คำตรัสของ พระศรีอริยเมตไตย

ในห้อง 'ร้องเรียนและปัญหา' ตั้งกระทู้โดย 12punna, 16 ตุลาคม 2006.

  1. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ขันธ์ ๕ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>

    <O:p></O:p>
    การยึดมั่นถือมั่นในรูป ๑ สิ่งที่เห็น,กระทบ<O:p></O:p>
    การยึดมั่นถือมั่นในเวทนา ๑ ความรู้สึก<O:p></O:p>
    การยึดมั่นถือมั่นในสัญญา ๑ ความจดจำ<O:p></O:p>
    การยึดมั่นถือมั่นในสังขาร ๑ ปรุงแต่งจิต<O:p></O:p>
    การยึดมั่นถือมั่นในวิญญาณ ๑ การรับรู้<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ขันธ์ ๕ เป็นอุปทานตัวรู้อารมณ์ทำให้เกิดกองทุกข์....<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    อุปทาน เป็นได้ทั้งกุศลธรรมและอกุศลธรรม <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ไตรลักษณ์ ( สามัญลักษณะ 3 อย่าง )<O:p></O:p>
    ความไม่เที่ยง ๑<O:p></O:p>
    ความทุกข์ ๑<O:p></O:p>
    ความยึดมั่นถือมั่น ๑<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    อธิบายลักษณะการทำงานของขันธ์ ๕<O:p></O:p>
    การทำงานของขันธ์ ๕ นั้น มีลักษณะการเชื่อมต่อของอารมณ์ เปรียบเหมือนหลอดไฟ ๕ ดวง ที่มีสวิทปิดเปิดเพียงอันเดียว เมื่อขันธ์ใดขันธ์หนึ่งทำงาน หลอดไฟก็จะติดขึ้นพร้อมกันทั้งหมด<O:p></O:p>
    จะอธิบายลักษณะของการทำงานของขันธ์ ๕ โดยยกเอาเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง เรื่อง ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ ในสมัยก่อนมีชายหญิงคู่หนึ่ง เป็นแม่ลูกกัน ทั้งสองมีอาชีพทำนา ลูกชายมีหน้าที่ทำนา ส่วนแม่มีหน้าที่หุงหาอาหาร ไปส่งให้ลูกชาย ทุกอย่างเป็นไปตามปกติ จนกระทั่งวันหนึ่ง ด้วยเหตุผลใดไม่ทราบ เมื่อถึงเวลาพักกลางวัน ซึ่งได้เวลารับประทานอาหาร ผู้เป็นแม่มาช้าผิดปกติ ทำให้ลูกชายที่ทำงานอย่างหนัก ทั้งทำนา ตากแดด เกิดอาการหิวเมื่อถึงเวลาทานอาหารแล้วไม่ได้ทาน เวทนาเกิดแรงกล้า เพราะทั้งเหนื่อยและหิว พอแม่เดินมาถึง มองเห็นกล่องข้าวที่แม่ถือมาให้ เมื่อตาไปกระทบรูป ทำให้จิตคิดปรุงแต่งไปว่า กล่องข้าวแค่นี้คงไม่ทำให้เราอิ่มแน่ จากความทุกข์ที่มีความหิวเป็นทุนเดิม บวกกับเมื่อตาไปกระทบรูป ทำให้จิตปรุงแต่งไปว่า คงไม่ทำให้เวทนาที่มีอยู่คลายลงไปได้ สัญญาที่มีอยู่ไม่ทำหน้าที่จดจำ (จดจำหมายถึง อาหารเพียงแค่นี้เพียงพอที่เคยทาน) ส่งผลให้สติไม่ควบคุมวิญญาณตัวรู้ เมื่อสติตามอารมณ์ไม่ทัน ความจำที่มีอยู่ว่า บุคคลนี้เป็นผู้ให้กำเหนิด เป็นผู้อุปการะเลี้ยงดู สัญญาหยุดทำงานอีกครั้ง เมื่อการปรุงแต่งเวทนาดำเนินต่อ ทำให้เกิด โลภะ คืออยากได้มากกว่าเดิม เกิดโทสะเพราะความหิว เกิดโมหะคือ ความหลงควบคุมสติไม่ได้ จึงใช้ไม้ที่มีอยู่ข้างตัวฟาดไปที่ศรีษะของบุพการี เพียงแค่อยากระบายโทสะ เสร็จแล้ว เมื่อได้มานั่งทานอาหาร เมื่อท้องอิ่มแต่กลับปรากฏว่า ทานข้าวในกล่องนี้ไม่หมด นี่คือผลของการไปปรุงแต่รูปทำให้เกิดทุกข์ สำนึกผิดรีบเข้าไปหาเพื่อหวังที่จะขอโทษบุพการี แต่อนิจจา มันสายเกินไปเสียแล้ว ด้วยสติที่หลงอารมณ์ไปเพียงชั่วขณะได้ทำกรรมหนักไปเสียแล้วกล่าวคือ มาตาปิตุฆาต ฆ่าได้แม้กระทั่ง ผู้เป็นมารดา วิญญาณและสัญญาที่เป็นตัวรู้ผลการกระทำของอารมณ์หรือตัวจดจำเรื่องราวต่าง ๆ เริ่มทำงาน การกระทำในครั้งนี้ เมื่อตายไปท้าวเวชสุวรรณไม่รอช้า ตัดสินให้ตกลงสู่นรกอเวจีโดยไม่มีข้อต่อรองใด ๆ ทั้งสิ้น มิอาจกลับคืนมาได้อีก รอจนกว่าจะมีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นมาใหม่อีกครั้ง ซึ่งนับว่าเป็นการยากยิ่ง<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>></O:p>
    กรรมหนัก ๕ อย่าง ซึ่งให้ผลทันที ก็คือ<O:p></O:p>
    การฆ่าบิดา ๑<O:p></O:p>
    การฆ่ามารดา ๑<O:p></O:p>
    การฆ่า(คนดี)พระอรหันต์ ๑<O:p></O:p>
    การทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงโลหิตห้อขึ้นไป ๑<O:p></O:p>
    การยังสงฆ์ให้แตกแยกกัน (กรณีบุคคล คือการทำคนดีให้แตกแยกกัน)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2011
  2. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ในอริยมรรค ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ นั้นทำความเข้าใจง่าย (ก็คือศีลมาตรฐาน หรือ ศีล ๕ และสติปัฎฐาน ๔ ) ส่วน อริยมรรค ๖ ๗ และ ๘ ที่จะอธิบายต่อไปนี้ ก็คือ มหาสติปัฏฐานสูตร นั่นเองffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจ ระหว่างสติปัฏฐาน ๔ กับมหาสติปัฏฐานสูตรก่อน ว่ามันต่างกันอย่างไร<O:p></O:p>
    สติปัฏฐาน ๔ คือ การรู้ว่าตัวเรารู้สึกอย่างไร<O:p></O:p>
    มหาสติปัฏฐานสูตร คือ สิ่งใดที่เข้ามากระทบกับตัวเราแล้วทำให้เรารู้สึกสุขหรือทุกข์<O:p></O:p>

    สติปัฏฐานสูตร
    กาย สุข หรือ ทุกข์อุเบกขา ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    เวทนา สุข หรือ ทุกข์อุเบกขา <O:p></O:p>
    จิต กุศลหรืออกุศลอุเบกขา <O:p></O:p>
    ธรรม กุศลหรืออกุศล อุเบกขา <O:p></O:p>
    มหาสติปัฏฐานสูตร<O:p></O:p>
    กายในกาย <O:p></O:p>
    เวทนาในเวทนา<O:p></O:p>
    จิตในจิต<O:p></O:p>
    ธรรมในธรรม<O:p></O:p>
    เป็นการจับคู่ของอายตนะภายนอกซึ่งส่งต่อมายังอายตนะภายใน (อาการ 12) ซึ่งทำให้เราเห็นจิตที่เป็นกุศลและอกุศลอย่างชัดเจน <O:p></O:p>
    อายตนะ ๑๒ คือ<O:p></O:p>
    ตา สิ่งที่มากระทบคือ รูป<O:p></O:p>
    หู สิ่งที่มากระทบคือ เสียง<O:p></O:p>
    จมูก สิ่งที่มากระทบคือ กลิ่น<O:p></O:p>
    ลิ้น สิ่งที่มากระทบคือ รส<O:p></O:p>
    กาย สิ่งที่มากระทบคือ สัมผัส<O:p></O:p>
    ใจ สิ่งที่มากระทบคือ อารมณ์<O:p></O:p>
    มหาสติปัฏฐานสูตร จะเปรียบเทียบถึงอาหารจานหนึ่งให้ฟัง<O:p></O:p>

    (*รูปไม่สวยแต่อาหารอร่อย*) (* รูปสวยแต่อาหารไม่อร่อย*)<O:p></O:p>
    (*รูปไม่สวยอาหารก็ไม่อร่อย*) (*รูปสวยอาหารก็อร่อย*)<O:p></O:p>

    จะเปรียบเทียบ ในสูตรของรูปไม่สวยแต่อาหารอร่อยให้พิจารณา<O:p></O:p>
    ></O:p>
    เมื่อเราเข้าไปร้านอาหารร้านหนึ่ง เมื่ออาหารมาอยู่ตรงหน้า กับมองเห็นรูปที่ไม่สวย (หมายถึงทำไม่น่ากิน) เกิดสัมผัสแรกคือทางตา ทำให้จิตเราคิดไปว่า ทำไม่น่ากินคงจะไม่อร่อย แต่เมื่อเราลองกินเข้าไปแล้ว อาหารกับอร่อย ซึ่งไม่เหมือนกับความรู้สึกแรก นั่นคือการที่เราไปปรุงแต่งรูป ทำให้เกิดทุกข์ แต่เมื่อเรากินข้าวไปแล้ว ลิ้นเมื่อลองรสแล้วรู้สึกอร่อย ก็เปลี่ยนเป็นความรู้สึกทางด้านความสุข เพราะฉะนั้นเราจะเห็นการพิจารณากายในกาย ก็คือ ตาทำหน้าที่ปรุง<O:p></O:p>
    แต่งด้านทุกข์ ส่วนลิ้นทำหน้าที่รับความสุข สุขและทุกข์นั้นแหละ คือเวทนาในเวทนา จิตสองตัวก็จะทำหน้าที่สลับกัน คือสุข ก็คือกุศล และทุกข์ ก็คืออกุศล จิตที่เป็นกุศลและอกุศลนั้นแหละก็คือ ธรรมในธรรมและนี่คือ มรรค ๗ (ความระลึกชอบ) ก็คือ ฝ่ายหนึ่งคือความพอใจ อีกฝ่ายหนึ่ง คือความไม่พอใจ เราจึงถอนความพอใจ และความไม่พอใจออกพร้อมกันในคราวเดียว ชี้ให้เห็นว่าการที่เราเอาจิตไปสัมผัสอะไรสักอย่าง มันจะต้องมีทั้งสุขและทุกข์ คือเราจะรู้สึกทุกข์และเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ (ซึ่งเราเป็นผู้ปรุงแต่งมันทั้งสิ้น)<O:p></O:p>
    * แต่เมื่อเรา เจอทั้งรูปสวยและอาหารอร่อย ก็คือ เป็นกุศลทั้งสองฝั่ง เราควรพอกพูนอาการนั้นไว้ เพราะสิ่งเหล่านี้ เกิดขึ้นยากในโลกใบนี้<O:p></O:p>
    * แต่เมื่อเรา เจอรูปไม่สวยแต่อาหารอร่อย ก็คือ ฝึกให้เราไม่ปรุงแต่งทางตา เพราะเอตักตา หรือตัวรู้นั้นมีให้รู้ว่า เนื้อแท้ของสิ่งๆ นั้นคืออะไร คือคุณค่าที่แท้จริงของอาหาร คือ ความอร่อยและประโยชน์ที่ได้รับ<O:p></O:p>
    * แต่เมื่อเรา เจอรูปสวยแต่อาหารไม่อร่อย (โดยจิตปกติของมนุษย์จะคิดว่า เมื่อรูปสวยอาหารต้องอร่อยแน่ นั่นแหล่ะ ! ที่เราเรียกว่าการยึดมั่นถือมั่นในรูป) แต่เพียงแค่เราเข้าไปลองชิมครั้งเดียว เราก็ไม่อยากเข้าอีก (แต่ก็ยังคงมีคนหลงในรูปเข้าไปกิน แต่ไม่นานร้านนี้ก็จะถูกปิด)<O:p></O:p>
    * แต่เมื่อเรา เจอทั้งรูปไม่สวยและอาหารไม่อร่อย ร้านนั้นจะถูกปิดในไม่ช้า นั้นหมายถึง เป็นอกุศลทั้งรูปและนามและนี่คือ มรรค ๖ (ความเพียรชอบ) ที่จะละอกุศลธรรมที่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น และประคองกุศลธรรมที่เกิดขึ้น<O:p></O:p>
    ต่อไปเราจะใช้อริยมรรค ๖ และ ๗ ทำให้เกิดอริยมรรค ๘ นั่นคือฌานทั้ง ๔
    ย้อนกลับไปในเรื่องการพิจารณาในเรื่องของอาหาร เราจะเห็นสิ่งต่างๆ อย่างชัดเจน ทั้งการปรุงแต่งทั้งรูปและนาม นั่นก็คือการจำแนกรูปและนามอย่างชัดเจน หรือฌาน ๑ ก็คือ วิตก วิจารณ์ การปรุงแต่งทางตา และการปรุงแต่งทางลิ้น การบรรลุธรรมนั้น ไวยิ่งกว่าแมลงกระพือปลีก เมื่อเราใช้การนำเอากุศลมาซ้อนทับอกุศลไม่ให้เกิด ก็คือให้พิจารณา ถึงแม้รูปจะไม่สวย แต่อาหารก็อร่อย นั้นคือตัวรู้ของประโยชน์ในสิ่งนั้นอย่างแท้จริง จะไม่สนใจในรูปเพราะเราเข้าใจธรรมชาติของมัน แล้วก็ละตัวรู้นั้น (เหมือนเมื่อเรากินอาหารเข้าไปแล้ว ในคำแรก รู้ว่ารสชาติมันอร่อย คำต่อไปก็ไม่ต้องพิจารณาอีก) ดั่งที่กล่าวมาข้างต้น ฌาน ๑ ถึง ๔ จะทำงานโดยอัตโนมัติ เช่นกันกล่าวง่ายๆ ก็คือว่า การชำระจิตของตนให้ขาวรอบ ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ก็คือการมองโลกในแง่ดี อริยะอยู่ที่ใจ (มิใช่ที่ผ้า มันเป็นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น)<O:p></O:p>



