ถึงคุณ สับสน

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย oatthidet, 27 เมษายน 2012.

  1. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    พี่เตช..ความหมายของเขา ผมอ่านว่า ใจของเขาคือ เจตสิกครับ..!:mad:
     
  2. เตชพโล

    เตชพโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    267
    ค่าพลัง:
    +1,431
    ผมจะถือว่าเป็นความคิดเห็นของคุณแล้วกันนะครับ
    เพราะไม่รู้ว่าถูกหรือผิด

    ส่วนท่านที่รู้ที่เห็นจริง ๆ ท่านรู้ตั้งแต่คุณตอบผมครั้งแรกแล้วครับ
    ว่าถูกหรือผิด

    ผมจะถือว่าเป็นความคิดเห็นของคุณเท่านั้น
    ส่วนใครจะตัดสินว่าถูกหรือผิดก็ให้เป็นเรื่องของแต่ละคนไปครับ

    ขอบคุณครับ
     
  3. เตชพโล

    เตชพโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    267
    ค่าพลัง:
    +1,431
    ผู้รู้ละเอียดกว่านี้เยอะครับ
     
  4. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    :cool:อ๋อ..ผมเข้าใจแล้วครับ อธิเดช..ใช้สติตามจับความคิดได้ทัน..จึงเกิดการว่างงงงง.ๆๆ
    ตรงนี้ อธิเดช เขาเข้าใจว่า..การเพิกเฉยต่อความรู้สึก(มันว่าง)..นี้ คือ การแยก กาย ใจ จิต นี่ไงดูจิตติดว่างงงงงงงงงงงงครับ
    จากนี้ไปก็ไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรต่อ..นึกว่าตนเองหลุดพ้น จึงต้องดูจิตไปตลอดชีวิต ไม่งั้นสติขาด หมด ครับ ฟันธง...!:':)':)'(
     
  5. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    กาย(รูป) ใจ(เจตสิก การปรุงแต่ง ความรู้สึก) จิต(เสพอารมณ์ความรู้สึก )..จิตเพิกเฉยต่อเจตสิกความรู้สึกการปรุงแต่ง(ใจ)..จิต เพิกเฉยต่อใจ..เท่ากับสติตามจับความคิด หรือเจตสิกได้ทัน จึงเกิดอาการว่างงงงงงงๆๆๆๆ..นี่ตรงกับอาการเพิกเฉยยยที่เกิด ว่างงง
    .. เพราะจิต..ตามจับความคิด(ใจ เจตสิก การปรุงแต่ง)ได้ทัน ความคิดจึงดับ.. จึงเกิดความ..ว่างงงงงงง..ขึ้นแทนที่
    แต่ใช้..สติ ตามจับใจ ความรู้สึก การปรุงแต่ง..จับได้แล้วเฉย เพิกเฉย..นี่ไง สติทันความคิด ความคิดดับจึงเกิดสภาวะว่างงงงง.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 เมษายน 2012
  6. เตชพโล

    เตชพโล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    267
    ค่าพลัง:
    +1,431
    ความคิดของผมนะครับ จะถูกหรือผิดก็แล้วแ่ต่ท่านใดจะคิด
    แยกกาย แยกจิต นี่ มันไม่เกี่ยวความรู้สึกถึงการกระทบอะไรเลย
    จิต กับ กาย แยกกันเป็นส่วนให้เห็นอย่างชัด ๆ นี่ล่ะครับ
    ไม่ต้องไปเพิกเฉยกับการกระทบอะไรเลย

    กายก็ส่วน จิตก็ส่วน
    เห็นชัด ๆ อยู่นั่นล่ะครับ
     
  7. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    เขาแค่กำลังเกิด สติและสมาธิจิตครับ..ฟันธงเลย ไม่อย่างนั้นเขาจะตามความรู้สึกเจตสิก(ใจ)ไม่ทัน.. หากไม่มีสติเพียงพอ..
    หลังจากว่างแล้ว อธิเดช..คุณก็ออกจากสมาธิก็เท่านั้นเองครับ
     
  8. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    ใช่ครับ ผมเห็นด้วยพี่เตช..แต่ อธิเดชเข้าใจเองว่า เจตสิกคือใจ(การปรุงแต่ง จนเกิดความรู้สึก).:cool: จิต ก็เพิกเฉยกับใจขณะที่เกิดนี้ไงครับ
     
  9. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    คุณ อธิเดช..หลังจากเพิกเฉยต่อความรู้สึกแล้วคุณทำอะไรต่อครับ นานแค่ไหนครับ.
     
