่าผู้งดเว้นเพราะ
    กลัว พระอรหันต์ชื่อว่ามิใช่ผู้งดเว้นเพราะกลัว
    [๒๘] บุคคลผู้ไม่ควรแก่การบรรลุมรรคผล เป็นไฉน
    บุคคลที่ประกอบด้วยกัมมาวรณ์ กำ มา วอน ประกอบด้วยกิเลสาวรณ์ กิ เล สา วอน ประกอบ
    ด้วยวิปากาวรณ์ วิ ปา กา วอน ไม่มีศรัทธา ไม่มีฉันทะ มีปัญญาทราม โง่เขลา เป็นผู้ไม่
    ควรหยั่งลงสู่นิยามอันถูกในกุศลธรรมทั้งหลาย บุคคลเหล่านี้เรียกว่า ผู้ไม่ควร
    แก่การบรรลุมรรคผล
    [๒๙] บุคคลผู้ควรแก่การบรรลุมรรคผล เป็นไฉน
    บุคคลที่ไม่ประกอบด้วยกัมมาวรณ์ ไม่ประกอบด้วยกิเลสาวรณ์ ไม่
    ประกอบด้วยวิปากาวรณ์ มีศรัทธา มีฉันทะ มีปัญญา ไม่โง่เขลา เป็นผู้ควร
    เพื่อหยั่งลงสู่นิยามอันถูกในกุศลธรรมทั้งหลาย บุคคลเหล่านี้เรียกว่า ผู้ควรแก่
    การบรรลุมรรคผล
    [๓๐] บุคคลผู้เที่ยงแล้ว เป็นไฉน
    บุคคลผู้ทำอนันตริยกรรม ๕ จำพวก บุคคลผู้เป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิ และ
    พระอริยบุคคล ๘ ชื่อว่า ผู้เที่ยงแล้ว บุคคลนอกนั้นชื่อว่า ผู้ไม่เที่ยง
    [๓๑] บุคคลผู้ปฏิบัติ เป็นไฉน
    บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค ๔ ชื่อว่าผู้ปฏิบัติ บุคคลผู้พร้อมเพรียง
    ด้วยผล ๔ ชื่อว่าผู้ตั้งอยู่แล้วในผล
    [๓๒] บุคคลชื่อว่าสมสีสี สะ มะ สี สี เป็นไฉน
    การสิ้นไปแห่งอาสวะ และการสิ้นไปแห่งชีวิตของบุคคลใด มีไม่ก่อน
    ไม่หลังกัน บุคคลนี้เรียกว่า สมสีสี
    [๓๓] บุคคลชื่อว่าฐิตกัปปี ถิ ตะ กับ ปี เป็นไฉน
    บุคคลนี้พึงเป็นผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล และเวลาที่กัลป์
    ไหม้จะพึงมี กัลป์ก็ไม่พึงไหม้ตราบเท่าที่บุคคลนี้ยังไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล
    บุคคลนี้เรียกว่า ฐิตกัปปี บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรคแม้ทั้งหมด ชื่อว่า
    เป็นผู้มีกัลป์ตั้งอยู่แล้ว
    [๓๔] บุคคลเป็นอริยะ เป็นไฉน
    พระอริยบุคคล ๘ เป็นอริยะ บุคคลนอกนั้น ไม่ใช่อริยะ
    [๓๕] บุคคลเป็นเสขะ เป็นไฉน
    บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค ๔ พร้อมเพรียงด้วยมรรค ๓ เป็นเสขะ
    พระอรหันต์เป็นอเสขะ บุคคลนอกนั้น เป็นเสขะก็มิใช่ เป็นอเสขะก็มิใช่
    [๓๖] บุคคลผู้มีวิชชา ๓ เป็นไฉน
    บุคคลประกอบด้วยวิชชา ๓ ชื่อว่าผู้มีวิชชา ๓
    [๓๗] บุคคลผู้มีอภิญญา ๖ เป็นไฉน
    บุคคลประกอบด้วยอภิญญา ๖ ชื่อว่าผู้มีอภิญญา ๖
    [๓๘] บุคคลเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง ซึ่งสัจจะด้วยตนเองใน
    ธรรมทั้งหลาย ที่ตนมิได้เคยสดับมาแล้วในก่อน บรรลุความเป็นพระสัพพัญญู
    ในธรรมนั้น และบรรลุความเป็นผู้มีความชำนาญในธรรมเป็นกำลังทั้งหลาย
    บุคคลนี้เรียกว่า พระสัมมาสัมพุทธะ
    [๓๙] บุคคลเป็นพระปัจเจกพุทธะ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมตรัสรู้ซึ่งสัจจะทั้งหลายด้วยตนเอง ใน