    ฌาน ๑ ปฐมฌาน วิตก วิจารณ์ ปิติ สุขเอทัคตา ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ฌาน ๒ ทุติยฌาน ปิติ สุข <O:p></O:p>
    ฌาน ๓ ตติยฌาน วางเฉย สติ ปกติ แสวงสุขด้วย นามกาย (ความสุขใจ) <O:p></O:p>
    ฌาน ๔ จตุตถฌาน เพราะละสุข ละทุกข์เสียได้ เพราะรู้ว่าธรรมชาติเป็นอย่างนั้น <O:p></O:p>
    ประโยชน์ของมันคือสิ่งๆ นั้น กุศลธรรมในตัวมันคือสิ่งนั้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2011
  3. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    วิธีการนั่งสมาธิffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    การเริ่มต้นนั่งสมาธิ สิ่งสำคัญอีกอย่างคือคำสมาทาน เพื่อเสริมกำลังสมาธิ และเป็นการตั้งสัจจะวาจา<O:p></O:p>
    คำสมาทาน ด้วยอำนาจแห่งพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความจริงแห่งอริยสัจ ๔ ไตรลักษณ์ทั้ง ๓ และภพภูมิทั้ง ๓๑ จงดลบันดาลให้ข้าพเจ้ามี ศีล สมาธิ ปัญญา ฌาน และอภิญญา เพื่อความรู้ธรรม เพื่อความเห็นธรรมและเพื่อการพิจารณาธรรมยิ่งๆ ขึ้นไป<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ลำดับต่อไปก็จะเริ่มต้นการทำสมาธิ<O:p></O:p>
    จริงๆ แล้วการทำสมาธิ จะนั่งท่าไหนก็ได้ หรือจะใช้ท่านอนก็ได้ หลักการง่ายๆ ทั่วไปในเบื้องต้น<O:p></O:p>
    ๑. การภาวนา(ใช้เฉพาะผู้ที่ยังไม่ชำนาญในการดูลมหายใจ)<O:p></O:p>
    ๒. การดูลมหายใจเข้า-ออก ( อานาปานสติ )<O:p></O:p>
    ๓. สายตา <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เมื่อเริ่มต้นนั่งให้ดูลมหายใจ แล้วภาวนาตามลมหายใจเข้า-ออก (ให้ใช้ลมหายใจกำหนดการภาวนาอย่าใช้การภาวนากำหนดลมหายใจ) ต่อจากนั้นเมื่อหลับตา ให้กำหนดการมองไปข้างหน้าประมาณ ๑ ฟุต กำหนดจุดขึ้นมา ๑ จุดแล้วเพ่งอยู่อย่างนั้น สักพักก็ถอนคำภาวนา แล้วดูลมหายใจ จนลมหายใจละเอียดจนเหมือนตัวเองไม่ได้หายใจ ก็อย่าตกใจ สิ่งสำคัญคือสายตา ห้ามละจากจุดทีกำหนดไว้ เพราะเมื่อเราเพ่งอยู่อย่างนั้น เป็นการฝึกกสิณไปในตัว (เป็นหลักเบื้องต้น ของสมาบัติ ๘) หากมีการตึงบริเวณอยู่ตรงกลางหน้าผาก ให้ลืมตา มานิดหนึ่งประมาณ ๑ ส่วน ๔ ของการหลับตา นี่คือการฝึกสมาธิเบื้องต้น ซึ่งเป็นสมถกรรมฐาน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ต่อไปก็พัฒนา เพื่อพิจารณา สติปัฏฐาน ๔ (ก็คือ กาย เวทนา จิต ธรรม)<O:p></O:p>
    ๑. การพิจารณากาย<O:p></O:p>
    ก. อานาปานสติ (การดูลมหายใจเข้า - ออก เพราะมนุษย์อยู่ได้เพราะมีลมหายใจ)<O:p></O:p>
    ข. อิริยาบถ (กำหนดรู้เท่าทันอิริยาบถใหญ่ของกาย คือ ยืน เดิน นั่ง นอน และอิริยาบถย่อย เช่น คู้ งอ เหยียด มีสติตัวรู้ ตามอิริยาบถดังกล่าวข้างต้น เพื่อรักษามารยาทในขณะที่เราอยู่ในสังคมต่างๆ อันเป็นมารยาทที่พระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ ในหมวดของศีลเพื่อฝึกบุคลิกภาพ)<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ค. สัมปชัญญะ (กำหนดรู้เท่าทัน ผลของการเกิดจากอิริยาบถของกาย ยืน เดิน นั่ง นอนอย่างไรให้มีสติ หลักการพิจารณา มีสติ ตัวรู้ ระมัดระวัง เช่น การเดิน มิให้เดินไปในทางที่มีอันตราย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุร้าย การนั่งและการนอนอย่างมีสติ ก็คือ ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย ยกตัวอย่างเช่น สถานที่ที่มีที่มุงบัง ปราศจากยุง เหลือบ ลิ้น ไร สถานที่ใดเป็นที่ปลอดภัย สถานที่นั้นไร้ซึ่งความทุกข์ <O:p></O:p>
    ง. ปฏิกูลมนสิการ (พิจารณาให้เห็นความไม่สะอาดที่เกิดจากเหตุปัจจัยภายในและภายนอก)<O:p></O:p>
    จ. ธาตุมนสิการ (พิจารณาเห็นกายโดยการเป็นธาตุ ดิน น้ำ ไฟ ลม)<O:p></O:p>
    ฉ. นวัสวถิกา (พิจารณาซากศพในสภาพต่าง ๆ เพื่อให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของร่างกายว่าการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นของธรรมดา สังขาร ย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้)<O:p></O:p>
    ไม่ว่าจะเป็น ท่านั่งหรือท่านอน ให้กำหนดร่างกายของเราว่ามันเป็นของเที่ยง แต่เมื่อเรานั่งไปนานๆ ก็จะเกิดอาการเมื่อยล้า จะทำให้เราเข้าใจว่าแท้จริงแล้วมันไม่เที่ยง เมื่อเราเกิดอาการเมื่อยล้า จะทำให้เรามองเห็นทุกข์ นั่นคือความไม่เที่ยง เมื่อเราขยับเพื่อเปลี่ยนท่านั่ง เพื่อให้พ้นทุกข์ ก็จะทำให้เห็นเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ เพราะเราไปปรุงแต่งว่ามันเป็นของเที่ยง และเมื่อเราอยู่ในสมาธิ ความสงบนั้น นำมาพิจารณาร่างกาย เพราะเมื่อเราสงบ เราจะรู้ได้ว่า ร่างกายนั้นมีอาการเจ็บป่วยที่ตรงไหน เป็นวิธีเอ็กซเรย์โดยธรรมชาติ เมื่อลมหายใจเป็นปกติ ก็จะทำให้ความดันเลือดอยู่ในระดับปกติ เป็นการรักษาโดยธรรมชาติอีกวิธีหนึ่ง นี่คือประโยชน์ของการนั่งสมาธิ และเมื่อเราพิจารณาข้ามไปยังโลกุตรธรรม เราจะเห็นตัวธรรมในร่างกายของเรา ก็คือเมื่อเราทานอาหารเข้าไปก็จะเห็นได้ว่า แม้ร่างกายตัวเองมันยังแยกแยะกุศลธรรมและอกุศลธรรมในตัวมันคือ มันเอาสารอาหารที่มีประโยชน์เข้าสู่ร่างกาย และขับถ่ายของเสียออกมา<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ๒. การพิจารณาเวทนา จิต ธรรม<O:p></O:p>
    ก็คือว่า ร่างกายมันเป็นสุขหรือทุกข์ จิตมันเป็นสุขหรือทุกข์ ธรรมอันเป็นกุศลหรืออกุศล โดยเอา (มหาสติปัฏฐาน ๔) ที่กล่าวมาทีแรกเข้ามาเป็นตัวช่วยหากจิตมันเป็นอกุศล แต่ระวังว่าเราจะไปเข้าข้างกิเลสโดยไม่รู้ตัว ต้องเอาศีลมาเป็นตัวควบคุม ถ้าทำตามขั้นตอนดังกล่าว จิตก็จะสงบ ระงับเองโดยธรรมชาติ<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2011
  4. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    การเดินจงกรม (การเดินกลับไปกลับมา)ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    วิธีการเดินจงกรม<O:p></O:p>
    การเดินจงกรม คือการเดินในท่าปกติ ในลักษณะเดินกลับไปกลับมา อาจจะกำหนดระยะที่ 6 ก้าว หรือ 10 ก้าวแล้วแต่พื้นที่ ให้เดินตัวตรง ไม่ควรเดินก้มหลัง การก้าวเท้าควรให้พอเหมาะ ถ้าเร็วเกินไป ก็ปรับให้ช้าลง ถ้าช้าเกินไป ก็ปรับให้เร็วขึ้น ก้าวท้าวอย่างสม่ำเสมอให้ฝ่าเท้าลงพื้น ในแนวราบ เสมอกัน มือทั้งสองช่วยพยุงจะทำให้ร่างกาย ไม่ให้เสียสมดุล วางไว้ด้านหลัง หรือปล่อยแบบธรรมดาก็ได้ เมื่อถึงจุดที่กำหนดก็หยุดยืนนิ่ง ๆ สักพักก่อนที่จะกลับตัวเดินต่อไป หรือให้ขณะหยุดก็เพ่งพินิจดูจิตตัวเองว่าคิดอะไรอยู่ก็ได้ และเพื่อเป็นการฝึกบุคลิกภาพไปในตัว เพื่อนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง(สติปัฏฐานสี่ในท่าเดิน และยืน) <O:p></O:p>
    การเดินเพื่อสร้างสติ ควรปล่อยเดินตามปกติ เปิดประสาทรับรู้ทั้งหมด<O:p></O:p>
    ดังปรากฏในอินทรียภาวนาสูตรว่า<O:p></O:p>
    มี พราหมณ์ คนหนึ่งมาบอกพระพุทธเจ้าว่า เราได้ปิดกั้น ประตูทางเข้าไว้ทั้งหมดแล้ว คือ ปิดตาปิดหู ไม่รับรู้อะไรอารมณ์แล้วทางอินทรีย์ คือการสำรวมอินทรีย์ที่ถูกต้อง พระพุทธเจ้าตรัสตอบกลับไปว่า ไม่ต่างอะไรกับคนหูหนวก ตาบอด การฝึกที่ถูกต้อง คือ เปิดอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่มีสติรู้เท่าทันสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับจิต<O:p></O:p>
    โดยปกติมนุษย์มองดูด้วยสายตาก็รู้ว่าว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรคือสิ่งที่ควรทำ หรือไม่ควรทำ สิ่งที่ได้ยิน ควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ เช่น หากเราเจอใครสักคนหน้าตาดี แต่งตัวดี พูดจาดี แล้วมาบอกเราว่า เขาทำงานดี มีกิจการใหญ่โตมากมาย ก็อย่าเพิ่งไปเชื่อ ดังคำกล่าวที่ว่า ( เห็นสักแต่ว่าเห็น ได้ยินสักแต่ว่าได้ยิน) จนกว่าจะได้พิสูจน์ว่าเขาทำงานดีจริง มีกิจการใหญ่โตจริง ซึ่งในชีวิตปัจจุบัน ผู้คนจำนวนมากถูกพวกมิจฉาชีพหลอกด้วยลักษณะนี้มากมาย เช่น แต่งตัวดี คำพูดน่าเชื่อถือ หลอกให้เราลงทุนนั่นลงทุนนี้ แต่สุดท้ายก็หลอกให้เราเสียเงินไปมากมาย ลักษณะเช่นนี้แหล่ะที่เรียกว่าเราไปหลงในรูป คือการแต่งกายหรือหน้าตา หลงในเสียง คือคำพูดที่น่าเชื่อถือ เพราะยังไม่ได้พิสูจน์ข้อเท็จจริง (หรือที่เรียกว่าสภาวธรรมตามความเป็นจริง ดังคำกล่าวที่ว่า เห็นรอยเท้าช้าง อย่าคิดว่าเป็นช้างพลาย ให้ได้ไปเจอตัวจริงเสียก่อน) หรือลักษณะที่ว่า หากมีใครมาว่าใครสักคนให้เราฟัง เราก็อย่าเพิ่งไปเชื่อ (ได้ยินสักแต่ว่าได้ยิน) จนกว่าเราจะได้รู้จักเขาจริง ๆ และพิสูจน์ว่าเขาเป็นคนอย่างนั้นจริง ๆ เพราะฉะนั้นหลักการกำหนดในการเดินหรือยืนที่ถูกต้องก็คือ <O:p></O:p>
    ตา สายตามองไปข้างหน้า ทอดสายตาต่ำประมาณ 5 ก้าว เพราะโดยปกติมนุษย์สามารถรับรู้ได้ด้วยการมอง เช่นรู้ว่าข้างหน้ามีอะไรอยู่เช่น มีสัตว์ไหม มีตะปูไหม ทางขรุขระไหม และมนุษย์ก็รับรู้ได้จากการมองว่า การกระทำไหน ดีหรือชั่วอย่างไหร่ ทางที่เดินไปนั้นมีอันตรายมากน้อยแค่ไหนอย่างไหร่ ควรจะหลีกเลี่ยงไหม<O:p></O:p>
    หู เปิดรับรู้ทางประสาทหู เช่น หากเดินอยู่ เราได้ยินเสียงรถหวอ แสดงว่าบริเวณนั้นอาจเกิดไฟไหม้ หรืออาจมีรถวิ่งมาหรือเราอาจจะได้ยินเสียงหมาเห่า อาจทำให้เรารู้สึกหงุดหงิด แต่ก็ให้รู้ว่าธรรมชาติของหมามันเป็นอย่างนั้น ถ้ามันไม่เห่าก็คงไม่ใช่หมา (การเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติ) หรือได้ยินเสียงคนคุยกันอาจจะเกิด ความขุ่นเคืองในใจ ขณะเราเดินจงกลม ก็ให้รู้ว่านี้มันคือธรรมชาติของคน ที่ต้องพูดคุยต้องกิน ต้องทำงานเลี้ยงชีพ หรืออาจจะได้ยินเสียงคนไอหรือจาม ก็ให้รู้ว่าเขาไอเขาจามเพราะเขาไม่สบาย เป็นธรรมดาของการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย หากเราไม่เรียนรู้เรื่องพวกนี้ พอเราได้ยินเสียงอะไรมากระทบหู เราก็อาจเกิดโทสะขึ้นได้ ( เพราะฉะนั้นการให้คนทั้งโลกมาทำความเข้าใจเรานั้นคงเป็นไปได้ยาก แต่หากเราคนเดียวพยายามทำความเข้าใจโลกใบนี้มันเป็นไปได้ง่ายกว่า หรือเหมือนคำกล่าวที่ว่า หากมีคนร้อยคนมาชี้หน้าว่าคุณทำได้แต่คุณไม่ทำ คุณก็ไม่มีทางทำมันได้ แต่ในทางตรงข้าม หากมีคนร้อยคนมาชี้หน้าคุณว่าคุณทำไม่ได้ แต่คุณทำ คุณมีสิทธิ์ทำได้ ฝากแง่คิดไว้นิดหนึ่งว่า “หากวันนี้เราคิดว่าเราแพ้ พรุ่งนี้ก็จะไม่เหลืออะไรให้เราต่อสู้อีก”<O:p></O:p>
    จมูก เช่น การได้กลิ่นทำอาหาร แสดงว่าบริเวณนั้นมีการทำอาหารอยู่หรือได้กลิ่นเหม็นจากกองขยะ<O:p></O:p>
    ลิ้น อาจไม่มีการสัมผัสขนาดเดินจงกลม<O:p></O:p>
    กาย ในขณะที่เราเดิน เมื่อฝ่าเท้าไปกระทบ เราจะสัมผัส ได้ว่าอ่อนหรือแข็ง พอใจหรือไม่พอใจ เช่นมนุษย์ ถ้าเดินในพื้นเรียบก็รู้สึกพอใจ แต่ถ้าเจอขรุขระก็รู้สึกไม่พอใจ เพราะฉะนั้นถ้าเราเดินในที่ขรุขระ เราก็จะไม่พอใจ ทำให้จิตเป็นอกุศล เราก็เปลี่ยนมาเดินในที่เรียบ เพื่อให้เกิดความพอใจ เพื่อให้จิตเป็นกุศล ถ้าเลี่ยงไม่ได้ก็ให้มองในแง่ดีว่าเราก็แค่เดินผ่านแค่ชั่วครู่ชั่วคราวเท่านั้น ในทางที่ขรุขระ ก็จะถอนทั้งความพอใจและไม่พอใจออกไปได้ เพราะชีวิตเราคงไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบเสมอไป ต้องประสบกับสุขบ้างหรือทุกข์บ้างเป็นเรื่องธรรมดา หรือเจอกับอากาศ เย็นบ้าง หรือ ร้อนบ้าง ถ้าเย็น ก็หาผ้ามาใส่ ถ้าร้อนก็ไปอาบน้ำ หรือเรียกลักษณะนี้ว่า การรู้ตัวทั่วพร้อมและรู้จักการแก้ปัญหาเมื่อเวทนามันเกิด ซึ่งลักษณะของธรรมมะอาจยกตัวอย่างในลักษณะที่ว่า พอเราตื่นขึ้นตอนเช้าเราก็รู้สึกหิว ความหิวนั้นเป็นทุกข์ เมื่อเราได้กินทุกข์ก็ดับเข้าสู่ความปกติก็คือไม่หิว พอกลางวันก็หิวอีก พอได้กินความหิวก็ดับ พอตอนเย็นก็หิวอีก(ความหิวเป็นทุกข์) พอได้กินอิก ความหิวก็ดับเข้าสู่ภาวะปกติ เพราะฉะนั้นเราก็จะเห็นได้ว่ามีแต่ทุกข์เท่านั้นที่เกิด กับทุกข์เท่านั้นที่ดับ แล้วไอ้ที่ว่าสุขมันอยู่ตรงไหน เหมือนกันเวลาเราไม่สบาย เราก็เป็นทุกข์ พอเราได้กินยา เราก็หาย ทุกข์ก็ดับ เข้าสู่ภาวะปกติ เพราะฉะนั้นวิธีแก้หิวคือ ถ้าเราจะรู้สึกจะต้องรู้สึกหิวตอนแปดโมงเช้าเราก็กินมันตอน เจ็ดโมงห้าสิบ ความหิวมันก็ไม่เกิด หากไม่อยากเจ็บป่วย ไม่สบาย ก็ควรหมั่นออกกำลังกาย วิธีแก้ทุกข์มันก็แค่นี้เอง เขาเรียกสภาวะธรรมตามความเป็นจริง <O:p></O:p>
    ใจ เมือมีเวทนาเกิด ก็รับรู้ว่า นี่คือ สุข หรือทุกข์ พอใจหรือไม่พอใจอย่างไรแล้วก็ใช้ปัญญาแก้หรือหาอุบายออกจากทุกข์ดังที่อธิบายมาในตอนต้น<O:p></O:p>
    ลักษณะการเดินจงกลม มีสองลักษณะ<O:p></O:p>
    คือ 1 . เดินดูตามสภาวะธรรม ที่อธิบายไปแล้วข้างต้น<O:p></O:p>
    2. เดินเพ่งพินิจดูจิตว่าตอนนี้มีอะไรติดค้างในจิต มีอะไรวิตกกังวลไหม จิตเป็นกุศล หรืออกุศล หรือ รู้สึกเฉย ๆ<O:p></O:p>
    ถ้ารู้สึกเฉย ๆ แสดงว่าอารมณ์ ปกติ แต่ถ้าผิดปกติ ก็ควรหาวิธีแก้อารมณ์นั้น เช่น เราอิจฉาคนอื่นที่เขาทำอะไรได้ดีกว่าเรา ก็ควรหาวิธีทำให้ได้ดีเหมือนเขา และเวลาเดินจงกลมก็เดินคิดหาวิธีที่จะทำให้ได้ดีเท่าเขา ถ้าใช้วิธีที่ผิดก็คือหาวิธีกลั่นแกล้งเขา หรือ ให้ร้ายเขา เพราะมนุษย์นั้นได้ชื่อว่าเป็นผู้มีปัญญา แต่ว่าจะใช้ปัญญาในทางที่ผิดหรือถูกเท่านั้นเอง ข้อดีของการเดินพิจารณาก็คือสมาธิขณะเดินจงกรมนั้นตั่งอยู่ได้นาน เพราะจะไม่ค่อยเกิดอาการเมื่อยหล้าขึ้นง่ายเหมือนการนั่งสมาธิ เช่นกันหากเรารู้สึกเมื่อยเวลาเรานั่งก็ให้เปลี่ยนถ่ายอริยะบท แต่ก่อนมีจะเปลี่ยนท่า ให้เอาสติไปรู้ในตัวเวทนาว่า สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา พอเรานั่งไปอีกก็จะเกิดอาการเมื่อยอีก ก็กำหนดเช่นเดิม เพื่อให้เข้าใจว่า “สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เมื่อเกิดขึ้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา การละสังขารได้เป็นความสุข” หรือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดา จงอย่าดำรงชีวิตด้วยความประมาท จงเป็นบัณฑิตละธรรมดำเสียแล้วเจริญธรรมขาว “ผู้ใดละบุญ ละบาป ไม่เบียดเบียนใคร ไม่ทำร้ายใคร ประพฤติพรหมจรรย์ มีสติรู้เท่าทันอยู่กับปัจจุบัน เราเรียกผู้นั้นว่า ภิกษุ เรียกว่า สมณะ”<O:p></O:p>
    <O:p
    อานิสงค์การเดินจงกรม 5 อย่างคือ<O:p></O:p>
    1. เดินทางไกลได้ทน<O:p></O:p>
    2. อดทนต่อความเพียร<O:p></O:p>
    3. มีอาพาธน้อย<O:p></O:p>
    4. อาหารย่อยง่าย<O:p></O:p>
    5. สมาธิตั้งได้นานขณะเดินจงกรม<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2011
  5. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ต่อมา เพื่อเป็นการเรียนรู้ธรรม ก็คือ อนุสสติ (ธรรมควรระลึก ๑๐ อย่าง) มาพิจารณาffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ๑. พุทธานุสติ ก็คือการถึงบุญคุณของพระพุทธเจ้า มันจะเกี่ยวกับพุทธประวัติ (หาศึกษาได้ทั่วไป) ก็จะมองเห็นความเพียรพยายามของพระพุทธองค์ ในการตรัสรู้ ก็จะเกิดศรัทธา และปิติ<O:p></O:p>
    ๒. ธัมมานุสติ ก็คือการถึงบุญคุณของพระธรรม ที่ทำให้เราได้พ้นทุกข์ ก็จะเข้าสู่หมวดการเลือกเฟ้นธรรม<O:p></O:p>
    ๓. สังฆานุสติ ก็คือการถึงบุญคุณของพระอริยะสงฆ์ ที่ท่านได้ทุ่มเทเพื่อเผยแผ่พุทธศาสนา<O:p></O:p>
    ๔. สีลานุสติ ก็คือการถึงคุณของศีล ที่นำเราไปสู่นิพพาน หนทางแห่งการพ้นทุกข์<O:p></O:p>
    ๕. จาคานุสติ ก็คือการระลึกถึงทานที่ตัวเองได้บริจาค ก็จะเกิด ปิติ<O:p></O:p>
    ๖. เทวตานุสติ ก็คือเอาหมวด ๑ ถึง ๕ มาเป็นการกำหนด เมื่อปฏิบัติตามแล้ว ขั้นต่ำก็เกิดมาเป็นเทวดา<O:p></O:p>
    ๗. มรณสติ ก็คือระลึกความตายที่จะมีแก่ตน จะได้มีชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาท (โดยมีสติเป็นตัวควบคุม)<O:p></O:p>
    ๘. กายคตาสติ ก็คือเห็นว่าร่างกายนี้มันเป็นของไม่งาม ในข้อนี้จะข้ามไปถึง หมวดพิจารณาซากศพ ๑๐ อย่าง เพื่อให้เห็นว่าสังขารทั้งหลายมีการเสื่อมไปเป็นธรรมดา ยกตัวอย่างเช่น การพิจารณาเส้นผม เมื่อเราแต่งทรงผมแล้ว มันไม่สามารถทรงตัวอยู่ในสภาพนั้นได้ คือมันต้องยาว และก็น่าเกลียดพะรุงพะรัง ฟันเมื่อเราแปรงแล้วก็จะสะอาด แต่พอเมื่อรับประทานอาหารเข้าไป ก็จะเกิดกลิ่นปาก ก็จะมองเห็นความไม่งาม ความน่าเกลียด ทำให้ถอดถอนการยึดมั่นถือมั่นได้ หรือในหมวดของเครื่องแต่งกาย เมื่อเราหยิบมันใส่ทีแรกมันก็ยังใหม่ แต่ใส่ไปสักพัก ก็จะสกปรก ทั้งผลกระทบภายนอกและภายใน เมื่อเราใส่ไปร่างกายก็จะมีเหงื่อไคล ทำให้เสื้อนั้นเหม็นสกปรก จะทำให้เราเห็นว่ามันใส่เพื่อปกปิดร่างกายเท่านั้น เพราะไม่ว่าราคาแพงแค่ไหน ใส่แล้วก็ยังคงต้องไปซักอยู่ดี ทำให้เราเข้าใจธรรมชาติของมัน ว่าจริงแล้วมันใช้ประโยชน์อะไร กุศลธรรมมันคืออะไร เพราะไม่ว่าจะเป็นหมวดไหนก็ใช้การพิจารณาแบบเดียวกั (รวมทั้งการเดินจงกลมด้วย)<O:p></O:p>
    ๙. กำหนดลมหายใจ อานาปานสติ ดูลมหายใจเข้า-ออก พิจารณาให้เห็นชัดคือ เมื่อเรายังมีลมหายใจอยู่ จะมัวนั่งหายใจทิ้งอยู่ทำไม ควรทำประโยชน์อะไรให้กับสังคมบ้าง<O:p></O:p>
    ๑๐. อุปสมานุสติ ก็คือระลึกถึงคุณของพระนิพพาน ซึ่งทำให้เราได้พ้นจากกองทุกข์นั้นเอง<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ผู้ใดที่นั่งสมาธิแล้วไม่ยกตัวเองขึ้นสู่วิปัสสนากรรมฐาน มองเห็นการเกิดดับต่างๆ ของสังขาร ตาม<O:p></O:p>
    กฎของไตรลักษณ์(สามัญลักษณะ ๓ อย่าง) ความไม่เที่ยง ๑ ความเป็นทุกข์ ๑ ความยึดมั่นในตัวตน ๑<O:p></O:p>
    ก็เท่ากับว่า ผู้นั้นได้แต่นั่งรอพระอาทิตย์…ขึ้นทางทิศตะวันตก”<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  6. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    เมื่อเราใช้หลักพิจารณาแบบนี้แล้ว ก็จะสมบูรณ์ด้วย โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ และเป็นการละffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    นิวรณ์ ๕ ไปในตัวคือ ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ ๑ การปองร้ายผู้อื่น ๑ จิตหดหู่และเซื่องซึม ๑<O:p></O:p>
    ความฟุ้งซ่านและรำคาญใจ ๑ ความลังเลสงสัย ๑ <O:p></O:p>
    (ธรรมเป็นเครื่องเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้) ก็คือ<O:p></O:p>
    สติปัฏฐาน ๔(ที่มาของสติ)
    การพิจารณากาย๑
    การพิจารณาเวทนา๑
    การพิจารณาจิต๑
    การพิจารณาธรรม ๑
    สัมมัปปธนา ๔ (ความเพียรชอบ)
    ความเพียรระวังบาปไม่ให้เกิดขึ้นในสันดาน ๑
    เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๑
    เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๑
    เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม ๑
    อิทธิบาท ๔ (องค์ประกอบที่ทำให้สำเร็จสมปรารถนา)<O:p></O:p>
    พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น, ในธรรม๑<O:p></O:p>
    พากเพียรประกอบสิ่งนั้น, เพียรเจริญธรรม๑<O:p></O:p>
    เอาใจฝักใฝ่ไม่ท้อถอย ๑<O:p></O:p>
    หมั่นติตรองพิจารณาทบทวนเหตุผลนั้น ๑<O:p></O:p>
    อินทรีย์ ๕ (ธรรมอันเป็นใหญ่ในหน้าที่ของตน)<O:p></O:p>
    พละ ๕ (ธรรมอันเป็นกำลัง)<O:p></O:p>
    ความเชื่อ ๑ ความตั้งใจมั่น๑<O:p></O:p>
    ความเพียร ๑ ความรู้ทั่วถึงในสิ่งที่ควรรู้๑<O:p></O:p>
    ความระลึกได้ ๑ <O:p></O:p>
    โพชฌงค์ ๗ (อริยทรัพย์ ๗ อย่าง) (ธรรมะที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้)
    ความระลึกได้๑ปัญญาอันเห็นชอบ ๑<O:p></O:p>
    ความเลือกเฟ้นธรรม๑ความดำริชอบ ๑ <O:p></O:p>
    ความเพียร๑วาจาชอบ ๑<O:p></O:p>
    ความอิ่มใจ๑การกระทำชอบ ๑<O:p></O:p>
    ความสงบใจและอารมณ์๑เลี้ยงชีวิตชอบ ๑<O:p></O:p>
    ความมีใจตั้งมั่น๑ความเพียรชอบ ๑<O:p></O:p>
    ความมีใจเป็นกลางวางเฉยอย่างมีสติกำกับ๑ความระลึกชอบ ๑<O:p></O:p>
    ความตั้งใจมั่นชอบ ๑<O:p></O:p>
    อริยมรรคมีองค์ ๘ (ทางแห่งหารพ้นทุกข์)
    ปัญญาเห็นชอบ ๑
    ความดำริชอบ ๑
    วาจาชอบ ๑
    การกระทำชอบ ๑
    การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑
    ความเพียรชอบ ๑
    ความระลึกชอบ ๑
    ควาวตั่งใจมั่นชอบ ๑


