เสียงธรรม เพลงธรรม ชีวิตที่ร่ำไห้

ในห้อง 'เพลงธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย marty, 11 ตุลาคม 2009.

  1. marty

    marty เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2009
    โพสต์:
    230
    ค่าพลัง:
    +439
    เนื้อเพลง: ชีวิตที่ร่ำไห้
    (ขอมอบเพลงธรรมนี้แด่ชีวิตที่ร่ำไห้ทั้งมวล เพื่อเป็น กระบอกเสียงแทน สรรพสัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น)


    [​IMG]

    หนึ่งชีวิต ที่ฉันได้เกิดมา หลากชีวิต เหล่าสัตว์ธรรมดา

    [​IMG]

    กับความคิด ที่คนหลงผิดมา ว่าฉันเป็นอาหาร

    [​IMG]

    ต่อชีวิตของคนด้วยชีวิต หยุดสักนิด ฉุกคิดถึงผลกรรม

    [​IMG]


    หากชีวิตของคนโดนกระทำ เลือดแดงก่ำร่ำไห้

    [​IMG]

    ทุรนทุราย

    [​IMG]


    หมดแรงฝืนฉันยืนไม่ไหว คนใจร้ายหมายพรากชีวิต

    [​IMG]

    อยากขัดขืนฝืนทน แต่มันไม่มีสิทธิ์


    แม้แต่จะคิดยืดเวลา


    ปรับความคิด เลิกกินเนื้อสัตว์เถิดหนา


    หยุดการฆ่า ทำร้ายทำลายกัน


    ทุกชีวิต ต่างรักต่างผูกพัน


    อย่าทรมานฉันอีกต่อไป


    * * * * * *
    หมดแรงฝืนฉันยืนไม่ไหว คนใจร้ายหมายพรากชีวิต


    อยากขัดขืนฝืนทน แต่มันไม่มีสิทธิ์ แม้แต่จะคิดยืดเวลา


    ปรับความคิด เลิกกินเนื้อสัตว์เถิดหนา หยุดการฆ่า ทำร้ายทำลายกัน


    ทุกชีวิต ต่างรักต่างผูกพัน


    อย่าทรมานฉันอีกต่อไป


    อย่าทรมานฉันอีกเลย




    -------------------------------------------------------------
    [​IMG]

    อนุโมทนากับทุกท่านที่ได้ฟังเพลงธรรมนี้ เนื่องในโอกาสเทศกาลเจที่จะมาถึง หรือ แม้แต่หลังเทศกาลเจทุกภพทุกชาติ

    ยุคนี้ คือ ยุคทื่ทุกคนต้องร่วมกันโปรดตนเองและผู้อื่นมากๆ คือ มอบความรัก ความเมตตา การให้อภัยต่อกัน และความสุขถ้วนหน้า การโปรดสัตว์ ก็คือ การมอบความรักความเมตตาให้มนุษย์ด้วยกันเอง นอกจากมนุษย์แล้ว ก็ต้องมอบความรักและเมตตาต่อสัตว์เดรัจฉานด้วย พระพุทธะโพธิสัตว์ เทพเทวา รุกขเทวา นางไม้ เจ้าที่เจ้าทาง เจ้าป่าเจ้าเขา วิญญาณผี ต่างโมทนาสาธุ แสดงความยินดีทุกครั้งที่พบว่ามนุษย์กำลังช่วยชีวิตเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเอง และ ช่วยชีวิตสัตว์ หรือ ปล่อยสัตว์ให้พ้นจากการถูกขังหน่วงเหนี่ยว หรือ โดนเบียดเบียนและฆ่ากิน......เป็นที่น่ายินดีที่มีบุคคลผู้ใจบุญมากมายในปัจจุบันได้ปล่อยสัตว์ในทุกโอกาสที่เป็นไปได้ โดยเฉพาะ สัตว์น้ำ หรือ ร่วมบุญไถ่ชีวิตโคกระบือ เป็นต้น

    การช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ถือว่า เป็นอนิสงส์ที่สูงกว่าการช่วยสัตว์เดรัจฉาน แต่หากมีจิตบริสุทธิ์ หรือ เจตนาที่บริสุทธิ์ โดยที่เมตตาแบบไม่มีเงื่อนไขใดๆ คือ ช่วยได้หมด ไม่ว่าจะเป็นคนหรือสัตว์เดรัจฉาน นั่นคือ สุดยอดของอนิสงส์

    การงดปาณาติบาตไม่ว่าทางตรง หรือ ทางอ้อมก็ดี คือ ขั้นพื้นฐานของการปฏิบัติบำเพ็ญจิตที่ง่ายที่สุด เป็นขั้นพื้นฐานตัดบ่วงกรรมใหม่ๆในชาติปัจจุบันนั่นเอง

    เป็นการปลูกต้น "เมตตา" คือ การไม่ไปเบียดเบียนผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน ให้ผู้อื่นได้ดำรงชีวิตตามธรรมชาติของเขาอย่างสันติสุข คิดดู หากในโลกนี้ ไม่ต้องมีการฆ่า หรือ เบียดเบียนกันเลย มันจะเหมือนกับสวรรค์บนโลกเลยก็ว่าได้

    การกิน อาจไม่ถือว่า เป็นการปฏิบัติธรรม ในมุมมองของคนทั่วไป แต่หากมองดูดีๆแล้ว การทานผัก ก็สามารถเป็น ธรรมะในชีวิตประจำวัน เป็นการดำรงชีวิตที่ปรกติของมนุษย์ในแง่หนึ่งที่ว่า เป็นเพียงแค่การกิน ถึงกระนั้น เราควรกินอย่างไรเพื่อไม่ให้กระทบชีวิตของคนอื่น กินอย่างไร เพื่อไม่ให้เกี่ยวกรรมกับผู้อื่น กินอย่างไรเพื่อมิให้ กิเลส ของตนทำลายชีวิตผู้อื่น

    ศีลเจ มิได้จำเป็นต้องบัญญัติไว้ในคัมภีร์ หรือ พระสูตรใดๆเลยเพราะศีลเจ จะเกิดขึ้นจากจิตใต้สำนึกและปัญญาของตัวเองเท่านั้น นี้คือ คัมภีร์อันไร้รูปลักษณ์ที่เกิดจาก จิตแห่งเมตตา ของบุคคลนั้นๆ เมื่อบุคคลหนึ่งได้มีประสบการณ์ส่วนตัว เช่น อาจเกิดสงสารสัตว์เมื่อได้เห็นสัตว์ถูกฆ่าอย่างทุกข์ทรมานต่อหน้าต่อตา ฆ่าเพื่อมาเป็นอาหาร คนนั้นอาจเกิดความรักสัตว์ มีจิตเมตตาสงสารขึ้นมาทันที ทำให้กินไม่ลงอีกเลย นี้คือ คัมภีร์ภายใน คัมภีร์ที่มองไม่เห็น คือ เรียนรู้จากจิตใต้สำนึกของตนเอง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นปัจจัตตัง จึงมิอาจเป็นเรื่องที่ต้องมาบังคับผู้อื่นให้ปฏิบัติตามเรา เพราะ จิตใครก็จิตมัน จะเที่ยวไปบอกตรงๆว่า คนทานเนื้อสัตว์ผิดบาปก็เป็นการไม่สมควร เพราะใครเล่าจะยอมรับง่ายๆว่า "ตนเองทำบาป" เพราะเขาจะต้องเกิดจิตสำนึกของเขาเอง

    คนที่คิดจะทานเจ ก็มิควรถามข้อมูลกับคนที่ทานเนื้อสัตว์ หรือ พระสงฆ์ที่ฉันเนื้อสัตว์ เพราะยังไงก็เป็นการงม หากระดาษ ในกองไฟเปล่าๆ หากคิดจะทานเจ ก็ต้องศึกษาด้วยตนเอง หรือ หาข้อมูลจากแหล่งที่ส่งเสริมเรื่องนี้โดยตรง หรือ ไปหาประสบการณ์โดยตรงที่โรงฆ่าสัตว์ การกินเจจึงต้องเรียนรู้จากสัจธรรมเท่านั้น คือ ความจริงที่ประสบ หรือ ได้ลงมือปฏิบัติมาเอง

    สมมติให้ผู้บริโภคไปลงมือฆ่ากินเอง เขาจะทำไหม ก็คงไม่กล้าทำ เพราะ กลัวผิดศีล กลัวบาป กลัวกรรมเหมือนกัน ผู้บริโภคจะพูดอะไรก็พูดง่าย เพราะเขามิได้มาลงมือกระทำเอง คนที่ลงมือฆ่าก็มัวแต่หาเงินโดยที่ไม่รู้ตัวเลยว่า ชีวิตตนเองเหมือนแขวนอยู่บนเส้นด้าย จะตกถึงมือมัจจุราชเมื่อใดก็เมื่อนั้น

    ครูบาศรีวิชัย เป็นหนึ่งพระอริยสงฆ์องค์หนึ่งที่ฉันพืชผักตลอดชีพมาแต่เยาว์วัย เนื่องจากท่านได้ให้เหตุผลส่วนตัวว่า หากสงสารสัตว์แล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องกินเลือดเนื้อเขาอีก พืชผักในประเทศไทยก็ออกจะอุดมสมบูรณ์อยู่แล้ว

    การรักษาศีลเจก็คือ การละเว้นกรรมปาก คือ นอกจากไม่ทานเนื้อสัตว์ทุกชนิดแล้ว ยังต้องไม่สร้างวจีกรรมต่อกัน เพราะคำพูดหนึ่งคำ หากพูดไม่ระวัง ก็สามารถทำลายหรือฆ่าคนได้ ไม่เพียงแต่ทานเจเพียงอย่างเดียวเท่านั้น กัลยาณชนต้องสร้างสมคุณธรรมด้วย โดยเฉพาะ ความกตัญญูต่อบุพการี ครูบาอาจารย์ และ ชาติบ้านเมือง พี่น้องในครอบครัวต้องปรองดอง เพื่อนฝูงกลมเกลียว สามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นี้คือ ความประสงค์แห่งธรรม

    หากเอาแต่ทานเจ แต่ไม่ละกรรมปาก หรือ ทานแต่พืชผัก แล้วหยิ่งผยองทะนงตน ยกตนข่มท่าน ไม่ระวังมิจฉาวาจา ไม่ขัดเกลาจิตใจ ไม่แก้ไขความเคยชินที่ไม่ดีของตนเอง ก็ถือว่า ไม่ใช่การทานเจที่แท้จริง เป็นเพียงแค่การบำรุงกระเพาะและธาตุขันธ์เท่านั้นเอง

    นอกจากจะให้ความสุขแด่เพื่อนมนุษย์ด้วยกันแล้ว ก็จงอย่าได้ลืมที่จะให้สรรพสัตว์ทั้งหลายได้หายใจอยู่บนโลกใบนี้จนหมดอายุขัยของเขาเองบ้าง การรักษาศีลเจ แม้จะได้บุญหรือไม่ก็ตาม แต่เป็นการบำเพ็ญกุศลภายใน นั่นคือ คุณได้เป็นส่วนหนึ่งในจักรวาล ที่ได้เป็นผู้ให้แก่พวกเขาอย่างแท้จริง ให้อะไรรึ ก็ให้ชีวิตแด่พวกเขานั่นเอง และเป็นการให้โอกาส โอกาสให้พวกเขาได้ดำรงขันธ์ต่อไป แค่เกิดมาเป็นสัตว์เดรัจฉานก็ทุกข์หนักหนาสาหัสแล้ว ใยจึงต้องซ้ำเติมต่อกันให้เกิดบ่วงกรรม จงให้อภัยพวกเขาที่พวกเขาไม่สามารถเกิดมาเป็นมนุษย์ได้

    สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม เพราะล้อเกวียนของวัฏสงสารยังไม่หยุดหมุน จะหยุดหมุนก็ที่จิตดวงนี้เอง ความคิดที่จะหยุดเข่นฆ่ากันไม่ว่าคนหรือสัตว์ ความคิดที่จะหยุดเบียดเบียนกันหรือทำร้ายกัน แต่เพราะเราคือสัตว์ประเสริฐ เราย่อมรู้อยู่แก่ใจว่า อะไรคือบาป/บุญ อะไรคือดี/ไม่ดี เพราะฉะนั้นเราจะไม่ไปร่วมหมุนกงล้อของวัฏจักรนี้อีก

    สัตว์เดรัจฉานที่เกิดมาคือ คนที่ไปเวียนเกิดเป็นสัตว์ เป็นวัฏสงสารที่ทับถมกันไม่รู้จบ ผลัดกันเกิดเป็นสัตว์บ้าง คนบ้าง เทพพรหมเทวดาบ้าง เปรต ผีนรกบ้าง กรรมซ้อนกรรมยากที่จะหยุด หากจะหยุดก็ควร หยุดที่ใจสำนึกของเรานี้เอง ชาตินี้ก็จักผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ ด้วยการไม่สร้างกรรมใดๆเพิ่ม ไม่ขอเกี่ยวกรรมกับใครๆ

    องคุลีมาล ได้เคยฆ่าสัตว์ (มนุษย์) มากมายเหลือเกินซึ่งถือว่า กรรมหนักถึงอเวจีได้เลยทีเดียว แต่ด้วยจิตสำนึกผิดบาปอันฉับพลัน แจ้งปัญญาในชาติเดียวตอนที่พระพุทธเจ้าทรงมาโปรด องคุลีมาลด้วยตัวพระองค์เอง ก็สามารถพร้อมที่จะกลับตัวกลับใจได้ทัน สำนึกด้วยใจจริง พร้อมที่จะแก้ไขตนเอง จนกระทั่งองคุลีมาลสามารถบรรลุธรรมภายในชาติเดียว ดังนั้น การสำนึกขอขมาความผิดบาปต่อตนเองนั้น คือ การปลุกใจให้ตื่นจากความหลงมานานนับภพชาติ ตื่นที่ว่า สัตว์นั้นก็ไม่ได้เกิดมาเป็นอาหารให้เรา สัตว์นั้น คือ เพื่อนร่วมโลกในวัฏสงสารที่ใกล้ชิดเรามากที่สุด สัตว์นั้นก็ต้องการความรักและความเมตตาเหมือนเราเช่นกัน ส่วนมนุษย์นั้นคือ ผู้ประเสริฐ ผู้ช่วยเหลือ ผู้พิทักษ์ สร้างสรร ค้ำชูโลก และมีคุณธรรม

    พระพุทธเจ้าไม่บังคับเรื่องฉันเจเพราะไม่ต้องการให้เกิดเรื่องราวการแตกแยกและพระพุทธองค์สอนให้เรารู้จักใช้ปัญญากันเอาเอง หากไม่ใช้ปัญญา ก็เป็นเรื่องของบุญกรรมของแต่ละคนไป เพียงแค่บัญญัติ ศีลข้อที่ 1 ที่ให้ทุกคนนำเอาไปปฎิบัติเอาเองก็พอแล้ว คือ เรื่องการกิน การฉัน ไม่ใช่เรื่องที่ต้องมาบังคับกัน ทุกอย่างแล้วแต่ปัญญา ทัศคติ ของแต่ละคนไป บ้างทานเจตามกระแสแฟชั่นที่ไม่ได้ออกมาจากจิตสำนึกของตนเองและเข้าใจจุดประสงค์ของการรักษาศีลทานเจ ทำให้การทานเจเกิดอุปสรรคมากมาย หากมีจุดมุ่งหมายหรือปณิธานที่แน่วแน่ จะไม่เกิดคำพูดที่พูดว่า "ทานเจหรือมังสวิรัติไม่เกินหนึ่งวันก็ทนไม่ได้แล้ว" นี้เป็นเพราะ ทานเจที่ไม่ได้เกิดจากจิตใต้สำนึกออกมาจากข้างใน สรุปว่า ขึ้นอยู่กับบุญวาระทางสภาวะจิตของผู้นั้นจริงๆ หากถึงเวลาแล้ว ก็ไม่มีอะไรมาขัดขวางหนทางนี้ได้เลย เพราะหนทางพระโพธิสัตว์เดินทวนกระแสกิเลส มิได้ไหลไปตามกระแส จึงต้องมีความตั้งใจอันแน่วแน่สูง อีกทั้งความอดทน ความกล้าหาญที่จจะต้องเจอกับอุปสรรคมากมายระหว่างที่ดำเนินศีลเจ

    ในนรกทุกขุม หากเคยอ่านเรื่องนรกมาบ้างแล้ว ก็รู้ได้เลยว่า การฆ่าสัตว์อย่างต่อเนื่องไม่รู้จักสำนึกตน ก็ทำให้ไปชดใช้กรรมในนรกได้เกือบทุกขุม ส่วนมาก ผู้ที่ชดใช้กรรมในนรก จะเป็นผู้ลงมือฆ่าและสั่งฆ่าโดยตรง ส่วนคนที่บริโภคที่มีจิตใจเป็นคนดีอยู่แล้ว ก็โทษเบาลงหน่อย คือ ป่วยเป็นโรคร้าย หรือ เกิดอุบัติเหตุ เท่านั้น กรรมของการทานเนื้อสัตว์อาจดึงไปไม่ถึงนรก แต่ก็ทำให้เกิดวิญญาณเจ้ากรรมนายเวรที่เคียดแค้นอาฆาตตามมาเบียดเบียนตนได้ทุกภพทุกชาติ ชาตินี้ไม่ได้ป่วยตาย เสพสุขไปวันๆ แต่ชาติหน้าล่ะ ก็ยังมีโอกาสได้ชะรำกรรมเก่าๆได้เมื่อกรรมเก่าๆตามเราทัน

    อย่างเหตุการณ์ชายแดนภาคใต้ที่ดูเหมือนจะเกิดขึ้นรุนแรง ก็เนื่องจากเหตุต้นผลกรรมในอดีตชาติที่ซับซ้อนมาก นั่นคือ ปาณาติบาต ซึ่งสมัยก่อน ตั้งแต่โบราณกาลแล้ว บริเวณนั้นมีการปาณาติบาตอย่างต่อเนื่อง คือ เกมส์การล่าสัตว์ นั้นเอง โจรใต้ที่มีจิตใจเยี่ยงเดรัจฉาน ไม่เมตตาปราณี เพราะว่า พวกเขาก็คือ สัตวป่าที่เคยถูกล่าในอดีตชาติมานั่นเอง ส่วนชาวบ้านที่โดนฆ่า ก็คงเคยเกิดเป็นนายพรานมาหลายท่านก็มี

    ประเทศใด มีสงคราม มีภัยพิบัติเกิดขึ้นตลอดเวลา ก่อการร้าย โรคระบาด พายุ คลื่นยักษ์ แผ่นดินไหว ดินโคลนถล่ม อุบัติเหตุตายหมู่ เครื่องบินตก นั่นคือ ต้นเหตุผลกรรมของปาณาติบาตทั้งสิ้น อย่าง อินโดนีเซีย และ หมู่เกาะมากมาย ก็จะมีภัยพิบัติอย่างต่อเนื่อง คล่าชีวิตผู้คนไปมากมาย เพราะ วิญญาณเจ้ากรรมนายเวรที่เป็นสัตว์ทะเลจำนวนนับไม่ถ้วน อาฆาตแค้นมานับภพชาติแล้ว แหล่งการประมง มักจะเป็นที่มีพลังอิน มากสุด ส่วนประเทศแถบอาหรับ หรือ Middle East นั้นที่เกิดสงครามมากมาย ก่อการร้าย เพราะ ในอดีตชาติจนถึงปัจจุบัน ก็ยังคงล้มฆ่าสัตว์ใหญ่ผู้มีพระคุณ เช่น วัว ลา อูฐ แกะ แพะ และอีกมากมาย กรรมปาณาติบาต จึงหนักเป็นพิเศษ

    ทำไมทานผักผลไม้พืช ต่างๆจึงไม่ผิด คำตอบง่ายๆคือ ในพระไตรปิฏก พืชผักไม่ได้รวมอยู่ในวัฏสงสาร (6 ภพภูมิของการเวียนว่าย)ไม่มีภพภูมิพืชเลย และไม่มีเวไนยสัตว์ไปเกิดเป็นพืชเลย แม้ว่าพืชจะมีพลังธรรมชาติอยู่ก็ตาม แต่ก็เป็นพลังแห่งการเจริญเติบโต แพร่พันธุ์เท่านั้น และธาตุขันธ์ ก็ไม่ครบเหมือนเวไนยสัตว์ อย่างเช่น เวทนา สัญญา ก็ไม่พบในพืช หากท่านลองเอามีดไปตัดกิ่ง ตกแต่งประดับประดา ก็คงจะผลิดอกออกผลมากขึ้น ใช่ไหม ผู้ที่ทำให้พืชพันธุ์เจริญงอกงาม มีชีวิต คือ พลังแห่งธรณี ซึ่งทางพุทธศาสนา เรียกว่า พระแม่ธรณี ที่ให้กำเนิด ดิน ภูเขา ป่าไม้ และ พืชพันธุ์มากมายกับพวกเรา

    หากไม่เชื่อในเรื่องการทานเจ ก็ลองย้อนมองตนดู ใจเขาใจเรา สมมติเราเกิดไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานบ้าง ความรู้สึกนั่นเป็นเช่นไร คงเสียใจไม่น้อยใช่หรือไม่

    นโม หมีเล่อฝอ
    ขอเมตตาธรรมจงอุดหนุนค้ำชูท่านทั้งหลายเทอญ
    (หากตัดขาดมิได้ตลอดชีวิต ก็สามารถทานเจละเว้นเลือดเนื้อผู้อื่น ในทุกวันพระหรือทุกวันเกิด วันสำคัญทางพุทธศาสนาต่างๆภายในชาตินี้ ดีกว่าไม่เคยเลย)
    หากมนุษย์ทั้งหลายเกิดจิตสำนึก หันมารักษาศีลให้บริสุทธิ์จริงทุกวันและเลิกฆ่าสัตว์ กินเนื้อสัตว์และเลิกเบียดเบียนเพื่อนมนุษย์ แน่นอนภัยพิบัติย่อมเบาลง สาธุ
    ------------------------------------

    ขอบพระคุณเว็ปพลังจิตเมตตา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2011
  2. โนอาร์

    โนอาร์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    86
    ค่าพลัง:
    +82
    ผมดูวีดีโอชุดนี้แล้ว..ครับซึ้งมากๆ...สงสารเหล่าสัตว์ ทั้งหลายที่ถูกมนุษย์ ฆ่านำมาเป็นอาหาร ขอบคุณครับสำหรับบทเพลงเพราะๆ
     
  3. Prathuang

    Prathuang เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2008
    โพสต์:
    658
    ค่าพลัง:
    +178
    สาธุ
     
  4. พุทธกา

    พุทธกา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +135
    ขอบคุณที่ให้เพลงเพราะๆฟัง และมีภาพเตือนสติที่โหดร้าย
    น่าเวทนาสงสารนัก ถ้าใครทำกับชีวิตเราแบบนี้บ้างล่ะ
    ชีวิตเขาเหล่านั้นเป็นอาหารของเราจริงๆหรือ
    เขาคือเจ้ากรรมนายเวรที่แท้จริงและยิ่งใหญ่รุนแรง
    ใครๆก็รักชีวิตตัวเองทั้งนั้น
    สัตว์โลกที่น่ากลัวที่สุดคือตัวมนุษย์เองนั่นแหละ
    ขออโหสิกรรมหรืออนุโมทนาดีคะ??
     