    ธรรมทั้งหลายที่ตนไม่ได้สดับมาแล้วในก่อน แต่มิได้บรรลุความเป็นพระสัพพัญญู
    ในธรรมนั้น ทั้งไม่ถึงความเป็นผู้ชำนาญในธรรมอันเป็นกำลังทั้งหลาย บุคคล
    นี้เรียกว่า พระปัจเจกพุทธะ
    [๔๐] บุคคลชื่อว่า อุภโตภาควิมุต อุ พะ โต พา คะ วิ มุด เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกต้องซึ่งวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย แล้วสำเร็จ
    อิริยาบถอยู่ ทั้งอาสวะของผู้นั้นก็สิ้นไปแล้ว เพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้เรียก
    ว่า อุภโตภาควิมุต
    [๔๑] บุคคลชื่อว่าปัญญาวิมุต เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ มิได้ถูกต้องซึ่งวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย สำเร็จ
    อิริยาบถอยู่ แต่อาสวะของผู้นั้นสิ้นไปแล้ว เพราะเห็นด้วยปัญญา บุคคลนี้
    เรียกว่า ปัญญาวิมุต
    [๔๒] บุคคลชื่อว่ากายสักขี กา ยะ สัก ขี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ถูกต้องซึ่งวิโมกข์ ๘ ด้วยกาย แล้วสำเร็จ
    อิริยาบถอยู่ ทั้งอาสวะบางอย่างของผู้นั้นก็สิ้นไปแล้ว เพราะเห็นด้วยปัญญา
    บุคคลนี้เรียกว่า กายสักขี
    [๔๓] บุคคลชื่อว่าทิฏฐิปัตตะ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ย่อม
    รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า
    นี้ความดับทุกข์ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
    อนึ่ง ธรรมทั้งหลายที่พระตถาคตประกาศแล้ว ผู้นั้นเห็นชัดแล้ว ดำเนินไปดี
    แล้วด้วยปัญญา อนึ่งอาสวะบางอย่างของผู้นั้นก็สิ้นไปแล้ว เพราะเห็นด้วยปัญญา
    บุคคลนี้เรียกว่า ทิฏฐิปัตตะ
    [๔๔] บุคคลชื่อว่าสัทธาวิมุต สัด ทา วิ มุด เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ย่อม
    รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า
    นี้ความดับทุกข์ ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
    อนึ่งธรรมทั้งหลายที่พระตถาคตประกาศแล้ว ผู้นั้นเห็นชัดแล้ว ดำเนินไปดีแล้ว
    ด้วยปัญญา อนึ่ง อาสวะบางอย่างของผู้นั้นก็สิ้นไปแล้ว เพราะเห็นด้วยปัญญา
    แต่มิใช่เหมือนบุคคลผู้เป็นทิฏฐิปัตตะ บุคคลนี้เรียกว่าสัทธาวิมุต
    [๔๕] บุคคลชื่อว่าธัมมานุสารี เป็นไฉน
    ปัญญินทรีย์ของบุคคลใด ผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผลมี
    ประมาณยิ่ง บุคคลนั้นย่อมอบรมซึ่งอริยมรรคอันมีปัญญาเป็นเครื่องนำมา มีปัญญา
    เป็นประธานให้เกิดขึ้น บุคคลนี้เรียกว่า ธัมมานุสารี บุคคลผู้ปฏิบัติแล้ว เพื่อ
    ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล ชื่อว่าธัมมานุสารี บุคคลผู้ตั้งอยู่แล้วในผล ชื่อว่า
    ทิฏฐิปัตตะ
    [๔๖] บุคคลชื่อว่าสัทธานุสารี เป็นไฉน