    โพธิปักขิยธรรม แปลว่า ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ นำผู้ปฏิบัติให้บรรลุมรรคผลและนิพพาน<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  7. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    อภิญญา ๖ และ วิชชา ๘ ( ความรู้ยิ่ง )ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ทิพพจักขุ ๑ (ญาณที่ทำให้มีตาทิพย์) หมายถึงการที่เรามีความสามารถในการที่มองเข้าไปเห็นจิตใจของผู้อื่นได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อเราอยู่บนรถโดยสาร มีผู้โดยสารคนหนึ่ง ลุกจากที่นั่งเพื่อลงจากรถ ในขณะที่นั่งนั้นว่าง ก็มีผู้หญิงคนหนึ่งกำลังที่จะเดินไปนั่ง แต่ผู้ชายคนหนึ่งกับไปแย่งที่นั่งของผู้หญิงคนนั้น ทำให้เราได้เห็น ความเห็นแก่ตัวของคนๆ นั้น <O:p></O:p>
    ทิพพโสต ๑ (ญาณที่ทำให้มีหูทิพย์) หมายถึงหากเราได้ยินคนๆ หนึ่งกำลังนินทาใส่ร้ายป้ายสีผู้อื่น ทำให้รู้ว่าเขามีความอิจฉาริษยาผู้อื่น<O:p></O:p>
    เจโตปริยญาณ ๑ (ฌานที่กำหนดรู้ใจคนอื่นได้) หมายถึงสิ่งที่เราเห็นและเราได้ยิน สามารถรับรู้ว่าบุคคลคนนั้นมีนิสัยใจคออย่างไร โดยอาศัยการวิเคราะห์จากมลทิน ๙ อย่างคือ<O:p></O:p>
    ( โกรธ ๑ หลบหลู่ ๑ ริษยา ๑ ตระหนี่ ๑ มายา ๑ โอ้อวด ๑ พูดปด ๑ มักมาก ๑ หลงไม่รู้ ๑ ) <O:p></O:p>
    อิทธิวิธี ๑ (ความรู้ที่ทำให้แสดงฤทธิ์ต่างๆ ได้) มี ๒ วิธี <O:p></O:p>
    ๑. การเข้าโดยอาศัยสมถกรรมฐาน(สมาบัติ ๘)<O:p></O:p>
    ตาทิพย์ สามารถมองเห็นกายทิพย์ของภูมิต่าง ๆ ได้<O:p></O:p>
    หูทิพย์ สามารถได้ยินเสียงสนทนาของภูมิต่าง ๆ ได้ <O:p></O:p>
    เหตุเกิดจากผู้ที่รักษาความยาวนานของสมาธิ เท่ากับสามารถรักษาจิตตัวเอง โดยการกำหนดอย่างใดอย่างหนึ่งจนเกิดความเคยชิน ผลของการที่ไม่เคลื่อนไหว ก็ได้รับอานิสงส์ของการรักษาศีลไปในตัว<O:p></O:p>
    ๒. การเข้าโดยผ่านวิปัสสนากรรมฐาน ฌานทัศนะ<O:p></O:p>
    อย่างที่เข้าใจว่า การนั่งสมาธิจะใช้หลักวิปัสสนาสลับกับสมถกรรมฐาน คืออธิบายง่ายๆ เมื่อไม่มีอะไรที่จะต้องพิจารณา จิตก็สงบ ความสงบของสมณะผุ้สำเร็จอรหันต์ เหล่าเทวดาก็ต่างชื่นชม<O:p></O:p>
    และเมื่อได้ยินคำเทศนาธรรมของท่านเหล่านั้น ก็รู้สึกเลื่อมใส ก็จะเฝ้าคอยอารักขา เพราะฉะนั้นอิทธิฤทธิ์ต่าง ๆ ไม่มีในตัวเรา เกิดจากเหล่าบรรดาเทพผู้เลื่อมใสคอยปกป้องคุ้มครอง และส่วนใหญ่<O:p></O:p>
    ก็จะถูก รับเชิญไปท่องในภูมิต่าง ๆ หรือที่เราเรียกกันว่า ฌานทัศนะ (การถอดจิตวิญญาณ)<O:p></O:p>
    ปุพเพนิวาสานุสสติ ๑ (ญาณที่ทำให้ระลึกชาติได้) โดยปกติผู้ที่หมั่นรักษาจิตเป็นประจำ ย่อม<O:p></O:p>
    มีฌานตัวนี้อยู่<O:p></O:p>
    อาสวักขยญาณ ๑ ( ญาณที่ทำให้อาสวะสิ้นไป ) เป็นการหยั่งรู้ว่าสัตว์ที่ตายแล้วไปเกิดอยู่ภพภูมิไหน<O:p></O:p>
    ๕ ข้อแรก เป็น โลกียอภิญญา ข้อสุดท้ายเป็น โลกุตตรอภิญญา<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  8. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    “เราปลูกต้นไม้ใหญ่เพียง.....เพื่อหวังอาศัยร่มเงาของใบffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    แต่ก็ไม่อาจห้ามดอกผลที่เกิดขึ้นจากต้นไม้นั้นได้.....ฉันใด<O:p></O:p>
    ก็เหมือนเรานั่งสมาธิเพียง.....เพื่อความสงบร่มเย็นในใจ<O:p></O:p>
    แต่ก็ไม่อาจห้าม คุณวิเศษ อันเกิดจากผลของสมาธินั้นได้....ฉันนั้น”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “เพราะอาศัยความทะยานอยาก จึงมีการแสวงหา<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมีลาภ<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยลาภ จึงมีการวินิจฉัย<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยการวินิจฉัย จึงมี ความกำหนัด ด้วยอำนาจแห่งความพอใจ<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยอำนาจแห่งความพอใจ ก็เลยมีการฝังใจ<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยการฝังใจ จึงมีการหวงแหน<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยความหวงแหน จึงมีความตระหนี่<O:p></O:p>
    เพราะอาศัยความตระหนี่ จึงมีการอารักขา<O:p></O:p>
    เพราะมีการอารักขา เป็นเหตุ ! จึงมีการจับท่อนไม้ การจับอาวุธ การทะเลาะ<O:p></O:p>
    การแตกแยก การกล่าวขัดแย้งกัน การชี้หน้ากัน การพูดส่อเสียด พูดปด<O:p></O:p>
    และธรรมที่เป็นบาป เป็นอกุศล”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “การนินทา สรรเสริญ มีมานานแล้ว ไม่ใช่เพิ่งมี นิ่ง ๆ เฉย ๆ ก็ถูกนินทา พูดมากก็ถูก<O:p></O:p>
    นินทา พูดน้อยก็ถูกนินทา ผู้ไม่ถูกนินทาไม่มีในโลกทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต<O:p></O:p>
    ผู้ถูกนินทา หรือได้รับการสรรเสริญเพียงอย่างเดียว ไม่มีในโลกนี้”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “คนมักอวด หลบหลู่ ริษยา ใส่ร้ายป้ายสี ปิดบังความดีของผู้อื่น<O:p></O:p>
    บัณฑิต พึงรู้ไว้เถิด คนเหล่านั้นเป็น...คนเลว”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “พึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ<O:p></O:p>
    ชนะคนไม่ดี ด้วยความดี<O:p></O:p>
    ชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้<O:p></O:p>
    ชนะคนพูดเหลวไหล ด้วยคำสัตย์จริง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “จงรู้จักให้อภัยผู้อื่น เหมือนกับที่ให้อภัยตัวเอง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “หมั่นทำความดีเป็นนิจ กับมิตรที่ซื่อตรง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ศัตรูที่เปิดเผย ย่อมดีกว่ามิตรที่อำพราง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “นักเดินทางไกล เที่ยวสะสมเสบียง เรี่ยไร่ แบกไว้ แวะกินตามทาง<O:p></O:p>
    บัณฑิต พอแล้ว วางไว้ ให้คนหลัง เพราะรู้แจ้ง นิพพาน”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “กลางคืนยาวนาน สำหรับคนนอนไม่หลับ ทางโยชน์เดียว ไกลมากสำหรับผู้เมื่อยล้า <O:p></O:p>
    สังสารวัฏ ยาวนานมาก สำหรับ คนเขลา ไม่รู้แจ้ง สัจธรรม” <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “บัณฑิต หากท่านยังไม่เจอคนที่ดีกว่า หรือเสมอตน จงเดินไปในทาง<O:p></O:p>
    เพียงผู้เดียวเถิด เพราะความเป็นสหายในคนพาลหามีไม่”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “คนนั่งนิ่ง ๆ เฉย ๆ ไม่ใช่บัณฑิต <O:p></O:p>
    คนฉลาด จะเลือกสิ่งที่ถูกไว้ และคัดสิ่งที่ผิดทิ้งไป”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ถึงแม้ร่างกายจะไม่อิสระ แต่สมองก็เสรีเสมอ”<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    “บัณฑิตผู้สำรวม กาย วาจา ใจ กล้าหาญ เด็ดเดี่ยว เป็นนักรบโดยชอบธรรม<O:p></O:p>
    รู้จักคิด รู้จักพูด รู้จักทำ พึงรู้เถิดว่า ท่านเป็น อริยะ ผู้ชนะโลก ๓”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ลาภ ยศ สรรเสริญ ศรัทธา บารมี ไม่มีในคัมภีร์ของ อริยะ<O:p></O:p>
    เพราะเป็นไปไม่ได้ที่ อริยะ จะมีจิตลำเอียง ไปข้างใดข้างหนึ่ง”<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    “คนทำบาปเอง.....ก็เศร้าหมองเอง คนไม่ได้ทำบาป.....ก็บริสุทธิ์เอง<O:p></O:p>
    ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์ เป็นของเฉพาะตน คนอื่นทำแทนไม่ได้”<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ผลของบุญก็คือ บาปที่ยังไม่ได้ทำ ผลของกรรม สิ่งที่ยังไม่ได้ทำก็คือ (อภัย) ทาน”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ความโลภ ไม่เกิดกับ ผู้ซื่อสัตย์<O:p></O:p>
    ความโกรธ ไม่เกิดกับ ผู้มีปัญญาตั่งมั่น<O:p></O:p>
    อวิชชา ไม่เกิดกับ ผู้รู้แจ้ง มรรค ผล นิพพาน”<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    “โลกุตรธรรม เปรียบเหมือน... แผ่นฟ้า<O:p></O:p>
    โลกียธรรม เปรียบเหมือน... แผ่นดิน<O:p></O:p>
    มองไปไกล ๆ เห็นแผ่นดินจรดกับเส้นขอบฟ้า<O:p></O:p>
    ก้าวเดินเท่าไหร่ ก็ไป....ไม่ถึง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “มหาสมุทรกั้นแผ่นดินสองฝั่งไว้ คลื่นลมเซาะแผ่นดิน ให้แผ่นน้ำกว้างใหญ่เพียงใด<O:p></O:p>
    สัจธรรมที่แผ่ไปไกลของบัณฑิต ห่างจากคนพาล ไกลกันเกินกว่านั้น”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ใบของต้นหญ้า มิได้ต่างอะไรกับต้นข้าว<O:p></O:p>
    แต่ต้นข้าว ต่างจากต้นหญ้า เพราะเมล็ดของข้าว<O:p></O:p>
    บัณฑิต ต่างจากคนพาล เพราะผลของปัญญา”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “เพชร มีค่า เพราะทนต่อการเจียระไน... ฉันใด<O:p></O:p>
    บัณฑิต หมั่นฝึกฝนตนเอง ย่อมงดงามกว่ารัตนะใด ๆ ...ฉันนั้น”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “พิษของงูแก้ผู้ถูกพิษของงูได้....ฉันใด บัณฑิตพึงแก้ไขตัวตน ด้วยตัวเอง...ฉันนั้น”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “เมื่อขันธ์ ๕ ดับไป ขันติ ก็เลิกใช้เช่นกัน”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    บรรดาทางทั้งหลาย...<O:p></O:p>
    มรรคมีองค์แปด ประเสริฐที่สุด<O:p></O:p>
    บรรดาบททั้งหลาย...<O:p></O:p>
    บทที่สี่ คืออริยสัจ ประเสริฐที่สุด<O:p></O:p>
    บรรดาธรรมทั้งหลาย…..<O:p></O:p>
    วิราคะ คือ การปราศจากความกำหนัดยินดี ประเสริฐที่สุด<O:p></O:p>
    บรรดาสัตว์สองเท้า…..<O:p></O:p>
    พระตถาคตเจ้าผู้มีจักษุ ประเสริฐที่สุด<O:p></O:p>
    มรรคมีองค์แปดนี่แลเป็นไปเพื่อทรรศนะอันบริสุทธิ์หาใช่ทางอื่นไม่<O:p></O:p>
    เธอทั้งหลายจงเดินไปตามมรรคมีองค์แปดนี้<O:p></O:p>
    อันเป็นทางที่ทำมารให้หลง ติดตามมิได้<O:p></O:p>
    เธอทั้งหลายจงตั้งใจปฏิบัติ เพื่อทำทุกข์ให้สิ้นไป<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    “การให้ทานนั้นถือเป็นสิ่งที่ประเสริฐ แม้..บัณฑิต เทวดา พรหม พึงสรรเสริญบุคคลผู้ให้ทาน แต่มีสิ่งที่ประเสริฐกว่า นั้นคือ พระนิพพาน เพราะเป็นบรมธรรมอันสูงสุด การแสดงธรรมมาทั้งหมดนี้ ก็เพื่อให้บรรลุไปถึงจุดหมาย คือ นิพพาน ซึ่งเป็นไปเพื่อหลุดพ้นจากกองทุกข์ทั้งปวง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ ทำความดีอย่ายึดติด ผลของความดี ภูมิที่ดีก็ไม่มีให้ไปเกิด หมายถึง (ชั้นเทวดาและชั้นพรหม) ไม่ทำความชั่วก็ไม่ตกลงสู่อบายภูมิ หนทางนี้แล....ดับขันธ์นิพพาน” <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ศรีอารย์......<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
     