  5. hellqoo

    hellqoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    97
    ค่าพลัง:
    +685
    + ภาพสะเทือนมากฮะ

    + ขออนุโมทนาสาธุด้วยฮะ
     
  6. Noo Mo

    Noo Mo สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    10
    ค่าพลัง:
    +0
    สาธุ สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
    อนุโมทนา ...
     
  7. YATRA

    YATRA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +268
    ขออนุโมทนาค่ะ คนเราส่วนใหญ่มักจะเข้าข้างตัวเองว่ามันเกิดมาเพื่อเป็นอาหารแล้วอีกอย่างตัวเองไม่ได้เป็นผู้ลงมือฆ่า จึงไม่บาป แต่ถ้าคิดว่าสัตว์ทุกตัวที่เกิดมาเป็นเพื่อนร่วมทุกข์เกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้นก็จะไม่มีการเบียดเบียนกัน ชีวิตใครใครก็รัก
     
  8. dadeedaa

    dadeedaa Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    57
    ค่าพลัง:
    +69
    ขออนุโมทนาด้วยนะคะ ทุกชีวิตมีกรรม แต่ก็ยังก่อกรรม ไม่จบไม่สิ้นกันสัดที
     
  9. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    กลอนอ่านแล้วกินใจ สะท้อนถึง

    กลอนอ่านแล้วกินใจ สะท้อนถึง
    ความหมายได้ลึกซึง แด่สรรพสัตว์
    ที่เกิดมาเป็นเพื่อนร่วมทุกข์ ร่วมกรรม
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <CENTER>กลอนปล่อยสัตว์

    </CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <CENTER>เครื่องมือลงอาญาของตัวไหม

    </CENTER>
    ผ้าต่วนแพรต่างทักทอด้วยใยไหม เราสวมใส่ด้วยนิยมสมศักดิ์ศรี ถ้าจะคิดให้ลึกซึ้งคงทราบดี ผ้าสวยนี้กรรมวิธีมีเช่นไร เขาใช้ไหมมีชีวิตใส่หม้อต้ม สัตว์ตายล้มเพราะแพรพรรณอันสดใส ต้องพลีชีพเพื่อความนิยมให้สมใจ โปรดคิดใหม่ใช้ใยรักถักทอแทน

    </PRE><CENTER>เพชฌฆาต

    </CENTER>
    เกล็ดของปลาเปรียบเสมือนเล็บมนุ<WBR>ษย์ ถ้าเล็บหลุดสุดเจ็บปวดอย่างมหั<WBR>นต์ ต้องหาหมอทำแผลดูแลกัน แต่สัตว์นั้นไม่มีปัญญารักษาตน เราขอดเกล็ดปลาเป็นเห็นธรรมดา แต่อนิจาหารู้ไม่เขาเจ็บล้น ต้องเกลือกกลิ้งดิ้นหนีน้ำมือคน สุดจะทนภาพเช่นนี้มีทุกวัน ถ้ามนุษย์หยุดทำร้ายทำลายสัตว์ โลกคงจัดอยู่ในทางที่สร้างสรรค์ ยึดมั่นอยู่ในศีลชั่วชีวัน รับประทานมังสวิรัติกันทั้<WBR>งครอบครัว

    </PRE><CENTER>ขนของแม่

    </CENTER>
    แม่เพิ่งคลอดลูกนี้สี่ชีวิต คนอำมหิตปลิดชีวีแม่ดับสิ้น เหลือแต่กองขนไก่บนพื้นดิน ลูกจำกลิ่นแม่ได้ไม่คลายจาง ต่อนี้ไปจะมีใครกางปีกปก ลูกมีอกแม่อุ่นไม่เคยห่าง โอ้แม่จ๋าลูกมีแม่เคยนำทาง ลูกอ้างว้างเพราะใครหนอเขาก่<WBR>อเวร

    </PRE><CENTER>พลัดพรากจากกันและตายจากกัน

    </CENTER>
    ภาพแม่แพะถูกจูงไปเข่นฆ่า เหมือนรู้ว่าต้องพรากจากลูกขวัญ แม่กับลูกต่างมองหน้ากันและกัน ต่างโศกศัลย์เศร้านักความรักเรา แม่จ๋าอย่าไป อย่าไป ให้เขาฆ่า จงกลับมาอยู่กับลูกให้คลายเหงา ในที่สุดแม่ต้องไปจากพวกเรา เป็นเรื่องเศร้าพลั<WBR>ดพรากตายจากกัน ถ้ามนุษย์หยุดฆ่าหยุดรับประทาน คงไม่ต้องถูกประหารอย่างหฤหรรษ์ คงไม่ต้องเห็นภาพบาดชีวัน ต้องยึดมั่นศีลข้อหนึ่งพึงจดจำ<SCRIPT><!--D(["mb","\u003c/h3\u003e\u003c/pre\u003e\n\u003ccenter\u003e\n\u003ch2\u003e\u003cfont color\u003d\"#0000ff\" size\u003d\"6\"\u003eวิงวอนขอชีวิต\u003c/font\u003e\u003c/h2\u003e\u003c/center\u003e\u003cpre\u003e\u003ch3\u003e เสียงทอดถอนโทมนัสพ่อโคเฒ่า นั่งคุกเข่าวอนเพชฌฆาตขอชีวิต\n มีดขาววับระดับคอรอชีพปลิด ในดวงจิตปวดร้าวน้ำตาริน\n เคยรับใช้ไถนามานานปี ไม่เคยมีความชอบช่างลืมสิ้น\n ต้องถูกฆ่าเป็นอาหารให้เขากิน ชั่วชีวินวัวควายอาหารคน\n \n \u003ci\u003eประพันธ์โดย ประภาพรรณ เสน่ห์มิตร\u003c/i\u003e\u003c/h3\u003e\u003c/pre\u003e\u003c/p\u003e\u003c/font\u003e\n\u003ccenter\u003e\u003cimg src\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/pic/GrabItLk4.gif\"\u003e\u003c/center\u003e\n\u003cp\u003e\n\u003ccenter\u003e\n\u003ctable border\u003d\"1\"\u003e\n\u003ctbody\u003e\n\u003ctr\u003e\n\u003ctd\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/cee1.html\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg src\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/pic/ccc.gif\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/cee2.html\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg src\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/pic/cca.gif\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/cee3.html\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg src\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/pic/ccz.gif\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\n\u003ctd\u003e\u003ca href\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/c15.html\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003e\u003cimg src\u003d\"http://www.geocities.com/lokrenlap/pic/ccb.gif\" border\u003d\"0\"\u003e\u003c/a\u003e\u003c/td\u003e\u003c/tr\u003e\u003c/tbody\u003e\u003c/table\u003e\u003c/center\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003c/div\u003e\u003cspan\u003e\u003c/span\u003e\u003cspan\u003e\u003c/span\u003e\u003cspan\u003e\u003c/span\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" alt\u003d\"setstats\" src\u003d\"http://visit.geocities.yahoo.com/visit.gif?us1229087210\" width\u003d\"1\" border\u003d\"0\"\u003e\u003cimg height\u003d\"1\" alt\u003d\"1\" src\u003d\"http://geo.yahoo.com/serv?s\u003d76001081\u0026amp;t\u003d1229087210\u0026amp;f\u003dus-w91\" width\u003d\"1\"\u003e \u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003e\n\u003cdiv\u003e\u003cspan class\u003d\"gmail_quote\"\u003e\u003c/span\u003e\u003c/div\u003e\u003c/p\u003e\u003c/p\u003e\n",0]);//--></SCRIPT>

    </PRE><CENTER>วิงวอนขอชีวิต

    </CENTER>
    เสียงทอดถอนโทมนัสพ่อโคเฒ่า นั่งคุกเข่าวอนเพชฌฆาตขอชีวิต มีดขาววับระดับคอรอชีพปลิด ในดวงจิตปวดร้าวน้ำตาริน เคยรับใช้ไถนามานานปี ไม่เคยมีความชอบช่างลืมสิ้น ต้องถูกฆ่าเป็นอาหารให้เขากิน ชั่วชีวินวัวควายอาหารคน ประพันธ์โดย ประภาพรรณ เสน่ห์มิตร

    </PRE>
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <CENTER><TABLE border=1><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    [​IMG][​IMG]




    <SCRIPT><!--D(["ma",[1,"\u003ctable class\u003datt cellspacing\u003d0 cellpadding\u003d5 border\u003d0\u003e\u003ctr\u003e\u003ctd\u003e\u003ctable cellspacing\u003d0 cellpadding\u003d0\u003e\u003ctr\u003e\u003ctd align\u003dcenter\u003e\u003cimg class\u003dthi src\u003d?ui\u003d1\u0026view\u003datt\u0026th\u003d12471f64200f441b\u0026attid\u003d0.1\u0026disp\u003dthd\u0026realattid\u003df_g10n7l2h\u0026zw\u003e\u003ctd width\u003d7\u003e\u003ctd\u003e\u003cb\u003epig14.jpg\u003c/b\u003e\u003cbr\u003e22K Scanning for viruses...\u003c/table\u003e\u003c/table\u003e","12471f64200f441b"]]);D(["ce"]);//--></SCRIPT>


    <TABLE class=att cellSpacing=0 cellPadding=5 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG] <TD width=7><TD>pig14.jpg
    22K View Download </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ฟันธงกิน"เนื้อแดง" และ เนื้อสัตว์ แปรรูปมาก เพิ่มเสี่ยงป่วยมะเร็ง-โรคหัวใจ

    ฟันธงกิน"เนื้อแดง"และเนื้อสัตว์ แปรรูป มาก เพิ่มเสี่ยงป่วยมะเร็ง-โรคหัวใจ



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานใหม่ยืนยันว่า การกินเนื้อแดงและเนื้อแปรรูปในปริมาณที่มากเกินไปส่งผลเสียต่อสุขภาพ

    นักวิจัยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ศึกษาและเก็บข้อมูลจากผู้บริโภคกว่า 500,000 คน พบว่า ผู้ที่กินเนื้อแดง (เรดมีต) หรือเนื้อแปรรูปประมาณ 160 กรัมต่อวัน หรือเทียบเท่ากับสเต๊ก 6 ออนซ์ มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเสียชีวิตจากโรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะโรคมะเร็งและโรคหัวใจ เมื่อเทียบกับผู้ที่กินเนื้อแดง หรือเนื้อแปรรูปแค่วันละ 25 กรัม หรือเทียบเท่ากับเบคอนชิ้นเล็กๆ บางๆ เพียงชิ้นเดียว

    ในทางตรงกันข้าม กลุ่มที่กินเนื้อขาว (ไวต์มีต) จำพวกเนื้อสัตว์ปีกและเนื้อปลา จะมีความเสี่ยงลดลงที่จะเสียชีวิตด้วยโรคภัยไข้เจ็บดังกล่าว ผลการคำนวณยังพบว่า ร้อยละ 11 ของการเสียชีวิตในผู้ชาย และร้อยละ 16 ของการเสียชีวิตในผู้หญิงสามารถป้องกันได้ ถ้าพวกเขาหันมาบริโภคเนื้อแดงให้เหลือแค่วันละ 25 กรัม หรือเท่ากับเบคอนชิ้นบางๆ เล็กๆ 1 ชิ้น