    สัทธินทรีย์ของบุคคลใดผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล มี
    ประมาณยิ่ง อบรมอริยมรรคมีสัทธาเป็นเครื่องนำมา มีสัทธาเป็นประธานให้
    เกิดขึ้น บุคคลนี้เรียกว่า สัทธานุสารีบุคคล ผู้ปฏิบัติเพื่อทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล
    ชื่อว่าสัทธานุสารี ผู้ตั้งอยู่แล้วในผล ชื่อว่าสัทธาวิมุต
    [๔๗] บุคคลชื่อว่าสัตตักขัตตุปรมะ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ทั้ง ๓ เป็น
    โสดาบัน มีอันไม่ไปเกิดในอบายเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยง จะได้ตรัสรู้ในเบื้อง
    หน้า บุคคลนั้นจะแล่นไปท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ๗ ชาติ แล้วทำที่
    สุดทุกข์ได้ บุคคลนี้เรียกว่า สัตตักขัตตุปรมะ
    [๔๘] บุคคลชื่อว่าโกลังโกละ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ทั้ง ๓ เป็น
    โสดาบัน มีอันไม่ไปเกิดในอบายเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงจะได้ตรัสรู้ในเบื้อง
    หน้า บุคคลนั้นจะแล่นไปท่องเที่ยวไปสู่ตระกูลสองหรือสาม แล้วทำที่สุดทุกข์
    ได้ บุคคลนี้เรียกว่า โกลังโกละ
    [๔๙] บุคคลชื่อว่าเอกพิชี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ทั้ง ๓ มี
    อันไม่ไปเกิดในอบายเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยง จะได้ตรัสรู้ในเบื้องหน้า บุคคล
    นั้นเกิดในภพมนุษย์อีกครั้งเดียว แล้วทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ บุคคลนี้เรียกว่า
    เอกพิชี
    [๕๐] บุคคลชื่อว่าสกทาคามี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ทั้ง ๓
    เพราะทำราคะ โทสะ โมหะ ให้เบาบางลง เป็นสกทาคามี ยังจะมาสู่โลกนี้
    คราวเดียวเท่านั้น แล้วทำที่สุดทุกข์ได้ บุคคลนี้เรียกว่าสกทาคามี
    [๕๑] บุคคลชื่อว่าอนาคามี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งโอรัมภาคิยสัญโญชน์
    ทั้ง ๕ มีกำเนิดเป็นอุปปาติกะ ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสนั้น มีอัน
    ไม่กลับมาจากโลกนั้นเป็นธรรมดา บุคคลนี้เรียกว่า อนาคามี
    [๕๒] บุคคลชื่อว่าอันตราปรินิพพายี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งโอรัมภาคิยสัญ-
    *โญชน์ทั้ง ๕ มีกำเนิดเป็นอุปปาติกะ ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสนั้น มี
    อันไม่กลับมาจากโลกนั้นเป็นธรรมดา บุคคลนั้น ย่อมยังอริยมรรคให้เกิดขึ้น
    เพื่อละสัญโญชน์อันมีในเบื้องบน ในระยะเวลาติดต่อกับที่เกิดบ้าง ยังไม่ถึง
    ท่ามกลางกำหนดอายุบ้าง บุคคลนี้เรียกว่า อันตราปรินิพพายี
    [๕๓] บุคคลชื่อว่าอุปหัจจปริพพายี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งโอรัมภาคิยสัญ-
    *โญชน์ทั้ง ๕ มีกำเนิดเป็นอุปปาติกะ ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสนั้น
    มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา บุคคลนั้น ย่อมยังอริยมรรคให้เกิดขึ้น เพื่อ
    ละสัญโญชน์อันมีในเบื้องบน เมื่อล่วงพ้นท่ามกลางกำหนดอายุบ้าง เมื่อใกล้จะ
    ทำกาลกิริยาบ้าง บุคคลนี้เรียกว่า อุปหัจจปรินิพพายี อุ ปะ หัด จะ ปะ ริ นิบ พา ยี
    [๕๔] บุคคลชื่อว่าอสังขารปรินิพพายี อะ สัง ขา ระ ปะ ริ นิบ พา ยี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งโอรัมภาคิยสัญโญชน์
    ทั้ง ๕ มีกำเนิดเป็นอุปปาติกะ ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสนั้น มีอันไม่
    กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา บุคคลนั้นย่อมยังอริยมรรคให้เกิดขึ้นโดยไม่ลำบาก
    เพื่อละสัญโญชน์อันมีในเบื้องบน บุคคลนี้เรียกว่า อสังขารปรินิพพายี
    [๕๕] บุคคลชื่อว่าสสังขารปรินิพพายี สะ สัง ขา ระ ปะ ริ นิบ พา ยี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบ แห่งโอรัมภาคิยสัญ-
    *โญชน์ทั้ง ๕ มีกำเนิดเป็นอุปปาติกะ ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสนั้น
    มีอันไม่กลับมาจากโลกนั้นเป็นธรรมดา บุคคลนั้น ย่อมยังอริยมรรคให้เกิดขึ้น
    โดยลำบาก เพื่อละสัญโญชน์อันมีในเบื้องบน บุคคลนี้เรียกว่า สสังขารปรินิพพายี
    [๕๖] บุคคลชื่อว่าอุทธังโสโตอกนิฏฐคามี อุด ทัง โส โต อะ กะ นิด ถะ คา มี เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งโอรัมภาคิยสัญโญชน์
    ทั้ง ๕ มีกำเนิดเป็นอุปปาติกะ ปรินิพพานในเทวโลกชั้นสุทธาวาสนั้น มีอันไม่
    กลับมาจากโลกนั้นเป็นธรรมดา บุคคลนั้น จุติจากอวิหาไปอตัปปา จุติจากอตัปปา
    ไปสุทัสสา จุติจากสุทัสสาไปสุทัสสี จุติจากสุทัสสีไปอกนิฏฐา อะ กะ นิด ถา ย่อมยังอริยมรรค
    ให้เกิดขึ้นในอกนิฏฐา เพื่อละสัญโญชน์เบื้องบน บุคคลนี้เรียกว่า อุทธังโสโตอก
    นิฏฐคามี
    [๕๗] บุคคลชื่อว่าโสดาบัน ชื่อว่าปฏิบัติแล้วเพื่อทำให้แจ้งซึ่ง
    โสดาปัตติผล เป็นไฉน
    บุคคลผู้ปฏิบัติแล้วเพื่อละสัญโญชน์ ๓ ปฏิบัติแล้วเพื่อทำให้แจ้งซึ่ง
    โสดาปัตติผล สัญโญชน์ ๓ อันบุคคลใดละได้แล้ว บุคคลนั้นเรียกว่าโสดาบัน
    บุคคลปฏิบัติแล้วเพื่อความเบาบางแห่งกามราคะและพยาบาท ปฏิบัติ
    แล้วเพื่อทำให้แจ้งซึ่งสกทาคามิผล เพราะราคะและพยาบาทของบุคคลใดเบาบาง
    แล้ว บุคคลนี้เรียกว่า สกทาคามี
    บุคคลปฏิบัติแล้วเพื่อละไม่ให้เหลือ ซึ่งกามราคะและพยาบาท ปฏิบัติ
    แล้วเพื่อทำให้แจ้งซึ่งอนาคามิผล กามราคะและพยาบาทอันบุคคลใดละได้หมด
    ไม่มีเหลือ บุคคลนั้นเรียกว่า อนาคามี
    บุคคลปฏิบัติแล้ว เพื่อไม่ให้เหลือซึ่งรูปราคะ อรูปราคะ มานะ
    อุทธัจจะ และอวิชชา ปฏิบัติแล้วเพื่อทำให้แจ้งซึ่งอรหัตผล รูปราคะ อรูปราคะ
    มานะ อุทธัจจะ อวิชชา อันบุคคลใดละได้หมดไม่มีเหลือ บุคคลนี้เรียกว่าอรหันต์