  9. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    โลภ โกรธ หลง นั้นคืออะไรffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ความโลภ ก็คือ ความต้องการที่มีมากกว่ารายได้ที่หามาได้ เมื่อมีภาวะเช่นนั้น ก็จะมีสิ่งหนึ่งตามมาก็คือ การหยิบยืม เมื่อมีการหยิบยืมก็เกิดภาวะหนี้สิน เมื่อมีหนี้สิน ความทุกข์ก็เริ่มก่อตัวขึ้น หรืออาจใช้วิธีการที่ผิด ก็คือลักทรัพย์ แม้ทรัพย์สินทางปัญญาก็ถือเป็นทรัพย์อย่างหนึ่ง เพราะสามารถแปรสภาพเป็นปัจจัยได้ หากไม่ได้รับการอนุญาตจากเจ้าของแล้ว ก็ถือว่าผิดศีล ตกอบายภูมิได้เช่นกัน<O:p></O:p>
    วิธีแก้ง่าย ๆ ก็คือ ความพึงพอใจในสิ่งที่ตนเองมีอยู่ หรือความพอเพียงนั่นเอง<O:p></O:p>
    ความโกรธ ก็คือ ผลที่ได้รับจากการกระทำของผู้อื่น หรือแม้กระทั่งตัวเอง เพราะนิสัยมนุษย์จะเอาความรู้สึกตัวเองเป็นใหญ่ หรือที่เรียกว่า ความมานะถือตน จนลืมเข้าใจเหตุผลที่แท้จริง <O:p></O:p>
    อาศัยหลักง่าย ๆ ในการแก้ไข คือการมองโลกในแง่ดี <O:p></O:p>
    ความหลง ก็คือ ความไม่รู้แจ้งตามอริยสัจ ๔<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    บุญ คืออะไร<O:p></O:p>
    การทำความดีทุกชนิด คือ บุญ การสะสมความดีนั้น คือ การสร้างทางแห่งสวรรค์ แต่หากทำความดีและไม่ยึดติดผลของความดีนั้น เรียกว่านิพพาน <O:p></O:p>
    ทาน คืออะไร<O:p></O:p>
    การให้อาหาร ปัจจัย และให้สิ่งของ เพื่อฝึกตัวเองให้ลดความตระหนี่ หรือความเห็นแก่ตัว แต่การทำทานต้องมีตัวปัญญาประกอบด้วย เพราะจะได้ไม่ถูกหลอกได้ง่าย ๆ เหมือนกับการให้ข้าวกับโจร เมื่อโจรมีกำลัง มีทรัพย์ ก็สร้างกำลังพล กลับมาปล้นบ้านท่านอีกเพราะนิสัยโจรนั้นเลี้ยงไม่เชื่อง เช่นกันหากท่านให้ทานกับคนดี คนดีก็จะไปสร้างคนดีต่อไป <O:p></O:p>
    และทานที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ อภัยทาน เป็นการแก้อารมณ์โกรธได้เป็นอย่างดี เพราะธรรมชาติของความหายโกรธ ก็คือการที่เราได้เข้าไปพูดคุยปรับความเข้าใจ รู้จักขอโทษ รู้จักให้อภัยกัน และเป็นการลดเจ้ากรรมนายเวรที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (ปัจจุบันชาติ)<O:p></O:p>