    นักวิจัยระบุด้วยว่า สารก่อมะเร็งจะเกิดขึ้นในช่วงที่นำเนื้อแดงไปปรุงเป็นอาหารด้วยอุณหภูมิร้อนจัด เนื้อแดงประกอบไปด้วยไขมันอิ่มตัว ซึ่งมีส่วนเชื่อมโยงกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ การบริโภคเนื้อแดงแต่น้อยจึงทำให้ความเสี่ยงเป็นมะเร็งน้อยลง และลดความเสี่ยงเป็นโรคหัวใจ เพราะการกินเนื้อแดงน้อย จะส่งผลให้ความดันเลือดและระดับคอเลสเตอรอลลดลง

    ข้อมูลจาก นสพ มติขน รายวัน
    1 เมษายน 2552

    ฟันธงกิน"เนื้อแดง"มาก เพิ่มเสี่ยงป่วยมะเร็ง-โรคหัวใจ - สาเหตุทำไมชาวอเมริกันมีผู้ป่วยโรคมะเร็ง และ หัวใจ สูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก




    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    เวปน่าสนใจ มีสาระ เพื่อสุขภาพที่ดีกว่า เพื่อลด ความเสี่ยงจากโรคมะเร็งร้าย


    http://www.watisan.com/showdetail.asp?boardid=1080

    เอกสาร งานวิจัย ที่น่าสนใจจาก ตปท เพื่อสุขภาพที่ดี กว่า ลดความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็งร้าย

    for your healthy life เพื่อสุขภาพที่ดี กว่า ลดความเสี่ยงจากโรคมะเร็งร้าย โรคหัวใจ

     
  11. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ ( อาหารปลอดเนื้อสัตว์

    พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ


    <CENTER>พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ

    </CENTER>
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยกับมังสะวิรัติ

    พระพุทธพจน์นี้ทำให้สรุปได้ว่า การเกิดมาในโลกในระดับโลกิยะ มีปัญหาติดตัวมามาก สัตว์บางตนเกิดมาอยู่ในฐานะเป็นอาหารของสัตว์อื่น เช่น หมู ปลา ไก่ สัตว์บางตนเกิดมาอยู่ในฐานะต้องกินสัตว์เป็นอาหารอย่างเดียว โดยที่ตัวเองมีเนื้อเป็นพิษสำหรับสัตว์อื่น แม้แต่มนุษย์ที่ชอบกินเนื้อสัตว์เป็นอาหาร เนื้อของมนุษย์เองก็เป็นอาหารของสัตว์อื่นบางจำพวก นี่คือสังสารวัฏ

    ชาวประมงมีพาอาชีพหาปลาขาย ฆ่าปลาเป็นจำนวนมากในแต่ละวัน พวกเขาไม่ได้ทำผิดกฎหมาย แต่พวกเขาทำผิดหลักธรรมข้อสุจริต ล่วงละเมิดศีลข้อปาณาติบาต และวิถีชีวิตของพวกเขาไม่ยุติธรรมสำหรับปลา แม้กระนั้นชาวประมงก็ยังต้องดำรงชีพโดยการจับปลาขายต่อไป เกษตรกรเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลาก็อยู่ในฐานะเดียวกัน คนที่มีอาชีพฆ่าหมูเพื่อชำแหละเนื้อออกขายในท้องตลาดก็อยู่ในฐานะเดียวกัน นี่คือข้อจำกัดหรือโทษของสังสารวัฏ

    ในระดับโลกุตตระ วิถีชีวิตบริสุทธิ์จากข้อจำกัดเหล่านี้ สัมมาอาชีวะหรือสัมมาอาชีพซึ่งเป็นองค์หนึ่งในมรรคมีองค์ ๘ จึงหมายถึง การดำรงชีพที่ชอบเว้นจากอาชีพที่เป็นการเบียดเบียนชีวิต เช่น การค้าอาวุธแม้จะถูกต้องตามกฎหมาย การค้าแรงงานมนุษย์ การค้ายาพิษ การค้าน้ำเมา

    ประเด็นเกี่ยวกับมังสวิรัติก็เช่นเดียวกัน การกินหรือไม่กินเนื้อสัตว์เป็นเรื่องของแต่ละบุคคล ประเด็นสำคัญคืออย่าฆ่าสัตว์ เมื่อพระเทวทัตต์เข้าไปเฝ้ากราบทูลขออนุญาตวัตถุ ๕ ประการ วัตถุข้ออื่น ๆ พระพุทธเจ้าตรัสกับพระเทวทัตต์ "อย่าเลยเทวทัตต์ ภิกษุใดปรารถนาก็จงทำไปเถิด เช่น ภิกษุใดปรารถนาก็จงอยู่ป่า" ส่วนข้อที่เกี่ยวกับการฉันปลาและเนื้อ พระพุทธเจ้าตรัสตอบพระเทวทัตต์ว่า "เราอนุญาตปลาและเนื้อที่บริสุทธิ์ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ (๑) ไม่ได้เห็น (๒) ไม่ได้ยิน (๓) ไม่ได้รังเกียจ" จะเห็นว่า พระพุทธเจ้าไม่ทรงใช้คำว่า "ผู้ใดปรารถนาก็จงฉันปลาและเนื้อ" พระพุทธดำรัสนี้มีนัยสำคัญอย่างยิ่ง ถามว่า "อะไรคือนัยสำคัญแห่งพระพุทธดำรัสนี้ ?"

    พระพุทธดำรัสว่า "เราอนุญาตและเนื้อที่บริสุทธิ์ด้วยอาการ ๓ อย่าง ..." หมายถึง ไม่ได้ตั้งข้อกำหนดไว้ วางไว้เป็นกลาง ๆ ไม่ได้กำหนดแม้แต่จะบอกว่า "ผู้ใดปรารถนาก็จง ..." เพราะฉะนั้น เรื่องที่พระพุทธเจ้าทรงวางไว้เป็นกลาง ๆ อย่างนี้ ในทางปฏิบัติ จะเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม จะถูกหรือผิด พระภิกษุต้องเทียบเคียงกับหลักที่เรียกว่า "มหาปเทศ" ๒ ข้อ คือ


    (๑) สิ่งใดที่ไม่ได้ห้ามไว้ว่า "สิ่งนี้ไม่ควร" ถ้ามีแนวโน้มหรือจัดอยู่ในกลุ่มสิ่งที่ไม่ควร แย้งกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควร
    (๒) สิ่งใดที่ไม่ได้ห้ามไว้ว่า "สิ่งนี้ไม่ควร" ถ้ามีแนวโน้มหรือจัดอยู่ในกลุ่มสิ่งที่ควร แย้งกับสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควร

    เมื่อพระภิกษุเทียบเคียงถือปฏิบัติอย่างนี้ ย่อมไม่ผิดพระวินัย แต่อย่างที่กล่าวมาแล้วว่า วิถีชีวิตระดับโลกิยะ มีโทษมาก มีข้อบกพร่องมาก เช่นกรณีการกินเนื้อสัตว์ แม้จะเป็นเนื้อที่ไม่ต้องห้าม ต้องพิจารณาก่อนฉัน ถ้าไม่พิจารณาย่อมผิดพระวินัย ซึ่งต้องการให้พระภิกษุหรือแม้แต่คนที่ไม่ใช่พระภิกษุสำนึกอยู่เสมอว่า การกินเนื้อสัตว์แม้จะไม่ได้ฆ่าสัตว์ก็ถือว่มีส่วนทำให้ชีวิตถูกทำลาย ถ้าไม่กินจะดีกว่าหรือไม่ ? ส่วนวิถีชีวิตระดับโลกุตตระนั้น ย่อมบริสุทธิ์จากอกุศลเจตนาทุกประการ พระพุทธศาสนาสรุปชัดเจนในประเด็นว่า ฆ่าสัตว์ผิดศีลผิดวินัย บางกรณีผิดกฎหมายบ้านเมือง กินเนื้อสัตว์ ถ้าเป็นคฤหัสถ์ไม่ผิด ถ้าเป็นพระภิกษุฉันผิดเงื่อนไข ผิดพระวินัย ถ้าไม่ผิดเงื่อนไข ไม่ผิดพระวินัย นั่นเป็นเรื่องของศีลของคฤหัสถ์และพระวินัยของพระภิกษุ แต่อย่าลืมว่า ฆ่าสัตว์กับกินเนื้อสัตว์เป็นคนและประเด็น กินเนื้อสัตว์ในกรณีที่แม้จะไม่ผิดศีลหรือพระวินัย แต่ส่งผลต่อคน/สัตว์รอบข้างและอุปนิสัยจิตใจของผู้กินแน่นอน

    ในลังกาวตารสูตรแสดงเหตุผลที่ไม่ควรกินเนื้อสัตว์ สรุปได้ว่า "ในสังสารวัฏ คนที่ไม่เคยเป็นบิดามารดา ไม่เคยเป็นพี่น้องกัน ไม่มี สัตว์ทุกตัวตนมีความสัมพันธ์ทั้งสิ้นไม่ชาติใดก็ชาติหนึ่ง" เพราะฉะนั้น กินเนื้อสัตว์วันนี้ เราอาจกำลังกินเนื้อของสัตว์ที่เคยเป็นบิดามารดาของเราในชาติที่แล้วมาหรือในอีก ๕ ชาติข้างหน้าก็ได้ นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงผลเสียของการกินเนื้อสัตว์ไว้ เช่น ทำให้เป็นที่หวาดกลัวของสัตว์ ต่าง ๆ ทำให้กลิ่นตัวเหม็น ทำให้ชื่อเสียงไม่ดีกระจายไป...



    โดย...พระมหาสมจินต์ สมฺมาปญฺโญ (วันจันทร์)
    ป.ธ.๙, ศษ.บ.,พธ.ม.(พระพุทธศาสนา), Ph.D. (Buddhist Studies)
    คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย




    <!-- / message --><!-- attachments --><FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET>
     
  12. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    ข้อคิดสำหรับศีลข้อที่หนึ่ง

    ข้อคิดสำหรับศีลข้อที่หนึ่ง
    [​IMG]

    <!-- detail -->
    <CENTER>[SIZE=+2]ตัดตอนมาจากหนังสือ "ชุมนุมข้อคิดอิสระ" โดย ท่านพุทธทาสภิกขุ[/SIZE]</CENTER>
    <WBR>..........<WBR>ทำไมเราจึง<WBR>ไม่ควรกินเนื้อสัตว์<WBR> (ในเมื่อไม่จำเป็น)?<WBR> เพราะว่า เป็นการทำ<WBR>เพื่อยึดเอาประโยชน์<WBR>ทั้งฝ่ายโลก<WBR>และฝ่ายธรรม<WBR> เป็นการก้าว<WBR>หน้าของสัมมาปฏิบัติ<WBR>อันหนึ่ง ซึ่ง<WBR>ได้ผลมาก<WBR>แต่ลงทุน<WBR>ทางฝ่าย<WBR>วัตถุน้อย<WBR>ที่สุด ไปมาก<WBR>อยู่ทางฝ่ายใจ<WBR> ซึ่งจะแยก<WBR>อธิบายดังนี้
    ฝ่ายธรรมเช่น :