    <CENTER>เอกกนิทเทส จบ</CENTER><CENTER> </CENTER>
    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 12 เมษายน 2011
  16. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    นิทเทส
    เอกกนิทเทส
    ทุกนิทเทส ทุ กะ นิด เทด
    ติกนิทเทส ติ กะ นิด เทด
    จตุกกนิทเทส จะ ตุก กะ นิด เทด
    ปัญจกนิทเทส


    ๖๗] บุคคลมีสัญโญชน์ สัน โยด ภายใน เป็นไฉน
    โอรัมภาคิยสัญโญชน์ โอ รำ พา คิ ยะ สัน โยด ๕ อันบุคคลยังละไม่ได้แล้ว บุคคลนั้นเรียกว่า
    ผู้มีสัญโญชน์ภายใน
    บุคคลผู้มีสัญโญชน์ภายนอก เป็นไฉน
    อุทธัมภาคิยสัญโญชน์ อุด ทำ พา คิ ยะ สัน โยด ๕ อันบุคคลใดยังละไม่ได้แล้ว บุคคลนี้เรียกว่า
    ผู้มีสัญโญชน์ภายนอก



    ปัญญาวิมุติ มีสระอิ อ่านว่าอย่างไรค่ะ ปัน ยา วิ มุด


    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศีล มีธรรมอันงาม เธอได้ยินว่า นัยว่า
    ภิกษุมีชื่ออย่างนี้ รู้ยิ่งด้วยตนเองแล้ว ทำให้แจ้งแล้ว เข้าถึงแล้ว ซึ่งเจโตวิมุติ
    ปัญญาวิมุติ ปัน ยา วิ มุด อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย สำเร็จ
    อิริยาบถอยู่ในทิฏฐธรรม ดังนี้ เธอย่อมเกิดความคิดขึ้นว่า แม้เราก็รู้ยิ่งด้วยตนเอง
    จักทำให้แจ้ง จักเข้าถึงซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความ
    สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลายแล้ว สำเร็จอิริยาบถอยู่ในทิฏฐธรรม ในกาลไหนๆ
    โดยแท้ดังนี้เรียกว่า ผู้มีความหวัง
    บุคคลผู้มีความหวังไปปราศแล้ว เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ รู้ยิ่งด้วยตนเองแล้ว ทำให้แจ้งแล้ว เข้าถึงแล้ว
    ซึ่งเจโตวิมุติ เจ โต วิ มุด ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    แล้ว สำเร็จอิริยาบถอยู่ในทิฏฐธรรม เธอได้ยินว่า นัยว่าภิกษุชื่ออย่างนี้ รู้ยิ่ง
    ด้วยตนเองแล้ว ทำให้แจ้งแล้ว เข้าถึงแล้ว ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหา
    อาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย สำเร็จอิริยาบถอยู่ในทิฏฐธรรม
    ดังนี้ เธอย่อมไม่เกิด ความคิดขึ้นว่า แม้เราก็รู้ยิ่งด้วยตนเอง จักทำให้แจ้ง
    จักเข้าถึง ซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่ง
    อาสวะทั้งหลายแล้ว สำเร็จอิริยาบถอยู่ในทิฏฐธรรม ในกาลไหนๆ โดยแท้
    ดังนี้ ข้อนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่า ความหวังในความหลุดพ้นใด ของ
    พระขีณาสพนั้น ผู้ซึ่งเมื่อยังไม่หลุดพ้นในกาลก่อน ความหวังนั้นได้สงบระงับแล้ว
    บุคคลนี้เรียกว่า ผู้มีความหวังไปปราศแล้ว


    กายสักขี กาย ยะ สัก ขี

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 12 เมษายน 2011
  17. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>มาถามคำอ่านให้แน่ใจค่ะ</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>อุปปาติกะ อ่านว่า </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>
    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>รูปราคะ อ่านว่า รูบ ปะ รา คะ</CENTER><CENTER>อรูปราคะ อ่านว่า อะ รูบ ปะ รา คะ</CENTER><CENTER>รูปฌาน อ่านว่า รูบ ปะ ชาน</CENTER><CENTER>กามราคะ อ่านว่า กาม มะ รา คะ</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>๔๗] บุคคลชื่อว่าสัตตักขัตตุปรมะ สัด ตัก ขัด ตุ ปะ ระ มะ เป็นไฉนบุคคลบางคนในโลกนี้ เพราะความสิ้นไปรอบแห่งสัญโญชน์ทั้ง ๓ เป็น
    โสดาบัน มีอันไม่ไปเกิดในอบายเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยง จะได้ตรัสรู้ในเบื้อง
    หน้า บุคคลนั้นจะแล่นไปท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ๗ ชาติ แล้วทำที่
    สุดทุกข์ได้ บุคคลนี้เรียกว่า สัตตักขัตตุปรมะ