    มนุษย์ เกิดมาด้วยดวงจิตที่บริสุทธิ์ เพราะก่อนที่ท่านจะได้กลับขึ้นมาเป็นมนุษย์ เพื่อสะสมกรรมดีนั้น ท่านได้รับผลกรรมที่ได้เคยกระทำไว้แล้ว แต่ทำไมมนุษย์ถึงมีความแตกต่าง เพราะว่า มาจากภูมิที่ต่างกัน คนที่ค่อนข้างมีความพร้อมก็มาจากชั้นพรหม คนปานกลาง ก็คือชั้นเทวดา ส่วนคนชั้นล่างก็คือมาจากนรก ส่วนคนระดับร่างรู้จักพัฒนาตนเอง ก็ขึ้นมาเทียบกับระดับชั้นพรหมได้เช่นกัน แต่หากไม่รู้จักสะสมความดี ก็มีโอกาสตกนรกอีก หรือผู้ที่มาจากชั้นพรหมไม่รักษาความดี ก็มีสิทธิ์ตกนรก กลับขึ้นมาเป็นคนชั้นล่างอีก เวียนว่ายตายเกิดอยู่อย่างนี้ ด้วยเหตุผลนี้แหล่ะที่พระพุทธเจ้าท่านถึงบอกว่า นิพพาน นั้นดีที่สุด เพราะไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดอีก ส่วนที่คนเรามีความแตกต่างส่วนหนึ่งมีผลจากกรรมพันธุ์ เช่น คนพิการต่าง ๆ ไม่ได้เกิดจากผลของกรรม แต่ก็ยังมีโอกาสสะสมความดี ผลของกรรมนั้นคือ ผู้ที่เกิดต่ำกว่าภูมิของมนุษย์ และที่เขาบอกว่ามีกรรมนั้นติดตัวมาจากชาติก่อนนั้นหาใช่ไม่ เกิดจากชาตินี้ทั้งนั้น ผลมันมาจากกิเลส เมื่อกิเลสมีมากโอกาสจะผิดศีลก็มาก ก็เวียนว่ายอยู่ในวัฎฏะสงสารอยู่อย่างนี้ไม่จบไม่สิ้น ตายแล้วทุกอย่างจบ กรรมนั้นแก้ไขไม่ได้ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ไม่ต้องห่วงคนที่เขาทำความดีแล้วตาย รับรองไปที่สบาย กลับมาห่วงตัวเองว่าได้ทำความดีสะสมไว้แล้วหรือยัง มีสติระมัดระวังตัวอย่าเผลอไปทำชั่วเป็นอันขาด จัดงานศพ ๗ วัน ทำบุญ ๑๐๐ วันก็ไม่มีผล สิ่งศักดิ์สิทธิ์ก็ช่วยเจ้าไม่ได้หากเจ้าไม่ช่วยตัวเอง เพราะฉะนั้น กลับตัว กลับใจ ก่อนจะสาย สำนึกเท่านั้นที่จะช่วยท่านได้ บางครั้งโอกาสของชีวิต มีให้เราเพียงแค่ครั้ง หรือ สองครั้ง <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ธรรมมะก็เหมือนยารักษาแผล เมื่อเราเป็นทุกข์ ก็ใช้ธรรมะรักษา<O:p></O:p>
    เมื่อเราเป็นแผลก็ใช้ยารักษา แต่แผลนั้นก็ยังไม่ยอมหาย<O:p></O:p>
    แต่จะกลายเป็นแค่แผลเป็นที่ทำให้เรา........ไม่เจ็บปวดอีกต่อไป”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “จงอดโทษให้เขา ก่อนเราจะร่วมมือ<O:p></O:p>
    จงเป็นผู้ให้ ก่อนที่จะถูกใช้คำว่า ยืม<O:p></O:p>
    จงเป็นคนไม่ลืม จะได้เลิกแสวงหา<O:p></O:p>
    ท่านทั้งหลายจะได้รู้จักใจที่เป็น...อนัตตา<O:p></O:p>
    ที่ท่านเคย ได้ยินว่า ....ไม่มีตัวตน”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    คนดี.....ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ ให้ผลมาก<O:p></O:p>
    ของดี.....ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ ให้ผลมาก<O:p></O:p>
    ทาน....ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ ให้ผลมาก<O:p></O:p>
    ที่....ที่เป็นสาธารณะประโยชน์ ให้ผลมาก<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เพราะคำว่า สาธารณะ คือ ทุกคนมีสิทธิ์ใช้ร่วมกัน เมื่อทุกคนมีสิทธิ์ร่วมกัน ก็ต้องมีกติการ่วมกัน ก่อให้เกิดความสามัคคี เพราะคนดี...ไม่แบ่งแยก<O:p></O:p>
    เมื่อทุกคนมีสิทธิ์ ไปนิพพานเหมือนกัน ผู้ที่มีทุกข์ ก็หาหนทางออกจากทุกข์ ร่วมกันเถิด<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  10. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ทำไม พ่อ แม่ คือ พระอรหันต์ในบ้านffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    หลายคนเคยได้ยินคำกล่าวว่า พ่อแม่คือพระอรหันต์ภายในบ้าน เหตุเพราะพ่อแม่ได้ทำทุกอย่างเพื่อลูก พยามยามอบรมเลี้ยงลูกให้เป็นคนดี เมื่ออยากให้ลูกเป็นคนดี ก็ต้องเป็นตัวอย่างที่ดี พ่อแม่ ยอมสละได้ทุกอย่าง แม้เมื่อมีเหตุการณ์ร้ายแรงก็สามารถสละชีวิตแทนลูกได้ ทรัพย์สมบัติที่หามาได้ก็เพื่อเก็บไว้ให้ลูก นี่เป็นการลด รูปและนาม โดยธรรมชาติ โดยที่เราไม่ต้องปรุงแต่งธรรม โดยใช้ธรรมชาติของความเป็นมนุษย์ สำนึกในความเป็นมนุษย์ เพราะคุณสมบัติ ที่สูงสุดหรือบุคคลที่หาได้ยาก ๒ ก็คือ ผู้ที่ให้การอุปการะก่อน ๑ ตอบแทนผู้อุปการะ ๑ คนที่มีคุณสมบัตินี้หาได้ยากยิ่ง <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “วันนี้! คุณได้กลับไปตอบแทน และกลับไปกราบพระอรหันต์ที่บ้านคุณแล้วหรือยัง”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ความเพียรเป็นสิ่งที่ต้องทำในวันนี้ ใครจะรู้ความตายแม้พรุ่งนี้” <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “แด่....ผู้ไม่รู้ทั้งหลาย เกิด แก่ เจ็บ ตาย จะกลายเป็นเรื่องธรรมดา<O:p></O:p>
    ความโศกเศร้าเป็นโมฆะ........ เพราะธรรมะสอนคนได้<O:p></O:p>
    ความร่ำไรจางหาย................. เพราะได้สวดมนต์คู่ลูกชาย<O:p></O:p>
    ความไม่สบายกายสูญหาย..... เพราะลูกได้ผ้าเหลืองห่มกาย<O:p></O:p>
    ความไม่สบายใจสละสิ้น........ เพราะมีลูกเป็นครูสอนศาสนา<O:p></O:p>
    ทุกข์เบื้องนี้ไม่มีอีกแล้ว.......... เพราะได้ชุบเลี้ยงสาวกของศาสดา<O:p></O:p>
    ทุกข์เบื้องหน้าไม่รอ............... เพราะมีพระอรหันต์เดินนำหน้า<O:p></O:p>
    ...................ธรรมจะนำพา พ่อแม่เจ้า เข้านิพพาน<O:p></O:p>

    "ไม่มีสิ่งใดที่พ่อแม่จะหมดทุกข์ได้แล้ว มากกว่าการที่ท่านได้เลี้ยงลูกคนหนึ่งให้เป็นคนดี<O:p></O:p>
    และไม่มีสิ่งใดที่ดีกว่า เท่ากับการที่ลูกเป็นคนดีแล้วสอนคนอื่นให้เป็นคนดีตามไปด้วย”<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  11. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    อริยสัจจ์ ๔ ความจริงอันประเสริฐffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    <?xml:namespace prefix = v /><v:shapetype path="m0@0l@1@0@1,0@2,0@2@0,21600@0,10800,21600xe" adj="16200,5400" o:spt="67" coordsize="21600,21600"><?xml:namespace prefix = v ns = "urn:schemas-microsoft-com:vml" /><v:handles><v:h yrange="0,21600" xrange="0,10800" position="#1,#0"></v:h></v:handles></v:shapetype><v:shape style="Z-INDEX: 251644416; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 23.2pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 310.5pt" id=_x0000_s1026 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251647488; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 23.2pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 122.25pt" id=_x0000_s1029 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251653632; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 8.9pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 38.25pt" id=_x0000_s1035 type="#_x0000_t13"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251650560; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 23.2pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 6.75pt" id=_x0000_s1032 type="#_x0000_t67"></v:shape>ทุกข์................. ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ............... ปัญหา <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <v:shape style="Z-INDEX: 251651584; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 24.05pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 6.75pt" id=_x0000_s1033 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251658752; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 8.15pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 260.25pt" id=_x0000_s1040 type="#_x0000_t13"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251645440; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 24.05pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 310.5pt" id=_x0000_s1027 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251648512; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 24.05pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 122.25pt" id=_x0000_s1030 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251654656; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 8.15pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 38.25pt" id=_x0000_s1036 type="#_x0000_t13"></v:shape>สมุหทัย.............. การเกิด ( แก่ เจ็บ ตาย )................................สาเหตุของปัญหา <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <v:shape style="Z-INDEX: 251659776; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 7.85pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 260.25pt" id=_x0000_s1041 type="#_x0000_t13"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251646464; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 23.8pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 310.5pt" id=_x0000_s1028 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251649536; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 23.8pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 122.25pt" id=_x0000_s1031 type="#_x0000_t67"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251655680; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 7.85pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 38.25pt" id=_x0000_s1037 type="#_x0000_t13"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251652608; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 23.8pt; WIDTH: 11.25pt; HEIGHT: 15.75pt; MARGIN-LEFT: 6.75pt" id=_x0000_s1034 type="#_x0000_t67"></v:shape>นิโรธ...................นิพพาน(ความหลุดพ้น)............................... การดับปัญหา <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <v:shape style="Z-INDEX: 251660800; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 9.1pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 260.25pt" id=_x0000_s1042 type="#_x0000_t13"></v:shape><v:shape style="Z-INDEX: 251656704; POSITION: absolute; MARGIN-TOP: 9.85pt; WIDTH: 13.5pt; HEIGHT: 7.15pt; MARGIN-LEFT: 38.25pt" id=_x0000_s1038 type="#_x0000_t13"></v:shape>มรรค...................ข้อปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้น(การเกิด) .............การป้องกันไม่ให้ปัญหา(เกิด) <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ตัวอย่างการแก้ปัญหาตามหลักศาสนาพุทธ<O:p></O:p>
    ปัญหา........... เจ็บป่วย <O:p></O:p>
    สาเหตุของปัญหา
    เกิดจากปวดหัว<O:p></O:p>
    เกิดจากปวดท้อง<O:p></O:p>
    เกิดจากปวดเมื่อย<O:p></O:p>
    การดับปัญหา
    เกิดปวดหัว ( ให้ใช้ยาพาราเซตามอล )<O:p></O:p>
    เกิดจากปวดท้อง (ให้ใช้ยาธาตุน้ำแดงหรือน้ำขาว )<O:p></O:p>
    เกิดจากปวดเมื่อย (ให้ใช้ยาทาบรรเทาอาการปวด เช่น ยาหม่อง )<O:p></O:p>
    การป้องกันไม่ให้ปัญหาเกิด หมั่นออกกำลังกาย ทานอาหารที่ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เหตุเกิด...ที่ใด เรากล่าวถึง...สาเหตุ และวิธีการดับของเหตุนั้น....<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    นิพพาน คือ ความสิ้นไปของโลภะ ( ความอยากได้ของเขา ) โทสะ ( ความคิดประทุษร้ายเขา )<O:p></O:p>
    โมหะ ( ความหลงไม่รู้จริง )
    <O:p></O:p>
    การทำงานของศีล <O:p></O:p>
    ( กรรมหนัก )..................... ( กรรมกิเลศเครื่องเศร้าหมอง )................. ( ช่องทางแห่งความเสื่อม )<O:p></O:p>
    การฆ่าบิดา............................... การฆ่าสัตว์ (มนุษย์ ) .................................การดื่มสุรา<O:p></O:p>
    การฆ่ามารดา.............................การลักทรัพย์...............................................การเที่ยวกลางคืน<O:p></O:p>
    การฆ่าพระอรหันต์ (คนดี).......... การพูดโกหก..............................................การหลงเพลิดเพลินในการละเล่น<O:p></O:p>
    การทำร้ายพระพุทธเจ้า...............การประพฤติผิดในกาม.............................. การเล่นการพนัน<O:p></O:p>
    การทำคนดี (สงฆ์ )ให้แตกแยกกัน ...............................................................การคบคนชั่วเป็นมิตร<O:p></O:p>
    ......................................................................................................................การเกียจคร้านการทำงาน<O:p></O:p>
    กรรมหนัก ๕ อย่างถือเป็นกรรมที่แก้ไขไม่ได้ เมื่อกระทำแล้วให้ผลทันที<O:p></O:p>
    การฆ่าสัตว์ หมายเอามนุษย์เป็นหลัก เพราะมนุษย์มีโอกาสสะสมความดีซึ่งต่างจากสัตว์เดรัจฉาน หรือ พวกเปรต อสูรกาย เทวดาบางจำพวกแต่ ถ้าท่าน เคยได้ยินว่า ทาน กับ การรบ ให้ผลเสมอกัน นั้นหมายความว่า การทำทานก็คือการส่งเสริมคนให้เป็นคนดี ในขณะการรบ ในที่นี้หมายถึง การคุ้มครองคนดี ในลักษณะป้องกันตัว ก็ให้ผลความดีเสมอกัน แต่ในทางตรงกันข้ามผู้ที่หวังจะเอาชีวิตผู้อื่น มีจิตคิดที่จะทำร้ายผู้อื่นหวังในอำนาจ ผู้มีจิตเช่นนี้ หลักศาสนาเรียกว่า พวกอสูรกาย หรือ ไม่ผ่านเกณฑ์ความเป็นมนุษย์ ไม่ต่างอะไรกับสัตว์เดรัจฉาน เพราะฉะนั้น การต่อสู้หรือการป้องกันตัวเพื่อรักษาชีวิต หรือคุ้มครองคนดี ถือว่าเป็นเกณฑ์ที่ไม่เป็นความผิด ตามหลักปฎิจสมุปทา ไม่ส่งผลให้ตกอบายภูมิ หากตายแล้วไม่เข้าสู่นิพพาน ก็จะได้เป็นเทพผู้ดูแลในภูมิต่าง ๆ เช่นเดียวกัน หากท่านฆ่าสัตว์เพื่อเป็นอาหาร ถือว่าอนุโลมตามหลักปฎิจสมุปาทา แต่ถ้าทรมานสัตว์ถือเป็นกรรมทันที เช่นถ้าฆ่าไก่เพื่อเป็นอาหารถือเป็นการอนุโลม แต่ถ้าเอาไก่มาตีกันถือเป็นกรรมทันทีเพราะเป็นการทรมานสัตว์ แต่ถ้าเราไม่ได้ประกอบอาชีพโดยตรง ก็ควรงดเว้นเสีย </O:p>
    การลักทรัพย์ การฉ้อโกง การยักยอกทรัพย์ รวมถึงการทุจริตที่จะได้ทรัพย์สินนั้นมาโดยเจตนา<O:p></O:p>
    การพูดโกหก การโกหกถือว่าเป็นกรรม ยกเว้น บางกรณีเช่น แพทย์คนหนึ่งโกหกคนไข้ว่าไม่ได้<O:p></O:p>
    เจ็บป่วยอะไรมาก แต่ทั้งที่จริงเขาอาจเป็นมะเร็งในระยะที่ ๓ ก็ถือว่าไม่เป็นกรรม เพราะถือเจตนาดี ที่จะให้กำลังใจผู้ป่วย หรือในกรณีที่สามีขอเงินภรรยาไปดื่มสุรา แต่ภรรยาโกหกว่าไม่มีทั้งที่มี ก็ถือว่าไม่ผิด เพราะเป็นเจตนาดีที่ไม่อยากให้สามีไปดื่มสุรา <O:p></O:p>
    การประพฤติผิดในกาม ไม่มีข้อยกเว้นทุกกรณี หากทั้งคู่ยินยอมเป็นสามีภรรยากัน และอีกฝ่ายหนึ่งไปมีความสัมพันธ์กับคนอื่น ด้วยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตาม <O:p></O:p>
    ช่องทางแห่งความเสื่อม 6 ประการ ตามหลักแล้วไม่ถือเป็นความผิดโดยตรง เป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง เพราะเมื่อใช้ช่องทางเหล่านี้แล้วเป็นเหตุให้เกิดความผิด เช่น เมื่อดื่มสุราแล้วไปผิดลูกผิดเมียคนอื่น ไปพูดโกหก จึงถือเป็นความผิด คือ ถ้าไปผิดลูกผิดเมียคนอื่นอาจตกนรก 10 ปี แต่ถ้าเกิดจากการดื่มสุราด้วย ก็ เอา 2 ไปคูณ เท่ากับ 20 ปี แต่ในกรณีเดียวกัน หากดื่มสุราแต่สามารถรักษาสติได้ เช่น ดื่มเพื่อเป็นยา หรือ สังสรรค์บ้างเป็นบางโอกาส แต่ไม่ไปละเมิดกรรมกิเลศเครื่องเศร้ามอง 4 อย่าง มีฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ พูดโกหก ประพฤติผิดในกาม ก็ถือว่าอนุโลมตามหลักปฎิจสมุปทา ดังเช่น มอร์ฟีน หากใช้ทางการแพทย์เช่นใช้ระงับอาการปวดถือว่าไม่มีความผิด แต่ถ้านำมาใช้เสพเป็นสิ่งเสพติดถือว่าเป็นความผิด เพราะฉะนั้นช่องทางแห่งความเสื่อม 6 ประการไม่ถือเป็นความผิดโดยตรง แต่เป็นข้อควรระวัง ต้องกล่าวในลักษณะที่ว่าทำอะไรให้รู้จักกาละเทสะ ให้รู้จักเวลา ไม่ไปหมกมุ่นจนเป็นเหตุให้เกิดความเสื่อมเสีย <O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  12. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ข้อปฏิบัติของอุบาสก อุบาสิกา ชั้นนำffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    1. มีศรัทธา ( เชื่ออย่างมีเหตุมีผล ไม่งมงาย )<O:p></O:p>
    2. มีศีล อาทิพรหมจริยศีล ( มรรคมีองค์ 8 ) และหลีกเลี่ยงจากช่องทางแห่งความเสื่อม 6 ประการ<O:p></O:p>
    3. ไม่ตื่นมงคลข่าวลือ<O:p></O:p>
    4. เชื่อกรรม เชื่อผลของการกระทำ ( การทำได้ดี - ทำชั่วได้ชั่ว ) <O:p></O:p>
    5. ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา<O:p></O:p>