  10. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    ดีครับ ผมขอถามบ้างครับ เจตสิก แปลว่าอะไรครับ

    กิริยา และ อาการ ของเจตสิกไม่เอานะครับ เอาเฉพาะคำแปลครับ

    ผมได้อธิบายที่ผมรู้แล้ว ใครจะเข้าใจ หรือ รู้เห็นเช่นไร ก็เป็นสิทธิ์ของผู้นั้นครับ

    สาธุครับ
     
  11. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    ไปเอา คำสอนเอี้ย เอี้ย นี้มาจากไหนเหรอ

    จิตในจิต หรือ ดูจิต หรือ จิตตานุปัสสนา

    เขาดูที่ จิตเป็นเจตสิกต่างๆ แล้ว มันส่งผลอย่างไรต่อจิต

    เช่น เกิดยินดี ยินร้าย หรือ สว่าง หรือ มืด หรือ เคลื่อน สั่น ไหว

    ถ้าจิตมันผลิกไปในเจตสิกแล้ว ตามมาด้วยอาการ ยินดี ยินร้าย สว่าง มืด
    หรือ สั่นไหว นี่ ดูที่อาการของจิตตัวหลังนี้ ถ้ายกสภาพธรรมเหล่านี้มา
    สังเกตความไม่เที่ยงได้ จึงเรียกว่า ตามพิจารณาจิตในจิต หรือ ดูจิต

    ความว่าง จะเกิดจากกระประจักษ์ความไม่เที่ยง คือ ยินดี ยินร้าย สว่าง
    มืด สั่นไหว มันแสดงความไม่เที่ยง มันจึงคลาย จิตในจิต ที่เกิด มันจึง
    รู้เห็นตามความเป็นจริง เกิดการจางคลาย สลัดคืนการยึดถือ จิต

    ถ้าเห็นการสลัดคืน การยึดถือ จิต ได้ ก็เรียกว่า เกิดสังขารุเบกขาญาณ
    ธรรมดาๆ เป็นโคตรภูบุคคล ปุถุชนชั้นดีไปเรื่อยๆ จนกว่า จะแจ้งอริยสัจจ

    ส่วนไอ้เรื่อคำอสนเอี้ยๆ ตะครุบความคิด ตะครุบเงาจิต เชื่อผมเถอะ อย่า
    จำเอาไปเสวนากับใครเลย มันโง่ !!
     
  12. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    หากว่าคุณทำอย่างที่ผมกล่าวได้ทุกลมหายใจล่ะครับ จะเป็นอย่างไรครับ

    กรุณาอ่านให้ละเอียดด้วยครับ ว่าเพิกเฉยแล้วเป็นอย่างไรต่อไปครับ

    สาธุครับ
     
  13. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    อนุโมทนาสาธุครับ ที่เข้าใจในความหมายที่สื่อออกไปครับ

    สาธุครับ
     
  14. เล่าปัง

    เล่าปัง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    4,787
    ค่าพลัง:
    +7,918
    แล้วนี่ๆ พี่สับสน และ บรรดาโสดาบันประจำเว็บ ทั้งหลาย


    ผมพอจะจำได้เลาๆว่า คุณโอ๊ดตติดเด็ก อะไรนี่ เขาประกาศเอาไว้
    ครั้งหนึ่งว่า เขาสำเร็จเป็น พระปัจเจกพุทธเจ้า ณ กาลเวลานี้ นี่แหละ

    ดังนั้น คนฉลาด คนที่รู้ถ้วนในรื่องกรรม น่าจะรู้ว่าควรเสวนาอย่างไร
     
  15. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    ผมเคยประกาศว่า ผมได้ปราวนาต่อหน้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    ว่าขอมีความรู้เท่าพระพุทธองค์ แต่ไม่ขอสั่งสอนผู้ใด

    ผมจึงได้แต่แนะนำ หรือ ชี้แจง ไม่ได้สั่งสอนอย่างเป็นระบบครับ

    ผมยังไม่สำเร็จมรรคผลแต่อย่างใด เพียงแค่เห็นหนทางจนถึงที่สุดแล้วครับ

    กาลเวลาที่เปลี่ยนไป อาจจะทำให้คาดเคลื่อนครับ

    สาธุครับ
     
  16. สับสน!

    สับสน! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 เมษายน 2010
    โพสต์:
    0
    ค่าพลัง:
    +3,984
    :cool: คำสอนเอี้ยๆของเจ้าโมชโชนี่นะ..ไม่มีมรรค เลยสักตัว เอาสติตามดูความคิด พอทันความคิด ตะครุบเงาจิตทันนี่นะว่างงง...แจ้งอริยะสัจจ์เลยรึจ๊ะ ..โอ้โฮ..เล่าปังอย่าได้ผุดได้เกิดเลย อย่าได้เกิดอีกเลย..วิปัสสนาไม่มีสักนิด ธรรมที่ยกมาพิจราณาก็ไม่มี ..แจ้งอิยะสัจจ์ เดินมรรคตรงไหนนี่ หือ หือ ..!:':)'(
     