    อนุโมทนาจ้ะ

    </CENTER>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 15 เมษายน 2011
  18. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    คืออวิชชา อนุสัย คืออวิชชา ปริยุฏฐาน ปะ ริ ยุด ถาน คืออวิชชา ลิ่ม คืออวิชชา
    อกุศลมูล คือโมหะ นี้เรียกว่า ความเป็นผู้ไม่มีสัมปชัญญะ บุคคลเป็นผู้
    ประกอบด้วยความเป็นผู้ไม่มีสัมปชัญญะนี้ ชื่อว่าผู้ไม่มีสัมปชัญญะ
    [๖๖] บุคคลผู้มีศีลวิบัติ สีน วิ บัด เป็นไฉน
    ศีลวิบัติ ในข้อนั้นเป็นไฉน การล่วงละเมิดทางกาย การล่วงละเมิด
    ทางวาจา การล่วงละเมิดทั้งทางกายทั้งทางวาจา นี้เรียกว่าศีลวิบัติ ความเป็นผู้
    ทุศีลแม้ทั้งหมด ชื่อว่าศีลวิบัติ บุคคลประกอบด้วยศีลวิบัตินี้ ชื่อว่าผู้มีศีลวิบัติ

    อนุญาตคิลานภัต คิ ลา นะ พัด อนุญาตคิลานเภสัช คิ ลา นะ เพ สัด อนุญาตคิลานอุปัฏฐาก คิ ลา นะ อุ ปัด ถาก ไว้

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 16 เมษายน 2011
  19. Kob

    Kob เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    6,161
    ค่าพลัง:
    +19,894
    <CENTER>จตุกกนิทเทส จะ ตุก กะ นิด เทด
    ปัญจกนิทเทส ปัน จะ กะ นิด เทด
    ฉักกนิทเทส ฉัก กะ นิด เทด
    สัตตกนิทเทส สัด ตะ กะ นิด เทด
    อัฏฐกนิทเทส อัด ถะ กะ นิด เทด
    นวกนิทเทส นะ วะ กะ นิด เทด


    ทสกนิทเทส ทะ สะ กะ นิด เทด </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>จตุกกนิทเทส


    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>[บุคคล ๔ จำพวก]
    </CENTER>[๑๐๔] คนที่เป็นอสัตบุรุษ อะ สัด บุ หรุด เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม
    พูดเท็จ ดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท นี้เรียกว่าคนที่เป็นอสัตบุรุษ
    คนที่เป็นอสัตบุรุษยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ฆ่าสัตว์ด้วยตนเองด้วย ชักชวนผู้อื่นให้ฆ่าสัตว์
    ด้วย ลักทรัพย์ด้วยตนเองด้วย ชักชวนผู้อื่นให้ลักทรัพย์ด้วย ประพฤติผิดในกาม
    ด้วยตนเองด้วย ชักชวนผู้อื่นให้ประพฤติผิดในกามด้วย พูดเท็จด้วยตนเองด้วย
    ชักชวนให้ผู้อื่นพูดเท็จด้วย ดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทด้วยตนเอง
    ด้วย ชักชวนผู้อื่นให้ดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทด้วย นี้เรียกว่า
    คนเป็นอสัตบุรุษยิ่งกว่าอสัตบุรุษ
    คนที่เป็นสัตบุรุษ สัด บุ หรุด เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติปาต ปา นา ติ บาด ป.ปลา ผิดเว้นขาดจาก
    อทินนาทาน อะ ทิน นา ทาน เว้นขาดจากกาเมสุมิจฉาจาร กา เม สุ มิด ฉา จาน เว้นขาดจากมุสาวาท เว้นขาดจาก
    การดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท นี้เรียกว่าคนที่เป็นสัตบุรุษ
    คนที่เป็นสัตบุรุษยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นไฉน
    บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต ปา นา ติ บาด ด้วยตนเองด้วย
    ชักชวนผู้อื่นให้เว้นจากปาณาติบาตด้วย เว้นขาดจากอทินนาทานด้วยตนเองด้วย
    ชักชวนผู้อื่นให้เว้นจากอทินนาทานด้วย เว้นขาดจากกาเมสุมิจฉาจารด้วยตนเอง
    ด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เว้นจากกาเมสุมิจฉาจารด้วย เว้นขาดจากมุสาวาทด้วย
    ตนเองด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เว้นจากมุสาวาทด้วย เว้นขาดจากการดื่มสุราเมรัย
    อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทด้วยตนเองด้วย ชักชวนผู้อื่นให้เว้นจากการดื่ม
    สุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาทด้วย นี้เรียกว่า คนที่เป็นสัตบุรุษยิ่งกว่า
    สัตบุรุษ