    มงคลชีวิต ๓๘ ประการ
    การไม่คบคนพาล ๑ การคบบัณฑิต ๑ บูชาคนที่ควรบูชา ๑ ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ๑ ทำความดีไว้ให้พร้อม ๑ ตั้งตนไว้ในที่ชอบ ๑ <O:p></O:p>
    เล่าเรียนศึกษามาก ๑ มีความชำนาญในวิชาชีพของตน ๑ มีระเบียบวินัย ๑ รู้จักใช้วาจาให้ได้ผลดี ๑<O:p></O:p>
    บำรุงบิดามารดา ๑ สงเคราะห์บุตร ๑ สงเคราะห์ภรรยา ๑ ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน ๑<O:p></O:p>
    บริจาคสงเคราะห์และบำเพ็ญประโยชน์ ๑ ดำรงอยู่ในศีลธรรม ๑ สงเคราะห์ญาติ ๑ อาชีพสุจริต<O:p></O:p>
    กิจกรรมที่มีประโยชน์ ๑ เว้นจากความชั่ว ๑ เว้นจากสิ่งเสพติด ๑ ไม่ประมาทในธรรม ๑ รู้จักคุณค่าบุคคลและสิ่งของ ๑ ความสุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน ๑ ความสันโดษพึงพอใจในผลสำเร็จและปัจจัยที่หามาได้ด้วยความพยายามของตนเองโดยชอบธรรม ๑ มีความกตัญญู ๑
    หาโอกาสฟังธรรมแสวงหาหลักความจริง ๑ มีความอดทน ๑ เป็นผู้ว่านอนสอนง่ายฟังเหตุผล ๑ พบเห็นสมณะเข้าเยี่ยมเยียน ๑<O:p> </O:p>
    สนทนาธรรมตามกาลเวลา ๑ รู้จักควบคุมตนเอง ๑ ประพฤติพรหมจรรย์ ๑ รู้แจ้งอริยสัจสี่ ๑ ทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑ <O:p></O:p>
    ถูกโลกธรรมจิตไม่หวั่นไหว ๑ จิตไร้เศร้า ๑ จิตปราศจากธุลี ๑ จิตเกษม ๑ <O:p></O:p>
    นี่เป็นมงคลอันอุดม เทวมนุษย์ทั้งหลายกระทำมงคลเช่นนี้แล้วย่อมเป็นผู้ไม่ปราชัยในทุกสถาน ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง นี้คืออุดมมงคลของเทวมนุษย์เหล่านั้น<O:p></O:p>
    เหมือนกับการที่ท่านให้เราเพ่งน้ำ เพื่อให้เกิดสมาธิ แต่หลายคนเพ่งก็อยากมีอิทธิฤทธิ์ แต่แท้จริงแล้วพระพุทธเจ้าให้เราฝึกสมาธิ ซึ่งเป็นสมถกรรมฐาน ซึ่งจะยกตัวเองขึ้นสู่วิปัสสนากรรมฐานต่อไป คือเมื่อเรามองดูน้ำแล้ว ก็ให้เรารู้ว่าประโยชน์ของน้ำนั้นใช้ดื่มกิน พระพุทธองค์ไม่ให้เราเอาเศษขยะและถ่ายอุจจาระปัสสาวะลงในแม่น้ำลำคลอง เพราะจะทำให้น้ำสกปรก พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้เราใช้เครื่องกรองน้ำ เพื่อกรองเอาสิ่งสกปรกออกจากน้ำให้เราดื่มกิน นั่นหมายถึงท่านให้เรานำสิ่งที่ดีเข้าตัว แล้วกรองนำสิ่งที่ชั่วออกไป พระพุทธองค์ไม่เอาสิ่งที่เป็นกุศลและอกุศลให้ปนเปื้อนกัน และการแยกแยะเหล่านี้แหล่ะคือที่มาของศีล<O:p></O:p>
    เพราะแท้จริงแล้ว การรักษาศีลหรือพรหมจรรย์ คือความปกติที่ดีของชีวิต โดยมีหิริโอตตัปปะ (ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป) เป็นตัวสติ (ความระลึกรู้) เพื่อไม่ให้เราละเมิดศีล ซึ่งเปรียบเหมือนรั้วกั้นไม่ให้เราไม่ตกไปในที่ชั่ว (อบายภูมิ) <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ศีล เป็นเยี่ยมที่สุดในโลก”<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ ตามถ้อยคำที่ได้ยินได้ฟังมา ๑<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ ตามถ้อยคำสืบ ๆ กันมา ๑<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยตื่นข่าวว่าได้ยินอย่างนี้ ๑<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยอ้างตำรา ๑<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยเดาเอาเอง ๑ <O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยคาดคะเน ๑ <O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยความตรึกตามอาการ ๑ <O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยชอบใจว่าต้องกับทิฐิของตัว ๑<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยเชื่อว่าผู้พูดสมควรจะเชื่อได้ ๑<O:p></O:p>
    อย่าได้เชื่อถือ โดยความนับถือว่าสมณะนี้คือครูของเรา ๑<O:p></O:p>
    เมื่อใด พึงรู้ด้วยตนเองว่าธรรมเหล่านี้เป็นอกุศล เป็นกุศล มีโทษ ไม่มีโทษเป็นต้นแล้ว<O:p></O:p>
    จึงควรละหรือเข้าถึงธรรมนั้น <O:p></O:p>

    กรรมกิเลส ๔ ข้อเสื่อมเสีย<O:p></O:p>
    การตัดรอนชีวิต ๑<O:p></O:p>
    การถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้ , ลักขโมย ๑<O:p></O:p>
    การประพฤติผิดในกาม ๑<O:p></O:p>
    การพูดเท็จ ๑<O:p></O:p>
    ผลของกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ขึ้นอยู่กับเจตนาของผู้กระทำซึ่งเป็นได้ทั้งกุศลและอกุศล ยกตัวอย่าง เช่น ขณะที่เรานั่งฟังธรรมอยู่บนศาลา มองไปเห็นชายคนหนึ่งนั่งตกปลาอยู่ที่ท่าน้ำใกล้ศาลา จิตกับคิดไปว่าถ้าเราไม่ได้ฟังธรรม วันนี้เราคงได้ไปนั่งตกปลาเพื่อเอาไปทำกับข้าวเป็นแน่แท้ แต่ฝั่งตรงกันข้ามคนซึ่งกำลังตกปลาอยู่ มองเห็นคนนั่งฟังธรรมอยู่บนศาลา จิตกับคิดไปว่าถ้าวันนี้เราตกปลาได้ พรุ่งนี้ เราจะทำอาหารไปใส่บาตรถวายพระ จะเห็นได้ว่าในเวลาเดียวกัน การกระทำที่ต่างกัน กลับให้ผลตรงกันข้าม คือ ผู้ที่นั่งฝั่งธรรมกลับมีจิตโน้มเอียงไปทางอกุศลธรรม ส่วนผู้ที่กำลังตกปลากับมีจิตที่เป็นกุศลธรรม <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เพราะหลักของพุทธศาสนาว่าด้วยเจตนาของผู้กระทำ ว่าทำไปด้วยจิตที่เป็นกุศลหรืออกุศล และด้วยเหตุผลนี้ มิได้ทำให้ส่งผลไปเกิดยังภพภูมิต่าง ๆ แม้มี โลภะโทสะ โมหะ มากเพียงใดแต่ยังไม่มีการกระทำเกิดขึ้นยังถือว่าไม่เป็นความผิด เพราะมีขันติเข้ามาแทรก เพียงแค่เป็นความทุกข์ในใจ เช่น หากโกรธใครสักคน เราอยากจะฆ่าเขาให้ตาย แต่ยังไม่ได้ลงมือ ถือว่าไม่เป็นความผิด ไม่ส่งผลให้ตกลงสู่อบายภูมิ แต่ส่งผลเป็นความทุกข์ทางใจ ถึงได้มีการฝึกอบรมจิต ก็คือสมาธิ เมื่อสมาธิควบคู่ไปกับสติ ก็จะทำให้เกิดปัญญาหาทางแก้ไขปัญหา ซึ่งเป็นความทุกข์ทางใจได้ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    กายภาวนา ก็คือ การอบรม ตัวเองให้อยู่ในอาการสำรวมทางกาย<O:p></O:p>
    ศีลภาวนา ก็คือ การอบรม กาย วาจา โดยมีศีลเป็นตัวคุม<O:p></O:p>
    จิตภาวนา ก็คือ การอบรมจิต โดยการใช้ชีวิตตาม มรรคมีองค์ ๘<O:p></O:p>
    ปัญญาภาวนา ก็คือ การหลุดพ้นความคิดจากอกุศล จนถึงขั้น นิพพาน <O:p</O:p
    <O:p> </O:p>> </O:p>
    กถาวัตถุ ๑๐ (เรื่องที่ควรพูด)<O:p></O:p>
    ให้มักน้อย ปรารถนาน้อย ๑<O:p></O:p>
    ให้สันโดษ ยินดีในปัจจัยตามมีตามได้ ๑<O:p></O:p>
    ให้สงัดจากกิเลศ สงัดกาย สงัดใจ ๑<O:p></O:p>
    ให้สงัดจากกิเลศ ไม่หมกมุ่นเป็นหมู่คณะ ๑<O:p></O:p>
    ให้ปรารภความเพียร ๑<O:p></O:p>
    ให้บริสุทธิ์ในศีล ๑<O:p></O:p>
    ให้จิตตั่งมั่นในสมาธิ ให้ทำใจให้สงบ ๑<O:p></O:p>
    ให้เกิดปัญญา ๑<O:p></O:p>
    ให้ทำใจให้พ้นจากเครื่องเศร้าหมอง ๑<O:p></O:p>
    ให้เกิดความรู้ความเห็นในความที่ใจพ้นจากกิเลศ ๑<O:p></O:p>

    หลักการเจริญพรหมวิหาร 4<O:p></O:p>
    1. เมตตา คือ เมื่อพบเห็นสมณะผู้ปฏิบัติดี ไม่สร้างปัญหาให้สังคม ก็มีจิตคิดที่จะทำทาน<O:p></O:p>
    2. กรุณา คือ การทำนุบำรุงด้วยปัจจัย 4<O:p></O:p>
    3. มุฑิตา คือ ขณะเราทำความดี เช่น การบริจาคทานแม้ผู้ที่ไม่ได้กระทำและเทพเทวดาก็จะมีโอกาส มาร่วมแสดงความยินดี ( อนุโมทนา></O:p>
    4. อุเบกขา คือ การวางเฉยไม่มีจิตอิจฉาริษยาผู้อื่นที่ประสบความสุข ความเจริญ เช่น สมณะผู้ปฏิบัติธรรมเพื่อพ้นทุกข์และไม่สร้างปัญหาในสังคม<O:p></O:p>

    เพราะฉะนั้นการช่วยเหลือสังคมก็จะเข้าอยู่ใน พรหมวิหาร 4 เช่นเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเราไปซื้อสินค้าเราก็เสียภาษี ภาษีนั้นก็กลับมาทำประโยชน์แก่สังคม เช่น สร้างโรงเรียน สร้างถนน สร้างโรงพยาบาล ก็จัดเข้าในหมวดของการทำทาน ที่เรียกว่ามหาทานคือการทำประโยชน์แก่คนหมู่มาก <O:p></O:p>