    [​IMG]1. เป็นการ<WBR>เลี้ยงง่าย<WBR>ยิ่งขึ้น เพราะผัก<WBR>หาง่าย<WBR>ในหมู่คนยาก<WBR>จนเข็ญใจ<WBR> มีการปรุง<WBR>อาหารด้วย<WBR>ผักเป็นพื้น<WBR> นักเสพผัก<WBR>ย่อมไม่มี<WBR>เวลา<WBR>ที่ต้อง<WBR>กระวน<WBR>กระวาย<WBR>เพราะอาหาร<WBR>ไม่ถูกปาก<WBR>เลย ส่วน<WBR>นักเสพเนื้อ<WBR>ต้องเลียบ<WBR>เคียงเพื่อได้<WBR>อุทิศมังสะ<WBR>บ่อยๆ ทายก<WBR>เสียไม่ได้<WBR>โดยในที <WBR>ก็พยายาม<WBR>หามาให้<WBR> ทายกที่มี<WBR>ใจเป็นกลาง<WBR>เคยปรารภ<WBR>กับข้าพเจ้า<WBR>เองหลายต่อ<WBR>หลายนักแล้ว<WBR> ว่าสามารถ<WBR>เลี้ยงพระได้ตั้ง<WBR> 50 องค์ <WBR>โดยไม่ต้องมี<WBR>การรู้สึก<WBR>ลำบากอะไร<WBR>เลย ถ้าไม่<WBR>เกี่ยวกับปลา<WBR>กับเนื้อ<WBR> ซึ่งบางคราว<WBR>ต้องฝืนใจ<WBR>ทำไม่รู้<WBR>ไม่ชี้กัน<WBR>มากๆ มิใช่<WBR>เห็นแก่การ<WBR>ที่มีราคา<WBR>แพงกว่าผัก<WBR> แต่เป็น<WBR>เพราะรู้ดี<WBR>ว่ามันจะ<WBR>ต้องถูกฆ่า<WBR>เพื่อการเลี้ยง<WBR>พระของเรา<WBR> มีอีกหลาย<WBR>คนทีแรก<WBR>ที่ค้านว่า<WBR> อาหารผัก<WBR>ล้วนทำให้วุ่น<WBR>วาย<WBR>ลำบาก<WBR> แต่เมื่อได้<WBR>ลองเพียง<WBR>สองสามครั้ง<WBR> กลับสารภาพ<WBR>ว่า เป็นการ<WBR>ง่ายยิ่งกว่า<WBR>ง่าย เพราะ<WBR>บางคราว<WBR>ไม่ต้องติด<WBR>ไฟเลยก็มี<WBR>ตัณหาของ<WBR>นักเสพ<WBR>ผักกับนัก<WBR>เสพเนื้อ<WBR> มีแปลก<WBR>กันอย่างไร<WBR>จักกล่าว<WBR>ในข้อหลัง<WBR> เฉพาะข้อ<WBR>นี้ขอจงทราบ<WBR>ไว้ว่า คน<WBR>กินเนื้อ<WBR>เพราะแพ้<WBR>รสตัณหา,<WBR> กินเพราะ<WBR>ตัณหา,<WBR> ไม่ใช่<WBR>เพราะให้<WBR>เลี้ยงง่าย
    [​IMG]2. เป็นการฝึก<WBR>ในส่วน<WBR>สัจธรรม<WBR> คนเรา<WBR>ห่างจาก<WBR>ความพ้น<WBR>ทุกข์ เพราะ<WBR>มีนิสัย<WBR>เหลวไหล<WBR>ต่อตัวเอง<WBR> สัจจะใน<WBR>การกิน<WBR>ผักเป็น<WBR>แบบฝึก<WBR>หัด<WBR>ที่<WBR>น่า<WBR>เพลิน<WBR> บริสุทธิ์<WBR>สะอาด<WBR> ได้ผลสูง<WBR>เกินที่คน<WBR>ไม่เคยลอง<WBR>จะคาดถึง<WBR> มันเป็นอาหาร<WBR>ที่จะหล่อเลี้ยง<WBR> "ดวงความ<WBR>สัจจะ" <WBR>ในใจของ<WBR>เรา<WBR>ให้<WBR>สม<WBR>บูรณ์ <WBR>แข็งแรง<WBR> ยิ่งกว่า<WBR>แบบฝึกหัด<WBR>อย่างอื่น<WBR> ซึ่งเป็น<WBR>แบบฝึกหัด<WBR>ที่ค่อน<WBR>ข้างง่าย<WBR>โดยมาก<WBR> หรือยาก<WBR>ที่จะได้ฝึก<WBR> เพราะไม่<WBR>สามารถนำ<WBR>มาเป็น<WBR>เกมฝึก<WBR>หัดประจำ<WBR>ทุกๆ วัน<WBR> เราต้อง<WBR>ฝึกทุกวัน<WBR> จึงจะได้ผล<WBR>เร็ว การฝึก<WBR>ใจด้วย<WBR>เรื่องอาหาร<WBR> อันเป็น<WBR>สิ่งที่เรา<WBR>บริโภค<WBR>ทุกวัน<WBR> จึงเหมาะมาก<WBR> อย่าลืมพุทธ<WBR>ภาษิตที่มี<WBR>ใจความว่า<WBR> สัจจะเป็น<WBR>คู่กับผ้า<WBR>กาสาวพัสตร์<WBR>
    [​IMG]3. เป็นการ<WBR>ฝึกในส่วน<WBR>ทมธรรม (การข่ม<WBR>ใจให้อยู่<WBR>ในอำนาจ) <WBR>คนเรา<WBR>เกิดมี<WBR>ทุกข์<WBR>เพราะตัณหา<WBR>หรือ<WBR>ความ<WBR>อยาก<WBR>ที่ข่ม<WBR>ไว้ไม่<WBR>อยู่ ข้อ<WBR>พิสูจน์<WBR>เฉพาะ<WBR>เรื่องผัก<WBR>กับเนื้อ<WBR>ง่ายๆ<WBR> เช่น<WBR> ข้าพเจ้า<WBR>เห็นชาว<WBR>ตำบล<WBR>ป่าดอน<WBR>สูงๆ ขึ้น<WBR>ไป อุตส่าห์<WBR>หาบอาหาร<WBR>ผักลง<WBR>มาแลก<WBR>ปลาแห้งๆ<WBR> ทางบ้าน<WBR>แถบริม<WBR>ทะเล<WBR> ขึ้นไป<WBR>รับประทาน<WBR> ทั้งที่ต้อง<WBR>เสียเวลา<WBR>เป็นวันๆ<WBR> และทั้งที<WBR>่กลางบ้าน<WBR>ของเขา<WBR>มีอาหาร<WBR>ผักพวก<WBR>เผือก<WBR> มัน<WBR> มะพร้าว<WBR> ผัก<WBR> ฟัก<WBR> ฯลฯ <WBR>อย่างสมบูรณ์<WBR> และทั้งที<WBR>อาหาร<WBR>เหล่านั้น<WBR>ยังเป็น<WBR>ของสด<WBR>รสดี<WBR> สามารถ<WBR>บำรุง<WBR>ร่างกาย<WBR>ได้มาก<WBR>กว่าปลา<WBR>แห้งๆ<WBR> จนราจับ<WBR> ที่อุตส่าห์<WBR>หาบหิ้ว<WBR>ขึ้นไป<WBR>ไว้เป็น<WBR>เสบียงกรัง<WBR>เป็นไหนๆ<WBR> ผู้ที่<WBR>ไม่มี<WBR>การข่ม<WBR>รสตัณหา<WBR> จักต้อง<WBR>เป็นทาส<WBR>ของความ<WBR>ทุกข์ และ<WBR>ถอยหลัง<WBR>ต่อการ<WBR>ปฏิบัติธรรม<WBR> การข่ม<WBR>จิตด้วย<WBR>อาหาร<WBR>การกิน<WBR>ก็เหมาะมาก<WBR> เพราะอาจ<WBR>มีการข่ม<WBR>ได้ทุกวัน<WBR>ด้งกล่าวแล้ว<WBR> การข่มจิต<WBR>เสมอเป็น<WBR>ของคู่กับ<WBR>ผ้ากาสาวพัสตร์<WBR> ควรทราบ<WBR>ว่า มัน<WBR>เป็นการ<WBR>ยากอย่างยิ่ง<WBR> ที่คน<WBR>แพ้ลิ้น<WBR>จะข่มตัณหา<WBR>โดยเลือก<WBR>กินแต่ผัก<WBR> จากจาน<WBR>อาหาร<WBR>ที่เขา<WBR>ปรุงด้วย<WBR>เนื้อและผัก<WBR>ปนกันมา!<WBR> จงยึดเอา<WBR>เกมที่เป็น<WBR>เครื่องชนะตน<WBR> อันนี้เถิด<WBR> ในการ<WBR>เลี้ยงพระ<WBR>ของงาน<WBR>ต่างๆ<WBR> ข้าพเจ้า<WBR>เคยเห็น<WBR> เคยได้ยิน<WBR>เสียงเรียก<WBR>เอ็ดแต่<WBR>อาหาร<WBR>เนื้อ ส่วน<WBR>อาหารผัก<WBR>ล้วนดู<WBR>เหมือนเป็น<WBR>การยาก<WBR>ที่จะได้<WBR>ถูกเรียก<WBR>กับเขา<WBR> แล้วยัง<WBR>เหลือกลับ<WBR>ไปอีก<WBR> แม้อาหาร<WBR>ที่ปรุงประเคน<WBR> ก็หายไป<WBR>แต่ชิ้นเนื้อ<WBR> ผักคง<WBR>เหลือติด<WBR>จานไป<WBR>ก็มี<WBR> และยิ่ง<WBR>กว่านั้น<WBR>ก็คือ<WBR> ควรทราบ<WBR>ว่าแม่<WBR>ครัวหรือ<WBR>เจ้าภาพ<WBR>เขารู้ตัว<WBR>ก่อนด้วยซ้ำ<WBR> เขาจึง<WBR>ปรุงอาหาร<WBR>เนื้อไว้มาก<WBR>กว่าอาหาร<WBR>ผักหลาย<WBR>เท่านัก<WBR> ทั้งนี้<WBR> ก็เพราะ<WBR>ตัณหา<WBR>ทั้งของ<WBR>ฝ่ายทายก<WBR>และปฏิคาหก<WBR> ร่วมมือกัน<WBR> "เบ่งอิทธิพล"<WBR>
    [​IMG]4. เป็นการฝึก<WBR>ในส่วน<WBR>สันโดษ<WBR> (การพอใจ<WBR>เท่าที่<WBR>มีที่ได้)<WBR> ชีวิต<WBR>พระย่อม<WBR>ได้อาหาร<WBR>ชั้นพื้นๆ<WBR> โดยมาก<WBR> ข้าพเจ้า<WBR>เคยเห็น<WBR>บรรพชิต<WBR>บางคน<WBR>เว้นไม่<WBR>รับอาหาร<WBR>จากคน<WBR>ยากจน<WBR> เพราะเลว<WBR>เกินไป<WBR> คือเป็นเพียง<WBR>ผักหรือ<WBR>ผลไม้ชั้นต่ำ<WBR> แม้จะ<WBR>รับมาก็เพื่อทิ้ง<WBR> นี่เป็น<WBR>ตัวอย่าง<WBR>ที่ไม่มี<WBR>ความสันโดษ<WBR> หรือถ่อมตน<WBR> การฝึก<WBR>เป็นนัก<WBR>เสพผัก<WBR>อย่างง่ายๆ<WBR> จะแก้ปัญหา<WBR>นี้ได้หมด<WBR> สันโดษ<WBR>เป็นทรัพย์<WBR>ของบรรพชิต<WBR>อย่างเอก
    [​IMG]5. เป็นการ<WBR>ฝึกใน<WBR>ส่วนจาคะ<WBR> (การสละ<WBR>สิ่งอันเป็น<WBR>ข้าศึก<WBR>แก่ความสงบ<WBR>หรือพ้นทุกข์)<WBR> นักเสพ<WBR>ผักมีดวงจิต<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ผ่องใส<WBR> เกินกว่า<WBR>จะนึกอยาก<WBR>ในเมื่อเดิน<WBR>ผ่านร้าน<WBR>อาหาร<WBR>นอกกาล<WBR> หรือถึง<WBR>กับนึก<WBR>ไปเอง<WBR>ในเรื่อง<WBR>ที่จะบริโภค<WBR>ให้มีรส<WBR>หลากๆ<WBR> เพราะผัก<WBR>ไม่ยั่ว<WBR>ในการ<WBR>บริโภคมาก<WBR>ไปกว่า<WBR>เพียงเพื่อ<WBR>อย่าให้ตาย<WBR> ต่างกับ<WBR>เนื้อสัตว์<WBR>ซึ่งยั่ว<WBR>ให้ติดรส<WBR>และมัวเมา<WBR>อยู่เสมอ<WBR> ความอยาก<WBR>ในรสที่<WBR>เกินจำเป็น<WBR>ของชีวิต<WBR> ความหลงใหล<WBR>ในรส<WBR> ความหงุดหงิด<WBR> เมื่อไม่มี<WBR>เนื้อที่<WBR>อร่อยมา<WBR>เป็นอาหาร<WBR> ฯลฯ<WBR> เหล่านี้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>รับรอง<WBR>ได้ว่า<WBR> ไม่มีใน<WBR>ใจของ<WBR>นักกินผัก<WBR>เลย ส่วน<WBR>นักเสพ<WBR>เนื้อนั้น<WBR> ย่อมทราบ<WBR>ของท่าน<WBR>ได้เอง<WBR> เป็นปัจจัตตังค์<WBR>เช่นเดียว<WBR>กับธรรมะ<WBR>อย่างอื่น<WBR>
    [​IMG]6. เป็นการ<WBR>ฝึก<WBR>ใน<WBR>ส่วน<WBR>ปัญญา (ความ<WBR>รู้<WBR>เท่า<WBR>ทัน<WBR>ดวง<WBR>จิต<WBR>ที่<WBR>กลับ<WBR>กลอก<WBR>) การ<WBR>กิน<WBR>อาหาร<WBR>จะ<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ได้<WBR>นั้น ผู้<WBR>กิน<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>แต่<WBR>เพียง<WBR>ว่า "กิน<WBR>อาหาร<WBR>" (ไม่<WBR>ใช่<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>หรือ<WBR>เนื้อ คาว<WBR>หรือ<WBR>หวาน<WBR>) และ<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>ที่<WBR>บริสุทธิ์ การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ปรับปรุง<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>ละวาง<WBR>ความ<WBR>ยึด<WBR>มั่น<WBR>ว่า เนื้อ<WBR>-ผัก<WBR>-หวาน<WBR>-คาว<WBR>-ดี<WBR>-ไม่<WBR>ดี ฯลฯ เหล่า<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>แบบ<WBR>ฝึก<WBR>หัด<WBR>ที่<WBR>ยาก แต่<WBR>ถ้า<WBR>ใช้<WBR>ปัญญา<WBR>พิจารณา<WBR>ให้<WBR>เห็น<WBR>โทษ<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ยึด<WBR>มั่น<WBR>ใน<WBR>ชื่อ<WBR>อาหาร<WBR>มา<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สำคัญ<WBR>เพียง<WBR>ว่า<WBR>เป็น "อาหาร<WBR>" ที่<WBR>บริสุทธิ์<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>บริโภค<WBR>อยู่<WBR>เสมอ<WBR>แล้ว นี่<WBR>ก็<WBR>เป็นการ<WBR>ก้าว<WBR>ใหญ่<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม ไม่<WBR>มี<WBR>อะไร<WBR>ดี<WBR>ไป<WBR>กว่า<WBR>อาหาร<WBR>ผัก ที่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>อารมณ์<WBR>บังคับ ให้<WBR>ท่าน<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>ปัญญา<WBR>พิจารณา<WBR>มัน<WBR>อยู่<WBR>เสมอ<WBR>ทุก<WBR>มื้อ เพราะ<WBR>เนื้อ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>หลง<WBR>รส ผัก<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ต้อง<WBR>ยก<WBR>ใจ<WBR>ขึ้น<WBR>หา<WBR>รส เหมาะ<WBR>แก่<WBR>สันดาน<WBR>ของ<WBR>สัตว์ ซึ่ง<WBR>มี<WBR>กิเลส<WBR>ย้อม<WBR>ใจ<WBR>จับ<WBR>แน่น<WBR>เป็น<WBR>น้ำ<WBR>ฝาด<WBR>มา<WBR>แต่<WBR>เดิม แต่<WBR>ปัญญา<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>เสมอ<WBR>ว่า ไม่<WBR>ใช่<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>นิพพาน<WBR>ได้<WBR>เพราะ<WBR>กิน<WBR>ผัก เป็น<WBR>เพียง<WBR>การ<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>เท่า<WBR>นั้น ไว้<WBR>นานๆ จะ<WBR>ทดลอง<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>ใน<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>ว่า จะ<WBR>บริสุทธิ์<WBR>สะอาด<WBR>พอ<WBR>หรือ<WBR>ยัง ด้วย<WBR>การ<WBR>ลอง<WBR>รส<WBR>อาหาร<WBR>ที่<WBR>ยั่ว<WBR>ลิ้น<WBR>เสีย<WBR>คราว<WBR>หนึ่ง คือ<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>ปรุง<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>รส<WBR>วิเศษ<WBR>นั่น<WBR>เอง ก็<WBR>ได้
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • buddhas.jpg
      buddhas.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.9 KB
      เปิดดู:
      199
  13. terryh