    [๑๐๘] บุคคลผู้อุคฆติตัญญู อุก คะ ติ ตัน ยู เป็นไฉน
    การบรรลุมรรคผล ย่อมมีแก่บุคคลใด พร้อมกับเวลาที่ท่านยกหัวข้อ
    ขึ้นแสดง บุคคลนี้เรียกว่า บุคคลผู้อุคฆติตัญญู
    บุคคลผู้วิปัญจิตัญญู วิ ปัน จิ ตัน ยู เป็นไฉน
    การบรรลุมรรคผล ย่อมมีแก่บุคคลใด ในเมื่อท่านจำแนกเนื้อความ
    แห่งภาษิตโดยย่อให้พิสดาร บุคคลนี้เรียกว่า บุคคลผู้วิปัญจิตัญญู
    บุคคลผู้เนยยะ เป็นไฉน
    การบรรลุมรรคผลเป็นชั้นๆ ไป ย่อมมีแก่บุคคลใด โดยเหตุอย่างนี้
    คือโดยอุทเทส โดยไต่ถาม โดยทำไว้ในใจโดยแยบคาย โดยสมาคม โดย
    คบหา โดยสนิทสนมกับกัลยาณมิตร บุคคลนี้เรียกว่า บุคคลผู้เนยยะ
    บุคคลผู้ปทปรมะ ปะ ทะ ปะ ระ มะ เป็นไฉน
    บุคคลใดฟังพุทธพจน์ก็มาก กล่าวก็มาก จำทรงไว้ก็มาก บอกสอนก็
    มาก แต่ไม่มีการบรรลุมรรคผลในชาตินั้น บุคคลนี้เรียกว่า บุคคลผู้ปทปรมะ
    [๑๑๐] บุคคลเป็นธรรมกถึก ทำ มะ กะ ถึก ๔ จำพวก เป็นไฉน
    ธรรมกถึกบางคนในโลกนี้ ย่อมกล่าวน้อยและกล่าวคำไม่ประกอบด้วย
    บุคคลเปรียบด้วยวลาหก ๔ อย่าง เป็นไฉน
    [๑๑๑] วลาหก วะ ลา หก ๔ อย่าง
    ฟ้าร้องฝนไม่ตก
    ฝนตกฟ้าไม่ร้อง
    ฟ้าร้องฝนตก
    ฟ้าไม่ร้องฝนไม่ตก
    [๑๑๒] บุคคลเปรียบด้วยวลาหก ๔ อย่างนี้ มีปรากฏอยู่ในโลกก็ฉัน
    นั้นเหมือนกัน
    บุคคล ๔ จำพวก เป็นไฉน
    บุคคลเหมือนฟ้าร้องฝนไม่ตก
    บุคคลเหมือนฝนตกฟ้าไม่ร้อง
    บุคคลเหมือนฟ้าร้องฝนตก
    บุคคลเหมือนฟ้าไม่ร้องฝนไม่ตก
    บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ
    เวยยากรณะ เวย ยา กะ ระ นะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ อิ ติ วุด ตะ กะ ชาดก อัพภูตธรรม อับ พู ตะ ทำ เวทัลละ เว ทัน ละ บุคคลนั้น
    ไม่รู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธ-
    *คามินีปฏิปทา บุคคลอย่างนี้ชื่อว่าเป็นผู้ทำที่อยู่ แต่ไม่อยู่ หนูนั้นทำรังไว้แต่ไม่อยู่

    อนุโมทนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 เมษายน 2011
  20. ผ่อนคลาย

    ผ่อนคลาย Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    5,775
    ค่าพลัง:
    +12,934
    จาก ... พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ค้นหาในกลุ่มตัวอักษร "ส"
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 เมษายน 2011

แชร์หน้านี้

Loading...