    ลัทธินอกศาสนา ( ติตกายตนะ ) <O:p></O:p>
    1. ปุพเพกตเหตุวาท ( ลัทธิกรรมเก่า คือ พวกที่ถือว่า สิ่งใดก็ตามที่ได้ประสบจะเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม มิใช่สุขมิใช่ทุกข์ก็ตาม ล้วนเป็นเพราะกรรมที่ได้ทำไว้ในปางก่อน<O:p></O:p>
    2. อิสสรนิมมานเหตุวาท ( ลัทธิพระเป็นเจ้า คือ พวกที่ถือว่า สิ่งใดก็ตามที่ได้ประสบ จะเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม มิใช่สุขมิใช่ทุกข์ก็ตาม ล้วนเป็นเพราะการบันดาลของเทพผู้ยิ่งใหญ่<O:p></O:p>
    3. อเหตุอปัจจัยวาท ( ลัทธิเสี่ยงโชค คือ พวกที่ถือว่า สิ่งใดก็ตามที่ได้ประสบจะเป็นสุขก็ตาม ทุกข์ก็ตาม มิใช่สุขมิใช้ทุกข์ก็ตาม ล้วนหาเหตุหาปัจจัยมิได้ คือ ถึงคราวก็เป็นไปเอง<O:p></O:p>
    ทั้งสามลัทธินี้ ไม่ชอบด้วยเหตุผล ถูกยันเข้า ย่อมอ้างการถือสืบๆกันมาเป็นลัทธิประเภท อกิริยา หากยึดมั่นถือตามเข้าแล้วย่อมให้เกิดโทษ คือ ไม่เกิดฉันทะ และความพยายาม ที่จะทำการที่ควรทำและเว้นการที่ไม่ควรทำ<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  13. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    “มนุษย์เป็นอันมาก, เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแล้วffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ก็ถือเอาภูเขาบ้าง, ป่าไม้บ้าง, อารามและรุกขเจดีย์บ้าง เป็นสรณะ,<O:p></O:p>
    นั่นมิใช่สรณะอันเกษมเลย, นั่นมิใช่สรณะอันสูงสุด,<O:p></O:p>
    เขาอาศัยสรณะนั่นแล้ว, ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้,<O:p></O:p>
    ส่วนผู้ใดถือเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะแล้ว,<O:p></O:p>
    เห็นอริยสัจจ์ คือความจริงอันประเสริฐสี่ด้วยปัญญาอันชอบ,<O:p></O:p>
    คือเห็นความทุกข์, เหตุให้เกิดทุกข์, ความก้าวล่วงทุกข์เสียได้,<O:p></O:p>
    และหนทางมีองค์แปดอันประเสริฐ, เครื่องถึงความระงับทุกข์,<O:p></O:p>
    นั่นแหละ เป็นสรณะอันเกษม, นั่นเป็นสรณะอันสูงสุด,<O:p></O:p>
    เขาอาศัยสรณะนั่นแล้ว, ย่อมพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้,”<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    “ศรัทธา ในพระตถาคตของผู้ใด, ตั้งมั่นอย่างดีไม่หวั่นไหว,<O:p></O:p>
    และศีลของผู้ใดงดงาม, เป็นที่สรรเสริญที่พอใจ ของพระอริยเจ้า,<O:p></O:p>
    ความเลื่อมใสของผู้ใด มีในพระสงฆ์, และความเห็นของผู้ใดตรง,<O:p></O:p>
    บัณฑิตกล่าวเรียกเขาผู้นั้นว่า, คนไม่จน, ชีวิตของเขาไม่เป็นหมัน,<O:p></O:p>
    เพราะฉะนั้น, เมื่อระลึกได้ ถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่, ผู้มีปัญญา, <O:p></O:p>
    ควรก่อสร้างศรัทธา, ศีล, ความเลื่อมใส, และความเห็นธรรมให้เนืองๆ,”<O:p></O:p>> </O:p>
    <O:p> </O:p>
    “ขันธ์ทั้งห้า เป็นของหนักเน้อ,<O:p></O:p>
    บุคคลแหละ เป็นผู้แบกของหนักพาไป,<O:p></O:p>
    การแบกถือของหนัก เป็นความทุกข์ในโลก,<O:p></O:p>
    การสลัดของหนักทิ้งลงเสีย เป็นความสุข,<O:p></O:p>
    พระอริยะเจ้า สลัดทิ้ง ของหนักลงเสียแล้ว,<O:p></O:p>
    ทั้งไม่หยิบฉวยเอา ของหนักอันอื่นขึ้นมาอีก,<O:p></O:p>
    ก็เป็นผู้ถอนตัณหาขึ้นได้ กระทั่งราก,<O:p></O:p>
    เป็นผู้หมดสิ่งปรารถนา, ดับสนิทไม่มีส่วนเหลือ,”<O:p></O:p>> </O:p>
    <O:p> </O:p>
    “บุคคลไม่ควรตามคิดถึง สิ่งที่ล่วงไปแล้วด้วยอาลัย, และไม่พึ่งพะวงถึง สิ่งที่ยังไม่มาถึง,<O:p></O:p>
    สิ่งเป็นอดีตก็ละไปแล้ว, สิ่งเป็นอนาคตก็ยังไม่มา,<O:p></O:p>
    ผู้ใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหน้า ในที่นั้นๆ อย่างแจ่มแจ้ง,<O:p></O:p>
    ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน, เขาควรพอกพูนอาการเช่นนั้นไว้,<O:p></O:p>
    ความเพียรเป็นกิจที่ต้องทำวันนี้, ใครจะรู้ความตาย แม้พรุ่งนี้,<O:p></O:p>
    เพราะการผัดเพี้ยนต่อมัจจุราชซึ่งมีเสนามาก, ย่อมไม่มีสำหรับเรา,<O:p></O:p>
    มุนีผู้สงบ ย่อมกล่าวเรียก ผู้มีความเพียรอยู่เช่นนั้น,<O:p></O:p>
    ไม่เกียจคร้าน ทั้งกลางวันกลางคืนว่า, ผู้เป็นอยู่แม้เพียงราตรีเดียวก็น่าชม,”<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    “พระพุทธเจ้าบรรดาที่ล่วงไปแล้วด้วย, ที่ยังไม่มาตรัสรู้ด้วย,<O:p></O:p>
    และพระพุทธเจ้าผู้ขจัดโศกของมหาชน ในกาลบัดนี้ด้วย,<O:p></O:p>
    พระพุทธเจ้าทั้งปวงนั้น, ทุกพระองค์, เคารพพระธรรม, ได้เป็นมาแล้วด้วย,กำลังเป็นอยู่ด้วย,<O:p></O:p>
    และจักเป็นด้วย, เพราะธรรมดาของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย, เป็นเช่นนั้นเอง,<O:p></O:p>
    เพราะฉะนั้น, บุคคลผู้รักตน, หวังอยู่เฉพาะคุณเบื้องสูง,<O:p></O:p>
    เมื่อระลึกได้ถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอยู่, จงทำความเคารพพระธรรม,<O:p></O:p>
    ธรรมและอธรรม จะมีผลเหมือนกันทั้งสองอย่าง หามิได้,<O:p></O:p>
    อธรรมย่อมนำไปนรก, ธรรมย่อมนำให้ถึงสุคติ,<O:p></O:p>
    ธรรมแหละย่อมรักษา ผู้ประพฤติธรรมเป็นนิจ,<O:p></O:p>
    ธรรมที่ประพฤติดีแล้ว, ย่อมนำสุขมาให้ตน,<O:p></O:p>
    นี่เป็นอานิสงส์, ในธรรมที่ตนประพฤติดีแล้ว,”<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    เมื่อเรายังไม่พบญาณ, ได้เล่นท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ,<O:p></O:p>
    แสวงหาอยู่ซึ่งนายช่างปลูกเรือน, คือตัณหาผู้สร้างภพ, การเกิดทุกคราว เป็นทุกข์ร่ำไป,<O:p></O:p>
    นี่แน่นายช่างปลูกเรือน, เรารู้จักเจ้าเสียแล้ว, เจ้าจะทำเรือนให้เรา ไม่ได้อีกต่อไป,<O:p></O:p>
    โครงเรือนทั้งหมดของเจ้าเราหักเสียแล้ว, ยอดเรือนเราก็รื้อเสียแล้ว,<O:p></O:p>
    จิตของเราถึงแล้วซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแต่งไม่ได้อีกต่อไป,<O:p></O:p>
    มันได้ถึงแล้วซึ่งความสิ้นไปแห่งตัณหา, คือถึงนิพพาน,”<O:p></O:p>> </O:p>
    <O:p> </O:p>
    “สังขาร คือร่างกายจิตใจ, และรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น,<O:p></O:p>
    มันไม่เที่ยง, เกิดขึ้นแล้วดับไป, มีแล้วหายไป,<O:p></O:p>
    สังขาร คือร่างกายจิตใจ, และรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น, <O:p></O:p>
    มันเป็นทุกข์ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแล้วแก่เจ็บตายไป,<O:p></O:p>
    สิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่เป็นสังขาร, แลมิใช่สังขาร, ทั้งหมด ทั้งสิ้น,<O:p></O:p>
    ไม่ใช่ตัว ไม่ใช่ตน, ไม่ควรถือว่าเรา ว่าของเรา ว่าตัว ว่าตนของเรา,<O:p></O:p>
    ชีวิตเป็นของไม่ยั่งยืน,<O:p></O:p>
    ความตายเป็นของยั่งยืน,<O:p></O:p>
    อันเราจะพึ่งตายเป็นแท้,<O:p></O:p>
    ชีวิตของเรา มีความตายเป็นที่สุดรอบ,<O:p></O:p>
    ชีวิตของเรา เป็นของไม่เที่ยง,<O:p></O:p>
    ความตายของเรา เป็นของเที่ยง,<O:p></O:p>
    ควรที่จะสังเวช,<O:p></O:p>
    ร่างกายนี้,<O:p></O:p>
    มิได้ตั้งอยู่นาน,<O:p></O:p>
    ครั้นปราศจากวิญญาณ,<O:p></O:p>
    อันเขาทิ้งเสียแล้ว,<O:p></O:p>
    จักนอนทับ,<O:p></O:p>
    ซึ่งแผ่นดิน,<O:p></O:p>
    ประดุจดังว่า ท่อนไม้และท่อนฟืน,<O:p></O:p>
    หาประโยชน์มิได้,”<O:p></O:p>> </O:p>
    <O:p> </O:p>
    “เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า, สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง,<O:p></O:p>
    เมื่อนั้น ย่อมเบื่อหน่าย ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ที่ตนหลง,<O:p></O:p>
    นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน อันเป็นธรรมหมดจด,<O:p></O:p>
    เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า, สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์,<O:p></O:p>
    เมื่อนั้น ย่อมเบื่อหน่าย ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ที่ตนหลง,<O:p></O:p>
    นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน อันเป็นธรรมหมดจด,<O:p></O:p>
    เมื่อใดบุคคลเห็นด้วยปัญญาว่า, ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา,<O:p></O:p>
    เมื่อนั้น ย่อมเบื่อหน่าย ในสิ่งที่เป็นทุกข์ ที่ตนหลง,<O:p></O:p>
    นั่นแหละเป็นทางแห่งพระนิพพาน อันเป็นธรรมหมดจด,<O:p></O:p>
    ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย, ผู้ที่ถึงฝั่งแห่งพระนิพพานมีน้อยนัก,<O:p></O:p>
    หมู่มนุษย์นอกนั้น, ย่อมวิ่งเลาะอยู่ตามฝั่งในนี่เอง,<O:p></O:p>
    ก็ชนเหล่าใด ประพฤติสมควรแก่ธรรม, ในธรรมที่ตรัสไว้ชอบแล้ว,<O:p></O:p>
    ชนเหล่านั้น จักถึงฝั่งแห่งพระนิพพาน, ข้ามพ้นบ่วงแห่งมัจจุ ที่ข้ามได้ยากนัก,<O:p></O:p>
    จงเป็นบัณฑิตละธรรมดำเสีย, แล้วเจริญธรรมขาว,<O:p></O:p>
    จงมาถึงที่ไม่มีน้ำ, จากที่มีน้ำ, จงละกามเสีย, เป็นผู้ไม่มีความกังวล,<O:p></O:p>
    จงยินดีเฉพาะต่อพระนิพพาน อันเป็นที่สงัด, ซึ่งสัตว์ยินดีได้โดยยาก,”<O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
     
  14. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    โลกุตรธรรม ๙
    คือการที่เราเจอสิ่งที่ดีเป็นเรื่องปกติ และไม่ทำชั่วเป็นเรื่องปกติ ให้สิ่งที่ดีเป็นสิ่งปกติในชีวิตประจำวัน จนกลายเป็นสิ่งหนึ่งในชีวิตของเรา จนเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้แจ้งแล้วว่ามีทั้งสิ่งที่ดีและไม่ดีซ่อนอยู่ในตัวมัน ก็จะเกิดความเบื่อหน่าย คลายความกำหนัด จงทำความดีแต่พอดี ก็จะไม่ยึดติดผลของความดี อย่าทำจนกลายเป็นแข่งดี เสร็จแล้ว ก็มาทะเลาะกันว่าเราดีกว่า กลายเป็นพูดส่อเสียด ทำให้เกิดการทะเลาะเบาะแว้งกันอีก การที่ทำคนดีให้แตกแยกกันนั้น ถือว่าเป็นกรรมหนัก ตามหลักพุทธศาสนา ห้ามสวรรค์และนิพพาน จะเห็นได้ว่า แม้ความดีที่มนุษย์พากเพียรทำ ก็ยังเป็นกิเลสตัวสำคัญของมนุษย์ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    คิดดี พูดดี ทำดี มองโลกในแง่ดี ที่สำคัญทำแต่พอดี นั่นแหล่ะที่เราเรียกกันว่า ทางสายกลาง<O:p></O:p>
    การไม่ทำบาปทั้งปวง ก็คือ การเป็นคนดี<O:p></O:p>
    การทำกุศลให้ถึงพร้อม ก็คือ เป็นตัวอย่างที่ดี และสอนคนเป็นคนดี<O:p></O:p>
    การชำระจิตของตนให้ขาวรอบ ก็คือ การมองโลกในแง่ดี<O:p></O:p>
    ธรรม ๓ อย่างนี้ คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย<O:p></O:p>
    ขันติคือความอดกลั้น, เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง,<O:p></O:p>
    ผู้รู้ทั้งหลาย, กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอย่างยิ่ง,<O:p></O:p>
    ผู้กำจัดสัตว์อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย,<O:p></O:p>
    ผู้ทำสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย,<O:p></O:p>
    การไม่พูดร้าย, การไม่ทำร้าย,<O:p></O:p>
    การสำรวมในปาติโมกข์,<O:p></O:p>
    ความเป็นผู้รู้ประมาณ ในการบริโภค,<O:p></O:p>
    การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด,<O:p></O:p>
    ความหมั่นประกอบ ในการทำจิตให้ยิ่ง,<O:p></O:p>
    ธรรม ๖ อย่างนี้, เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย,<O:p></O:p>


    โสดาบัน นั้นหมายถึง คนทำผิดและยอมรับผิด (ย่อมปิดอบายภูมิ) ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    สกิทาคามี นั่นหมายถึง เริ่มเลิกทำผิด แต่ยังพลาดไปบ้างเพราะยังขาดสมาธิในการควบคุมสติ<O:p></O:p>
    อนาคามี นั่นหมายถึง คนที่ดีแล้วแต่สอนคนอื่นไม่ได้ เทียบกับสมาธิค่อนข้างดี แต่ยังขาดปัญญา<O:p></O:p>
    ในการนำพาผู้อื่น<O:p></O:p>
    อรหันต์ นั่นหมายถึง คนดีที่สอนคนอื่นได้ เทียบกับสมาธิที่ดีเยี่ยม ประกอบกับปัญญา นำพาคน<O:p></O:p>
    หลุดพ้นข้ามอวิชชาไปได้ <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เมื่อคนที่ทำผิดแล้วยอมรับผิด ไม่นานเขาก็มีความละอายและความสำนึก สิ่งๆ นี้ เขาจึงต้องรู้จักควบคุมตัวเองและมีสมาธิที่ดีขึ้น และสุดท้ายเขาก็จะกลายเป็นอรหันต์ได้ในไม่ช้า<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    บุคคลละธรรม ๑๐ อย่างได้ควรเป็นอรหันต์<O:p></O:p>
    ความกำหนัดยินดี ๑ ความคิดประทุษร้าย ๑<O:p></O:p>
    ความหลง ๑ ความโกรธ ๑<O:p></O:p>
    ความผูกโกรธ ๑ ความลบหลู่บุญคุณท่าน ๑<O:p></O:p>
    ความตีเสมอ ๑ ความริษยา ๑<O:p></O:p>
    ความตระหนี่ ๑ ความถือตัว ๑<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ผมหงอก พรรษามาก ไม่ได้ทำให้เป็นพระเถระเพราะเพียงอายุมากอาจเรียกได้ว่า คนแก่เปล่า<O:p></O:p>
    ผู้ใดมีสัจจะ มีคุณธรรม อันมลทินครอบงำมิได้ จึงเป็น พระเถระ”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “ความดีเป็นเรื่องง่ายของ บัณฑิต แต่เป็นเรื่องยากของ คนพาล<O:p></O:p>
    คนพาลรู้ตัวว่าเป็นคนพาล ย่อมกลายเป็นบัณฑิตได้ เพราะเหตุนั้น<O:p></O:p>
    แต่ คนพาลที่คิดว่าตัวเองเป็นบัณฑิต เป็นคนโง่ โดยแท้ เพราะเหตุนั้น”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    “การได้เกิดเป็นมนุษย์ ๑<O:p></O:p>
    การมีชีวิตดำรงอยู่ได้ ๑<O:p></O:p>
    การได้พบพระพุทธเจ้า ๑<O:p></O:p>
    การได้ฟังธรรมพระพุทธเจ้า ๑<O:p></O:p>
    ... ๔ สิ่งนี้เป็นสิ่งที่หาได้ยากที่สุดในโลก”<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  15. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    พุทธศาสนาคืออะไร !ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>

    -ทำไม เราต้องอยู่โคนไม้เป็นวัตรหรือที่พักขนาดเล็ก เพราะความเป็นอยู่ที่ประหยัด <O:p></O:p>
    -นุ่งห่มผ้าบังสกุล เพราะการนำของที่ใช้ได้กลับมาใช้ใหม่ (รีไซเคิล)<O:p></O:p>
    -เที่ยวบิณฑบาตร เพราะเป็นการเลี้ยงชีพ แลกกับการสอนธรรมะ เพื่อให้คนเหล่านั้นได้พ้นทุกข์ เป็นอาชีพที่ซื่อสัตย์สุจริต (ครูสอนศีลธรรม หากวิชาใดขาดศีลธรรมนำทางแล้ว มีแต่เสื่อม) <O:p></O:p>
    -ฉันน้ำมูตรเน่าวิทยาศาสตร์พิสูจน์แล้วว่า น้ำมูตรเน่าหรือน้ำปัสสาวะทุกวันนี้ นำมาสกัดเป็นยาปฏิชีวนะ ต้านโรคภัยไข้เจ็บได้อย่างมากมาย<O:p></O:p>
    เพราะชีวิตจะอยู่ได้ต้องอาศัย ปัจจัย ๔ สมณะรูปควรเป็นตัวอย่างให้เห็น เพื่อเป็นกำลังใจ ให้กับผู้ที่ด้อยโอกาส ได้รู้ว่า เพียงอาศัยสิ่งเหล่านี้ ก็สามารถอยู่อย่างไม่เป็นทุกข์ได้<O:p></O:p>
    -ทำไม มะขามป้อมจึงเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีมากที่สุดโลก<O:p></O:p>
    -ทำไม ศีลของภิกษุส่วนใหญ่ นำมาเป็นต้นแบบในการสร้างกฎหมาย และวัฒนธรรม<O:p></O:p>
    -ทำไม เสขียวัตรของภิกษุ นำมาเรียบเรียงเป็นหนังสือ คุณสมบัติผู้ดี( มารยาทที่ดี)<O:p></O:p>
    -ทำไม บทสวดในพุทธศาสนาถึง เป็นทำนองร้อยกรองและแบ่งแยก เป็นหมวดหมู่<O:p></O:p>
    -ทำไม จึงห้ามขุดดิน ทิ้งของในบาตรลงบนแม่น้ำ พรากหญ้าเขียว และก่อกองไฟ<O:p></O:p>
    (เพราะตอนนี้ระเบิดหิน น้ำเสียสกปรก ตัดต้นไม้ทำลายป่า และปล่อยมลพิษ)<O:p></O:p>
    -ทำไม ถึงห้ามฉันสัตว์ ที่ไม่ควรฉัน ๑๐ อย่าง แล้วสัตว์พวกนั้นกับกลายเป็นสัตว์สงวนแห่งชาติ<O:p></O:p>
    -ทำไม ถึงอนุญาตให้ฉันบางอย่าง เช่น ปลา ไก่ เนื้อ เพราะสร้างสมดุลให้ธรรมชาติ<O:p></O:p>