    terryh เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    768
    ค่าพลัง:
    +1,280
    พระพุทธศาสนา สรุปอย่างไร เกี่ยวกับมังสะวิรัติ ( อาหารปลอดเนื้อสัตว์

    ข้าพเจ้า<WBR>เอง ไม่<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>เห็น<WBR>ว่า ฝ่าย<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>จิต<WBR>ใจ<WBR>ต้อง<WBR>เป็น<WBR>ผัก ความ<WBR>จริง<WBR>มัน<WBR>ควร<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>ชั้น<WBR>เลวๆ ไม่<WBR>ประณีต<WBR>ก็<WBR>พอ<WBR>แล้ว แต่<WBR>เมื่อ<WBR>ใคร่<WBR>ครวญ<WBR>ดู<WBR>ไปๆ ก็<WBR>มา<WBR>ตรง<WBR>กับ<WBR>อาหาร<WBR>ผัก เพราะ<WBR>เนื้อ<WBR>นั้น<WBR>ทำ<WBR>อย่างไร<WBR>เสีย<WBR>ก็<WBR>ชวน<WBR>กิน<WBR>อยู่<WBR>ตาม<WBR>ธรรมชาติ แม้<WBR>เพียง<WBR>แต่<WBR>ต้ม<WBR>เฉยๆ มัน<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>ยั่ว<WBR>ตัณหา<WBR>อยู่<WBR>นั่น<WBR>เอง เพราะ<WBR>ฉะนั้น ฝ่าย<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ปราบ<WBR>ตัณหา<WBR>จึง<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>เกียรติยศ<WBR>ของ<WBR>ผัก คือ<WBR>อาหาร<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ข่ม<WBR>ตัณหา<WBR>ได้ และ<WBR>มี<WBR>แต่<WBR>ทาง<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ยอ<WBR>ย่าง<WBR>เดียว<WBR>โดย<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>การ<WBR>ระวัง<WBR>เลย<WBR>ก็<WBR>ได้ เหมาะ<WBR>สำหรับ<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>ระแวง<WBR>ภัย<WBR>ใน<WBR>ความ<WBR>ประมาท<WBR>อยู่<WBR>เสมอ