  17. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    คุณ สับสน ครับ คำว่า เจตสิก แปลว่าอะไรครับ ไม่เอากิริยา หรือ อาการ ของเจตสิกนะครับ

    ผู้ที่ปฎิบัติก็ไม่มุ่งหวังที่จะมาเกิดอีกแล้วครับ หากไม่ผุด ไม่เกิด เลยก็ดีครับ

    สาธุครับ
     
  18. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    คุณ เตชพโล ครับ คำว่า เจตสิก แปลว่าอะไรครับ ไม่เอากิริยา หรือ อาการ ของเจตสิกนะครับ

    สาธุครับ
     
  19. oatthidet

    oatthidet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    3,498
    ค่าพลัง:
    +1,876
    ที่นี่มีแต่คนถาม แล้วก็หาทางจับผิดเท่านั้นหรือครับ

    พอผมถามบ้างเห็นมีแต่เงียบหาย หรือ หนีหายไปเลย

    เป็นหลายคนแล้วครับ ขณะนี้ ผู้ที่ศึกษาพระธรรมเป็นเช่นนี้หรือครับ

    สาธุครับ
     
  20. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    <table class="tborder" cellpadding="6" cellspacing="0" border="0" width="100%" align="center" style="background-image: initial; background-attachment: initial; background-origin: initial; background-clip: initial; background-color: rgb(255, 255, 255); color: rgb(0, 0, 0); border-top-width: 1px; border-right-width: 1px; border-bottom-width: 1px; border-left-width: 1px; border-top-style: solid; border-right-style: solid; border-bottom-style: solid; border-left-style: solid; border-top-color: rgb(239, 239, 239); border-right-color: rgb(239, 239, 239); border-bottom-color: rgb(239, 239, 239); border-left-color: rgb(239, 239, 239); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><tbody><tr valign="top"><td class="alt1" id="td_post_6064420" style="font: normal normal normal 12pt/normal verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif; background-image: initial; background-attachment: initial; background-origin: initial; background-clip: initial; background-color: rgb(239, 235, 239); color: rgb(0, 0, 0); border-right-width: 1px; border-right-style: solid; border-right-color: rgb(255, 255, 255); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">ไปเอา คำสอนเอี้ย เอี้ย นี้มาจากไหนเหรอ
    </td></tr></tbody></table>
    <table class="tborder" cellpadding="6" cellspacing="0" border="0" width="100%" align="center" style="background-image: initial; background-attachment: initial; background-origin: initial; background-clip: initial; background-color: rgb(255, 255, 255); color: rgb(0, 0, 0); border-top-width: 1px; border-right-width: 1px; border-bottom-width: 1px; border-left-width: 1px; border-top-style: solid; border-right-style: solid; border-bottom-style: solid; border-left-style: solid; border-top-color: rgb(239, 239, 239); border-right-color: rgb(239, 239, 239); border-bottom-color: rgb(239, 239, 239); border-left-color: rgb(239, 239, 239); display: inline !important; "><tbody style="display: inline !important; "><tr valign="top" style="display: inline !important; "><td class="alt1" id="td_post_6064420" style="font: normal normal normal 12pt/normal verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif; background-image: initial; background-attachment: initial; background-origin: initial; background-clip: initial; background-color: rgb(239, 235, 239); color: rgb(0, 0, 0); border-right-width: 1px; border-right-style: solid; border-right-color: rgb(255, 255, 255); display: inline !important; ">จิตนุปัสนาคงไม่ได้หมายถึงอย่างที่เผยแพร่อยู่อย่างนี้หรอก
    </td></tr></tbody></table>
    <table class="tborder" cellpadding="6" cellspacing="0" border="0" width="100%" align="center" style="background-image: initial; background-attachment: initial; background-origin: initial; background-clip: initial; background-color: rgb(255, 255, 255); color: rgb(0, 0, 0); border-top-width: 1px; border-right-width: 1px; border-bottom-width: 1px; border-left-width: 1px; border-top-style: solid; border-right-style: solid; border-bottom-style: solid; border-left-style: solid; border-top-color: rgb(239, 239, 239); border-right-color: rgb(239, 239, 239); border-bottom-color: rgb(239, 239, 239); border-left-color: rgb(239, 239, 239); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; "><tbody><tr valign="top"><td class="alt1" style="font: normal normal normal 12pt/normal verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif; background-image: initial; background-attachment: initial; background-origin: initial; background-clip: initial; background-color: rgb(239, 235, 239); color: rgb(0, 0, 0); border-right-width: 1px; border-right-style: solid; border-right-color: rgb(255, 255, 255); background-position: initial initial; background-repeat: initial initial; ">



    </td></tr></tbody></table>
     

แชร์หน้านี้

Loading...