    เพราะแท้จริงแล้ว !<O:p></O:p>

    ธรรมะ ก็คือ ธรรมชาติ คือ วัฒนธรรมของคนดี ความเป็นอยู่ที่ดี <O:p></O:p>
    และสิ่งแวดล้อมที่ดี คือการจัดระเบียบสังคม เพราะไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรมนุษย์<O:p></O:p>
    หรือสิ่งแวดล้อม เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ ธรรมจักร หรือ โลกใบนี้<O:p></O:p>
    อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เพราะหลีกเลี่ยงการไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน<O:p></O:p>
    หากใครฝ่าฝืนก็ถูกลงโทษ ตามกติกาที่ตกลงกัน คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว<O:p></O:p>
    เพราะสิ่งที่พุทธะเข้าไปรู้นั้นคือ กฎของภูมิทั้ง ๓๑ ที่มีทั้ง สวรรค์และนรก <O:p></O:p>
    หากเรายังทำลายธรรมชาติ ก็เท่ากับทำลายโลกใบนี้<O:p></O:p>
    ....... บันไดของภูมิทั้ง ๓๑ ก็จะขาดไปขั้นหนึ่ง<O:p></O:p>
    ทำให้คนที่ตกสู่อบายภูมิ ไม่มีโอกาสกลับขึ้นมาสะสมความดีกลับสู่สวรรค์ <O:p></O:p>
    หรือสร้างสรรค์ นิพพานได้ ด้วยเหตุนี้ เราจึงต้องรักษา ไว้ให้ลูกหลานสืบต่อไป <O:p></O:p>

    ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นย่อมได้เห็นเรา<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  16. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    เป้าหมายของการประพฤติพรหมจรรย์ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>

    .....บัณฑิตทั้งหลาย! พรหมจรรย์นี้เราประพฤติ....<O:p></O:p>
    มิใช่ ! เพื่อหลอกลวงคนให้นับถือ<O:p></O:p>
    มิใช่ ! เพื่อเรียกคนมาเป็นบริวาร<O:p></O:p>
    มิใช่ ! เพื่ออานิสงส์เป็นลาภสักการะและเสียงสรรเสริญ<O:p></O:p>
    มิใช่ ! เพื่ออานิสงส์จะได้เป็นเจ้าลัทธิ หรือเพื่อค้านลัทธิอื่นใด ให้ล้มไป<O:p></O:p>
    และมิใช่ ! เพื่อให้มหาชนเข้าใจว่าเราได้เป็นผู้วิเศษอย่างนั้นก็หามิได้<O:p></O:p>
    บัณฑิตทั้งหลาย!....ที่แท้พรหมจรรย์นี้เราประพฤติ เพื่อสำรวม เพื่อละ<O:p></O:p>
    เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับทุกข์สนิท....”<O:p></O:p>

    <O:p>

    แก่นแท้ของการประพฤติพรหมจรรย์<O:p></O:p>

    <O:p></O:p>
    “.....บัณฑิตทั้งหลาย ! พรหมจรรย์นี้เราประพฤติ....<O:p></O:p>
    มิใช่ ! มีลาภสักการะและเสียงสรรเสริญเป็นอานิสงส์ เพราะ เปรียบเท่ากับกิ่งและใบของต้นไม้<O:p></O:p>
    มิใช่ ! มีความถึงพร้อมแห่งศีลเป็นอานิสงส์ เพราะเปรียบเท่ากับสะเก็ดของต้นไม้<O:p></O:p>
    มิใช่ ! มีความถึงพร้อมแห่งสมาธิเป็นอานิสงส์ เพราะเปรียบเท่ากับเปลือกของต้นไม้<O:p></O:p>
    มิใช่ ! ความถึงพร้อมแห่งญาณทัสสนะ (ปัญญา) เป็นอานิสงส์เพราะเปรียบเท่ากับกระพี้ของต้นไม้<O:p></O:p>
    บัณฑิตทั้งหลาย !....การประพฤติพรหมจรรย์นี้มี เจโตวิมุตติ ความหลุดพ้นแห่งจิตนั้นนั่นแหละเป็นประโยชน์ที่มุ่งหมาย เป็นแก่นสาร เป็นผลสุดท้ายของพรหมจรรย์ เพราะเปรียบเท่ากับแก่นของต้นไม้.<O:p></O:p>

    </O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  17. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    คำว่าพระศรีอริยะเมตไตย ในความหมายของพระพุทธเจ้าแท้จริงแล้ว ก็คือพระผู้มีความเมตตาเดินทางไปในทิศทางใด สามารถบอกหนทางแห่งการพ้นทุกข์ได้ บัณฑิตทั้งหลาย ตัวท่านเองก็แล้วแต่ หากมีความประสงค์จะปลดปล่อยวัฏฏะสงสารแห่งมวลมนุษยชาติ และช่วยหมุนวงล้อธรรมจักร เพื่อสืบสานพุทธศาสนา ก็ขอจงเรียกตัวเองเถิดว่า พระศรีอริยะเมตไตย พระผู้มีความเมตตา เพราะความหมายที่แท้จริงของพระ ก็คือคนดีนั่นเอง ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    พุทธศาสนา เป็นความรู้ที่มีทั้งหลักการและมีเหตุผล ธรรมประพฤติแล้วปฏิบัติแล้ว เห็นได้จริง เป็นศาสตร์ของผู้รู้ มิใช่ ! ศาสตร์ที่เลื่อนลอย มิใช่ศาสตร์ แห่งการบวงสรวง สวดมนต์อ้อนวอนบนบานหรือศาลกล่าว ทุกอย่างเป็นไปตามหลักการไตร่ตรองและเห็นตามความเป็นจริงได้ เมื่อปฏิบัติแล้วนำพาตัวเองไปยังจุดสูงสุด หรือการเป็นพระพุทธเจ้าได้ ไม่ว่าจะเป็นหญิง หรือ ชาย ไม่ว่าจะเป็น ศีล ๕ หรือ ศีล ๘ หรือศีลในปาติโมกข์ หากเราปฏิบัติตามมรรคมี องค์ ๘ ก็สามารถเข้าสู่นิพพานได้ เพียงแค่เลือกรักษาศีลที่เหมาะกับตัวเรา ศีล ๕ นั้นเปรียบเหมือนเสื้อแขนสั้น ส่วนศีลในปาติโมกข์นั้นเปรียบเหมือนเสื้อแขนยาว ที่ปกคลุมได้มิดชิดกว่า อยู่บ้านไหนต้องรู้กฎของบ้านเมืองนั้น มิฉะนั้นก็ต้องถูกลงโทษ ตามข้อตกลงที่วางไว้ การตั่งสัจจะในการรักษาศีลที่พวกท่านได้สมาทานไว้ จะเป็นตัวกำหนด เพราะได้รับประโยชน์ที่แตกต่างกัน ภิกษุทั้งหลาย หากท่านไม่ปฏิบัติตาม ก็ถือเป็นการผิดคำสัตย์ นั่นหมายถึง อวดอุตริมนุษยธรรมที่ไม่มีในตน เมื่อการตายแล้วไม่เกิดทำได้ การตายแล้วตกลงสู่อบายภูมิก็เป็นได้เช่นกัน จงดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด เพราะการอุปสมบท นั่นถือ อุบายเพื่อลดการเบียดเบียน เป็นตัวอย่างที่ดีให้ผู้อื่นได้เห็น <O:p></O:p>
    <O:p> </O:p>
    ข้าพเจ้า ขอเป็นตัวแทนในการสรรเสริญคุณffice:smarttags" /><?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]</st1:personName>งามความดีทั้งหลาย ถวายนมัสการแด่ <O:p></O:p>
    พระกักกุสันโธ พระโกนาคม<O:p></O:p>
    พระกัสสปะ พระพุทธโคดม<O:p></O:p>
    และพระศรีอริยะเมตไตย ที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันและอนาคต<O:p></O:p>
    รวมทั้งพระอริยะสาวกทุกท่าน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน<O:p></O:p>
    แม้ท่านทั้งหลาย บางท่านไม่มีโอกาสได้รับรู้คำสรรเสริญต่างๆ เหล่านี้ เพราะได้ดับขันธ์ปรินิพพานไปนานแล้ว แต่ความดีที่ท่านได้สร้างมาจะอยู่คู่โลกตลอดไป<O:p></O:p>
    ขอขอบคุณท่านท้าวเวชสุวรรณและเหล่าบรรดาเทพผู้ทรงธรรม รวมทั้งภพภูมิทั้ง ๓๑ ที่เสด็จมาร่วมกันสร้างกุศลธรรมในครั้งนี้ <O:p></O:p>

    นมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง<O:p></O:p>
    อชิตะเถระ...พระนารายณ์<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  18. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ภาคสุดท้ายffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นวงล้อแห่งธรรม ที่หมุนวนรอบมาหลายอสงไขย องค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ใช้ พระสูตรนี้ คือ อริยสัจ ๔ และ อริยมรรคมีองค์ ๘ ตั่งแต่องค์แรก จนถึงบัดนี้ นับรวมได้ ๒๘ พระองค์แล้ว ความสำคัญของการเป็นพุทธะ คือการดูแลโลกใบนี้ให้อยู่ในความสงบ ตามกฎกติกาของภูมิทั้ง ๓๑ เพราะถือว่าพุทธะเป็นหัวหน้าภูมิ ซึ่งแต่ละภูมิก็มีหัวหน้าดูแลในชั้นที่ตนปกครองอยู่ นิพพาน ถือเป็นพระบรมธรรมอันสำคัญยิ่ง ผู้ใดเป็นผู้คิดค้นสามารถหลุดพ้นจากบ่วงแห่งมาร คือการเกิด ดับ ในวัฏฏะสงสารนี้ได้ นับเป็นผู้มีปัญญามาก การที่เป็นผู้มีปัญญามาก เกิดจากการสะสมความดีไว้มาก จนได้ทศพลญาณ คือพระญาณอันเป็นกำลังของพระตถาคต สืบต่อกันมาในอนาคตวงศ์ ไม่ว่าท่านจะเป็นใครอยู่มุมใดในโลกใบนี้ ก็ถือกฎกติการ่วมกัน กล่าวคือกฎของธรรมชาติ ( การทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ) คำว่า พุทธศาสนา แปลตรงตัวว่า ความรู้ ความสามารถของบัณฑิต หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ นักปราชญ์<O:p></O:p>

    อาจกล่าวได้ว่า การกระทำใด ๆ ก็แล้วแต่ ที่ล่วงเกิน กฎของไตรลักษณ์ ซึ่งแม้จะมีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นหรือไม่ก็ตาม กฎนี้ก็คงมีอยู่แล้ว การบิดเบือนสภาวะธรรมตามความเป็นจริง ปิดบัง ซ่อนเร้น ทั้งในหลักปฏิบัติ และปริยัติ ถือเป็นความผิดขั้นสูงสุด เพราะถือเป็นการผิดกฎธรรมชาติ การกระทำเหล่านี้ส่งผลให้ผู้กระทำ และผู้ตาม ตกลงสู่อบายภูมิมามากมายนักต่อนัก ท่านจะเป็นผู้หนึ่งที่จะนำพาตัวเอง และคนรอบข้างตกลงสู่อบายภูมิหรือไม่ ข้าพเจ้าเอง ได้นำ ธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร กลับมาสร้างความสงบอีกครั้ง ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะทรงดับขันธ์ปรินิพพาน พระอานนท์ได้ทูลถามว่า หากพระองค์ปรินิพพานแล้ว จะให้ใครทำหน้าที่เป็นพระศาสดาแทนพระองค์สืบต่อไป พระพุทธเจ้าทรงตรัสตอบว่า ให้ธรรมและวินัยที่ทรงตรัสไว้ดีแล้วทำหน้าที่เป็นศาสดาของพวกท่านแทนเราต่อไป ข้าพเจ้าได้ทำหน้าที่ในการนำ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร กลับมาสร้างความสงบอีกครั้ง นับตั่งแต่นี้ต่อไป ก็ขอส่งมอบให้ พระธรรม ทำหน้าที่เป็นพระศาสดา ของพวกท่านสืบต่อไปจนกว่าจะสิ้นอายุของกัลป์ของโลกใบนี้ <O:p></O:p>

    ธรรมมะรักษาทุกท่านทุกคนเทอญ <O:p></O:p>

    การกลับมาของข้า....เอหิภิกขุอุปสัมปทา<O:p></O:p>
    พุทธะ..เรียกข้าว่า.....อริยะ.....เมตไตย<O:p></O:p>
    (พระนารายณ์) <O:p></O:p>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  19. sriaran

    sriaran สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 กรกฎาคม 2011
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +0
    ที่...สาธารณะ ffice:eek:ffice" /><O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    พุทธศักราช ๒๕๕๔<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เรื่อง ขอความร่วมมือในการฟื้นฟูพุทธศาสนา<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เรียน พุทธศาสนิกชน ทุกท่าน<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    สิ่งที่ส่งมาด้วย ธัมจักรกัปปวัตตนสูตร ( ภาคปฎิบัติ )<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    เนื่องด้วย ณ เวลานี้ พุทธศาสนา ได้ถึงจุดเสื่อมโทรมลงไปมากด้วยสาเหตุหลายประการ และประการสำคัญอย่างยิ่ง ก็คือ การตีความในหลักธรรมเพื่อเข้าสู่ภาคปฎิบัติ ซึ่งเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้มีความหมายของ นิพพาน อริยสัจจ์ ๔ การเดินทางโดยอาศัย มรรคมีองค์ ๘ (สติปัฏฐานสูตร และ มหาสติปัฏฐานสูตร ) พร้อมทั้งหลักการผึกอบรมวิชชา ๘ และอภิญญา ๖ รวมทั้งแก่นแท้ความเป็นพุทธศาสนาไว้ครบถ้วนโดยสมบูรณ์<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ประเด็นสำคัญก็คือ เมื่อเราสามารถอธิบายหลักการของศาสนาได้ชัดเจน อย่างมีเหตุมีผล และพร้อมเพรียงกันเดินไปในทิศทางเดียวกัน ก็จะสามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างศาสนาได้ ส่งผลให้ปัญหาต่าง ๆ ซึ่งสร้างความวุ่นวายทั่วทั้งโลกนี้ยุติลงไปได้ นั่นหมายถึงคนทั่วโลกก็จะปรับตัวเข้าหากัน บนพื้นฐานความเป็นจริงในการดำรงชีวิต<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ซึ่งเรื่องดังกล่าวส่งผลให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของพุทธศาสนา และผู้นำอารยธรรมของคนรุ่นใหม่ ภายใต้เครื่องหมาย “เมตไตยยะ” มิตรแท้ผู้ร่วมสร้างสันติสุข<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ท่านทั้งหลายซึ่งมีเนื้อแท้ของความเป็นพุทธศาสนิกชนอยู่ จะพร้อมใจกันให้ความร่วมมือในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและร่วมมือกันฟื้นฟูพุทธศาสนาให้มั่นคงแข็งแรงยิ่ง ๆ ขึ้นไป<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    จึงเรียนมา เพื่อโปรดทราบและพิจารณา<O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ขอแสดงความนับถือ <O:p></O:p>
    พระศรีอารย์<O:p></O:p>></O:p>
    <O:p></O:p>
    <O:p></O:p>
    ร่วมใจกันสามัคคี ทำความดีถวายในหลวง<O:p></O:p>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กรกฎาคม 2011
  20. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ขอเรียนถามท่านSriaran
    1.ท่านใส่รองเท้าขนาดเบอร์ใด(30-50)
    2.ท่านช่วยอธิบายเรื่องเหลาคำหน่อย(อย่างละเอียด)
    ขอบพระคุณท่านเป็นอย่างมากครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...