    [SIZE=+2]ฝ่าย<WBR>โลก เช่น :[/SIZE]
    [​IMG] 1. ผัก<WBR>มี<WBR>คุณ<WBR>แก่<WBR>ร่าง<WBR>กาย<WBR>ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>เนื้อ<WBR>หรือ<WBR>ไม่<WBR>วิทยาศาสตร์<WBR>ปัจจุบัน ก็<WBR>พอ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>รับ<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>โรค<WBR>ภัย<WBR>น้อย มี<WBR>กำลัง<WBR>แข็ง<WBR>แรง มีด<WBR>วง<WBR>จิต<WBR>สงบ<WBR>กว่า<WBR>เนื้อ<WBR>สัตว์ (ชาว<WBR>อินเดีย<WBR>ด้วย<WBR>กัน ที่<WBR>เป็น<WBR>พวก<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>ดุ<WBR>ร้าย<WBR>กว่า<WBR>พวก<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>พราหมณ์ ไม่<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>โดย<WBR>กำเนิด<WBR>) มี<WBR>ความ<WBR>หื่น<WBR>ใน<WBR>ความ<WBR>อยาก<WBR>-ความ<WBR>โกรธ<WBR>- ความ<WBR>มัว<WBR>เมา<WBR>น้อง<WBR>ลง<WBR>เป็น<WBR>อัน<WBR>มาก
    [​IMG]2. ทาง<WBR>เศรษฐกิจ<WBR> ราคา<WBR>ผัก<WBR>กับ<WBR>เนื้อ ทราบ<WBR>กัน<WBR>อยู่<WBR>แล้ว<WBR>ว่า<WBR>ผิด<WBR>กัน<WBR>เพียง<WBR>ไร ของ<WBR>ดี<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>มี<WBR>หลัก<WBR>ว่า<WBR>ต้อง<WBR>แพง<WBR>เสมอ<WBR>ไป แต่<WBR>ของ<WBR>แพง<WBR>คือ<WBR>ของ<WBR>สำหรับ<WBR>คน<WBR>โง่ คน<WBR>ทะเยอ<WBR>ทะยาน ของ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>คุณภาพ<WBR>สม<WBR>ค่า<WBR>หรือ<WBR>เกิน<WBR>ค่า ไม่<WBR>ใช่<WBR>ของ<WBR>แพง<WBR>แม้<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ราคา<WBR>เท่า<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ตาม และ<WBR>เป็น<WBR>ของ<WBR>สำหรับ<WBR>คน<WBR>ฉลาด อาหาร<WBR>เลวๆ ไม่<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>โง่<WBR>ลง<WBR>เลย ยิ่ง<WBR>เนื้อ<WBR>และ<WBR>ผัก<WBR>แล้ว เนื้อ<WBR>เสีย<WBR>อีก<WBR>กลับ<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ไห้<WBR>โง่ คือ<WBR>หลง<WBR>รส<WBR>ของ<WBR>มัน<WBR>จน<WBR>เคย<WBR>ชิน คนๆ เดียว<WBR>กัน<WBR>นั่น<WBR>เอง ถ้า<WBR>เขา<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>ผัก<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>เข้ม<WBR>แข็ง มี<WBR>ใจ<WBR>มั่น<WBR>คง ไม่<WBR>โยก<WBR>เยก<WBR>รวน<WBR>เร ยิ่ง<WBR>กว่า<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>เนื้อ (กิน<WBR>ผัก<WBR>มาก<WBR>ที่สุด<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>แต่<WBR>เล็ก<WBR>น้อย<WBR>เท่า<WBR>ที่<WBR>จำเป็น<WBR>จริงๆ ก็<WBR>เรียก<WBR>ว่า<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>ผัก ผัก<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>ผล<WBR>ไม้ น้ำตาล<WBR>สด ขนม ฯลฯ แม้<WBR>จะ<WBR>หมาย<WBR>ถึง<WBR>นม<WBR>ด้วย<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>)
    [​IMG]3. ธรรมชาติ<WBR>แท้ๆ ต้อง<WBR>การ<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR> ขอ<WBR>จง<WBR>คิด<WBR>ให้<WBR>ลึก<WBR>หน่อย<WBR>ว่า ธรรมชาติ<WBR>สร้าง<WBR>สรรค์<WBR>พวก<WBR>เรา<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รัก<WBR>ชีวิต<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>ทุกๆ คน เรา<WBR>ควร<WBR>เห็น<WBR>อก<WBR>ของ<WBR>สัตว์<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>ด้วย<WBR>กัน มิฉะนั้น<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ธรรม<WBR>เสีย<WBR>เลย ลอง<WBR>ส่ง<WBR>ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>กลางๆ ไป<WBR>ทั่ว<WBR>ใจ<WBR>สัตว์<WBR>ทุก<WBR>ตัว ที่<WBR>ต้อง<WBR>พราก<WBR>ผัว<WBR>-เมีย<WBR>-ลูก<WBR>-แม่<WBR>-พ่อ ฯลฯ โดย<WBR>ถูก<WBR>ฆ่า<WBR>เป็น<WBR>อาหาร<WBR>แล้ว<WBR>ลอง<WBR>เทียบ<WBR>ถึง<WBR>ใจ<WBR>เรา<WBR>บ้าง ถ้า<WBR>มี<WBR>พวก<WBR>ยักษ์<WBR>ใหญ่<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>แก่<WBR>เรา<WBR>เช่น<WBR>นั้น เรา<WBR>จะ<WBR>รู้สึก<WBR>อย่างไร<WBR>? เรา<WBR>จะ<WBR>ถึง<WBR>กับ<WBR>ร้อง<WBR>ให้<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>ช่วย<WBR>หรือ<WBR>ไม่ ถ้า<WBR>มี<WBR>พระ<WBR>เจ้าที่<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>ได้<WBR>? และ<WBR>คิด<WBR>สืบ<WBR>ไป<WBR>ว่า เมื่อ<WBR>เรา<WBR>อาจ<WBR>ช่วย หรือ<WBR>อาจ<WBR>เสีย<WBR>สละ<WBR>รส<WBR>ที่<WBR>ปลาย<WBR>ลิ้น<WBR>เพื่อ<WBR>ช่วย<WBR>ชีวิต<WBR>สัตว์<WBR>อื่น หรือ<WBR>ผู้<WBR>อื่น<WBR>ได้<WBR>แล้ว ธรรม<WBR>ของ<WBR>มนุษย์ (สัตว์<WBR>มี<WBR>ใจ<WBR>สูง<WBR>) จะ<WBR>ไม่<WBR>ช่วย<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ทำ<WBR>เพื่อ<WBR>เห็น<WBR>แก่<WBR>อก<WBR>เขา<WBR>และ<WBR>อก<WBR>เรา<WBR>บ้าง<WBR>เทียง<WBR>หรือ แม้<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>บำเพ็ญ<WBR>พระ<WBR>เมตตา<WBR>บารมี<WBR>อย่าง<WBR>กว้าง<WBR>ขวาง ทำไม<WBR>เรา<WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>ช่วย<WBR>ไร<WBR>เมื่อ<WBR>เรา<WBR>รู้<WBR>ว่า<WBR>เรา<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ฐานะ<WBR>ที่<WBR>ช่วย<WBR>ได้ แม้<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ช่วย<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>บาป<WBR>ก็<WBR>ตาม<WBR>?
    ธรรมชาติ<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ผัก<WBR>หญ้า<WBR>และ<WBR>ผล<WBR>ไม้ พอ<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>บริโภค<WBR>พอ<WBR>เพียง<WBR>เสมอ มนุษย์<WBR>มาก<WBR>ขึ้นๆ ทุก<WBR>ปี ส่วน<WBR>สัตว์<WBR>มี<WBR>น้อย<WBR>ลงๆ ทุก<WBR>ปี โลก<WBR>มนุษย์<WBR>ขยาย<WBR>ตัว<WBR>ออก โลก<WBR>สัตว์<WBR>เดรัจฉาน<WBR>หด<WBR>สั้น<WBR>เข้า ใน<WBR>ที่สุด<WBR>เนื้อ<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>กัน<WBR>กิน ต้อง<WBR>เลี้ยง<WBR>เป็น<WBR>สัตว์<WBR>เลี้ยง ก็<WBR>ที่<WBR>ดิน<WBR>ขนาด<WBR>เท่า<WBR>กัน สามารถ<WBR>เลี้ยง<WBR>สัตว์<WBR>พอ<WBR>เพื่อ<WBR>มนุษย์ น้อย<WBR>กว่า<WBR>ปลูก<WBR>ผัก<WBR>เพื่อ<WBR>มนุษย์ คิด<WBR>ดู แต่<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>เพื่อ<WBR>เลี้ยง<WBR>วัว 1 ตัว สำหรับ<WBR>กิน<WBR>เนื้อ และ<WBR>ต้อง<WBR>หลาย<WBR>ปี ปัญหา<WBR>จึง<WBR>ไป<WBR>ตก<WBR>หนัก<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>เนื้อ<WBR>สัตว์<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ หา<WBR>ใช่<WBR>ที่<WBR>ผัก<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>ไม่ แม้<WBR>ปลา<WBR>ใน<WBR>มหา<WBR>สมุทร ก็<WBR>บอก<WBR>สถิติ<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>อยู่<WBR>เรื่อยๆ มา<WBR>แล้ว<WBR>ว่า จะ<WBR>ต้อง<WBR>ขาด<WBR>มือ<WBR>ลง แต่<WBR>ข้อ<WBR>สำคัญ<WBR>ที่สุด<WBR>นั้น<WBR>คือ<WBR>มัน<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>คุณ<WBR>ไป<WBR>กว่า<WBR>ผัก<WBR>เลย
    มี<WBR>นัก<WBR>ปราชญ์<WBR>ทาง<WBR>วิทยาศาสตร์<WBR>คำนวณ<WBR>ว่า เนื่อง<WBR>จาก<WBR>เกิด<WBR>ใหม่<WBR>มาก<WBR>กว่า<WBR>การ<WBR>ตาย<WBR>ใน<WBR>เวลา<WBR>นี้<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>พล<WBR>โลก<WBR>เพิ่ม<WBR>ขึ้น<WBR>ถึง<WBR>ปี<WBR>ละ 21 ล้าน<WBR>คน แต่<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>จะ<WBR>เพิ่ม<WBR>มาก<WBR>ทวี<WBR>ขึ้น<WBR>อีก ถ้า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>เหตุ<WBR>ใด<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>จำนวน<WBR>น้อย<WBR>ลง เป็น<WBR>ต้น<WBR>ว่า การ<WBR>สงคราม<WBR>หรือ<WBR>โรค<WBR>ภัย<WBR>ที่<WBR>ร้าย<WBR>แรง<WBR>มา<WBR>ลด<WBR>จำนวน<WBR>ลง<WBR>เสีย<WBR>มากๆ เป็น<WBR>พิเศษ ใน<WBR>อีก<WBR>ร้อย<WBR>ปี<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>คน<WBR>ถึง 5,000 ล้าน (ห้า<WBR>พัน<WBR>ล้าน<WBR>) คน ใน<WBR>เวลา<WBR>นั้น<WBR>พื้น<WBR>ดิน<WBR>ทุกๆ แห่ง<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>เพาะ<WBR>ปลูก เพื่อ<WBR>ได้<WBR>อาหาร<WBR>มา<WBR>เลี้ยง<WBR>มนุษย์ ไม่<WBR>มี<WBR>ที่<WBR>ดิน<WBR>และ<WBR>อาหาร<WBR>ผัก<WBR>พอ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>เลี้ยง<WBR>สัตว์ มนุษย์<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>กิน<WBR>อาหาร<WBR>ผัก<WBR>และ<WBR>ข้าว<WBR>โดย<WBR>ตรง แทน<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็นการ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>โดย<WBR>ทาง<WBR>อ้อม มหา<WBR>เศรษฐี<WBR>จึง<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>นม<WBR>และ<WBR>เนื้อ<WBR>กิน โดย<WBR>เลี้ยง<WBR>วัว<WBR>ไว้<WBR>บน<WBR>ตึก<WBR>ชั้น<WBR>สุด<WBR>ยอด<WBR>หรือ<WBR>ใน<WBR>สวน<WBR>ข้างๆ บ้าน
    เวลา<WBR>นี้<WBR>มี<WBR>คน<WBR>เพียง<WBR>ประมาณ 2,000 ล้าน<WBR>คน เรา<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>อด<WBR>อยาก<WBR>อยู่<WBR>มาก<WBR>มาย<WBR>เพียง<WBR>ไร<WBR>? อีก<WBR>ร้อย<WBR>ปี<WBR>ข้าง<WBR>หน้า<WBR>เมื่อ<WBR>มี<WBR>คน<WBR>ถึง 5,000 ล้าน<WBR>คน ภาวะ<WBR>ของ<WBR>ความ<WBR>จน<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>อย่างไร ความ<WBR>จำเป็น<WBR>จะ<WBR>บังคับ<WBR>ให้<WBR>คน<WBR>ต้อง<WBR>กิน<WBR>อาหาร<WBR>ผัก<WBR>และ<WBR>เมล็ด<WBR>ข้าว<WBR>เท่า<WBR>นั้น
    สำหรับ<WBR>ภิกษุ ไม่<WBR>จำเป็น<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>รับ<WBR>รู้<WBR>มา<WBR>ถึง<WBR>เหตุผล<WBR>ของ<WBR>ฝ่าย<WBR>โลก<WBR>ดัง<WBR>กล่าว<WBR>มา<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>จริง แต่<WBR>เพราะ<WBR>เป็น<WBR>เพศ<WBR>นำ<WBR>ของ<WBR>เพศ<WBR>อื่น จึง<WBR>ควร<WBR>ดำรง<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>อาการ<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>ฝ่าย<WBR>ข้าง<WBR>พ้น<WBR>ทุกข์<WBR>สงบ<WBR>เยือก<WBR>เย็น<WBR>อยู่<WBR>เสมอ ไม่<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ดื้อ<WBR>ต่อ<WBR>เหตุผล ไม่<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>เลี้ยง<WBR>ยาก ไม่<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ละเลย<WBR>ต่อ<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>ความ<WBR>รู้สึก<WBR>ของ<WBR>ธรรมดา<WBR>ฝ่าย<WBR>ต่ำ มี<WBR>การ<WBR>เห็น<WBR>แก่<WBR>ตัว<WBR>หรือ<WBR>ความ<WBR>อร่อย<WBR>ของ<WBR>ตัว<WBR>เป็น<WBR>ต้น ไม่<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>หา<WBR>ข้อ<WBR>แก้<WBR>ตัว<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>ตี<WBR>โวหาร<WBR>ฝี<WBR>ปาก แต่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>รัก<WBR>ความ<WBR>ยุติธรรม รัก<WBR>ความ<WBR>สงบ แผ่<WBR>เมตตา<WBR>ไม่<WBR>จำกัด<WBR>วง ไม่<WBR>จำกัด<WBR>ความ<WBR>รับ<WBR>ผิด<WBR>ชอบ พร้อม<WBR>ด้วย<WBR>เหตุผล<WBR>อยู่<WBR>เสมอ เพราะ<WBR>ฉะนั้น ภิกษุ<WBR>จึง<WBR>ไม่<WBR>ควร<WBR>นิ่ง<WBR>เฉย<WBR>ต่อ<WBR>อารมณ์<WBR>ที่<WBR>เกื้อ<WBR>กู<WBR>ล<WBR>แก่<WBR>ความ<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ใน<WBR>ส่วน<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>แม้<WBR>แต่<WBR>น้อย
    การ<WBR>เว้น<WBR>บริโภค<WBR>เนื้อ ไม่<WBR>ใช่<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>ห<WBR>ร้า<WBR>หรือ<WBR>ฝ่า<WBR>ฝืน<WBR>พระ<WBR>บัญญัติ<WBR>สำหรับ<WBR>ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ประสงค์<WBR>เพื่อ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>- ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>เอา<WBR>คน<WBR>นอก<WBR>ส่วน<WBR>มาก<WBR>เป็น<WBR>ประมาณ<WBR>-ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>แพ้<WBR>ลิ้น<WBR>-ดวง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>ประสงค์<WBR>การ<WBR>ตี<WBR>โวหาร การ<WBR>ไม่<WBR>บริโภค<WBR>เนื้ อ<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ธุดงค์<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ธุดงค์<WBR>อื่นๆ ซึ่ง<WBR>ทรง<WBR>ตรัส<WBR>ไว้<WBR>ว่า<WBR>เป็นการ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส แต่<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ทรง<WBR>บังคับ<WBR>กะ<WBR>เกณฑ์<WBR>ให้<WBR>ใคร<WBR>ถือ แต่<WBR>เมื่อ<WBR>ใคร<WBR>ถือ<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>สรรเสริญ<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>มาก เช่น ทรง<WBR>สรรเสริญ<WBR>พระ<WBR>มหา<WBR>กัสสป ธุดงค์ 13 อย่าง บาง<WBR>อย่าง<WBR>เช่น เนสัช<WBR>ชิ<WBR>กัง<WBR>คะ ก็<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ใคร<WBR>เชื่อ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>พุทธ<WBR>ภาษิต<WBR>นัก แม้<WBR>จำนวน<WBR>สิบ<WBR>สาม<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>จำนวน<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>แต่ง<WBR>ตั้ง เมื่อ<WBR>เช่น<WBR>นั้น การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>เว้น<WBR>เนื้อ<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>รวม<WBR>ลง<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>ธุดงค์ หรือ<WBR>มัชฌิมาปฏิปทา<WBR>นั้น<WBR>เอง เพราะ<WBR>เข้า<WBR>กัน<WBR>ได้<WBR>กับ<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>อนุญาต<WBR>ใน<WBR>ฝ่าย<WBR>ธรรม มิ<WBR>ใช่<WBR>ฝ่าย<WBR>ศีล<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็นการ<WBR>บังคับ
    ท่าน<WBR>คง<WBR>ประหลาด<WBR>ใจ<WBR>หรือ<WBR>สงสัย<WBR>ว่า ข้าพเจ้า<WBR>เห็น<WBR>แต่<WBR>สนับสนุน<WBR>มติ<WBR>ของ<WBR>ตน<WBR>เอง จึง<WBR>ส่ง<WBR>เสริม<WBR>ให้<WBR>ฝึก<WBR>ใจ<WBR>ด้วย<WBR>อาหาร<WBR>ผัก ข้อ<WBR>นี้<WBR>ขอ<WBR>ตอบ<WBR>ว่า เพราะ<WBR>เป็น<WBR>โอกาส<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ฝึก<WBR>ฝน<WBR>ทดลอง ขูด<WBR>เกลา ได้<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>นั่น<WBR>เอง วิธี<WBR>อย่าง<WBR>อื่น<WBR>โดย<WBR>มาก<WBR>เรา<WBR>ต้อง<WBR>คอย<WBR>ระลึก<WBR>ขึ้น<WBR>มา ไม่<WBR>ได้<WBR>ผ่าน<WBR>มา<WBR>เฉพาะ<WBR>หน้า<WBR>เรา<WBR>ทุก<WBR>วันๆ เช่น<WBR>อาหาร และ<WBR>อีก<WBR>อย่าง<WBR>หนึ่ง<WBR>คน<WBR>ธรรมดา<WBR>เรา<WBR>ก็<WBR>ติด<WBR>รส<WBR>อาหาร<WBR>กัน<WBR>ทั้ง<WBR>นั้น มัน<WBR>เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>ทดลอง หรือ<WBR>วัด<WBR>น้ำ<WBR>ใจ<WBR>เรา เปรียบ<WBR>เหมือน<WBR>ออก<WBR>สงคราม<WBR>ต่อ<WBR>สู้<WBR>ข้า<WBR>ศึก<WBR>อยู่<WBR>เสมอ ถ้า<WBR>ไม่<WBR>กลัว<WBR>ว่า<WBR>มัน<WBR>เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>ทดลอง<WBR>วัด<WBR>น้ำ<WBR>ใจ<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>เกิน<WBR>ไป<WBR>แล้ว ท่าน<WBR>คง<WBR>เห็น<WBR>พัอง<WBR>กับ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ที<WBR>เดียว<WBR>ว่า<WBR>เรา<WBR>ควร<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>ประจำ<WBR>วัน<WBR>บท<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>แน่ เพราะ<WBR>มัน<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>เตือน<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ฝึก<WBR>มัน<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>ที<WBR>เดียว เป็น<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>ที่<WBR>ยาก แต่<WBR>เปิด<WBR>โอกาส<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ฝึก<WBR>ได้<WBR>ทุกๆ วัน
    ท่าน<WBR>อาจ<WBR>ถาม<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ว่า เรา<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>นิพพาน<WBR>ด้วย<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>กัน<WBR>หรือ<WBR>? ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>อาจ<WBR>ตอบ<WBR>ได้<WBR>โดย<WBR>ย้อน<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>ตอบ<WBR>ใน<WBR>ตัว<WBR>เอง<WBR>ว่า เรา<WBR>จะ<WBR>ไป<WBR>นิพพาน<WBR>ได้<WBR>โดย<WBR>ต้อง<WBR>ออก<WBR>บวช<WBR>เป็น<WBR>บรรพชิต<WBR>เท่า<WBR>นั้น<WBR>แล<WBR>หรือ<WBR>? ถ้า<WBR>ท่าน<WBR>ตอบ<WBR>ว่า<WBR>การ<WBR>บวช<WBR>เป็น<WBR>เพียง<WBR>การ<WBR>ช่วย<WBR>ให้<WBR>เร็ว<WBR>เข้า<WBR>เท่า<WBR>นั้น เพราะ<WBR>ฆราวาส<WBR>ก็<WBR>บรรลุ<WBR>มรรคผล<WBR>นิพพาน<WBR>ได้<WBR>แล้ว ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>พิสูจน์<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>ทันที<WBR>ว่า<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ก็<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>กัน เพราะ<WBR>เป็นการ<WBR>ฝึก<WBR>ใจ<WBR>ช่วย<WBR>ให้<WBR>ไป<WBR>ถึง<WBR>การ<WBR>ชำนะ<WBR>ตัณหา<WBR>เร็ว<WBR>เข้า ดัง<WBR>กล่าว<WBR>ง<WBR>แล้ว ถ้า<WBR>ใคร<WBR>จะ<WBR>พยายาม<WBR>พิสูจน์<WBR>ว่า กิน<WBR>ผัก<WBR>เพราะ<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>องค์<WBR>ไม่<WBR>ฉัน<WBR>เนื้อ หรือ<WBR>กิน<WBR>เนื้อ<WBR>เป็น<WBR>บาป<WBR>แล้ว ข้าพเจ้า<WBR>ก็<WBR>เห็น<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>เหตุผล<WBR>เพียง<WBR>พอ<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ท่าน เพราะ<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>บริสุทธิ์<WBR>ไม่<WBR>บาป และ<WBR>พระองค์<WBR>ก็<WBR>ฉัน<WBR>เนื้อ
    ถ้า<WBR>ท่าน<WBR>ยัง<WBR>แย้ง<WBR>ว่า การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เป็นการ<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม ข้าพเจ้า<WBR>มี<WBR>คำ<WBR>ตอบ<WBR>แต่<WBR>เพียง<WBR>ว่า ท่าน<WBR>ยัง<WBR>ไม่<WBR>รู้จัก<WBR>ตัว<WBR>ปฏิ<WBR>บิ<WBR>ติ<WBR>ธรรม<WBR>เสีย<WBR>เลย ท่าน<WBR>จะ<WBR>รู้จัก<WBR>การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>อุปกรณ์<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ธรรม<WBR>อย่างไร<WBR>ได้
    ขอ<WBR>ให้<WBR>ทราบ<WBR>ว่า "การ<WBR>กิน<WBR>ผัก<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ถือ<WBR>เป็น<WBR>ลัทธิ<WBR>หรือ<WBR>บัญญัติ<WBR>" เรา<WBR>ฝึก<WBR>บท<WBR>เรียน<WBR>นี้ โดย<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>สมาทาน หรือ<WBR>ปฏิญาณ อย่าง<WBR>สมาทาน<WBR>ลัทธิ หรือ<WBR>ศีล มัน<WBR>เป็น<WBR>ข้อ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ฝ่าย<WBR>ธรรม<WBR>ทาง<WBR>ใจ ซึ่ง<WBR>เรา<WBR>อาศัย<WBR>หลัก<WBR>กา<WBR>ลาม<WBR>สูตร หรือ<WBR>โค<WBR>ต<WBR>มี<WBR>สูตร เป็น<WBR>เครื่อง<WBR>มือ<WBR>ตัดสิน<WBR>แล้ว ก็<WBR>พบ<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>แต่<WBR>ฝ่าย<WBR>ถูก ฝ่าย<WBR>ให้<WBR>คุณ<WBR>โดย<WBR>ส่วน<WBR>เดียว เป็นการ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>ซึ่ง<WBR>พระ<WBR>พุทธ<WBR>องค์<WBR>สรรเสริญ แต่<WBR>ถ้า<WBR>ใคร<WBR>ทำ<WBR>เพราะ<WBR>ยึด<WBR>มั่น ก็<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>สี<WBR>ลัพพต<WBR>ปรามาส<WBR>ยิ่ง<WBR>ขึ้น และ<WBR>ถ้า<WBR>บังคับ<WBR>กัน<WBR>ก็<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>ลัทธิ<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>เท<WBR>วทัต ที่<WBR>จริง<WBR>หลัก<WBR>มัชฌิมาปฏิปทา สอน<WBR>ให้<WBR>เรา<WBR>ทำ<WBR>ตาม<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>ด้วย<WBR>ปัญญา<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>ไป<WBR>เพื่อ<WBR>ความ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>กิเลส<WBR>เสมอ แต่<WBR>เรา<WBR>มอง<WBR>เห็น<WBR>แล้ว<WBR>ไม่<WBR>ทำ ก็<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>เรา<WBR>ไม่<WBR>ปรารถนา<WBR>ดี<WBR>ไป<WBR>เอง ส่วน<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>ยัง<WBR>มอง<WBR>ไม่<WBR>เห็น<WBR>นั้น<WBR>ไม่<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>วง<WBR>นี้ มัชฌิมาปฏิปทา<WBR>คือ<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>ดี<WBR>โดย<WBR>วง<WBR>กว้าง<WBR>!
    วัน<WBR>นี้<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>เขียน<WBR>มาก จน<WBR>คาด<WBR>ว่า<WBR>บรรณาธิการ<WBR>จะ<WBR>รังเกียจ<WBR>เพราะ<WBR>จะ<WBR>แย่ง<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>ของ<WBR>เรื่อง<WBR>แผนก<WBR>อื่น<WBR>ไป จึง<WBR>ขอ<WBR>ไว้<WBR>อธิบาย<WBR>เพิ่ม<WBR>เติม<WBR>ใน<WBR>โอกาส<WBR>หลัง<WBR>บ้าง แต่<WBR>ขอ<WBR>อย่าง<WBR>ลืม<WBR>หลัก<WBR>สั้นๆ ว่า เรา<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เสพ<WBR>ผัก<WBR>เพื่อ<WBR>เอา<WBR>ชื่อ<WBR>เสียง<WBR>ว่า<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>เสพ<WBR>ผัก (Vegetarian) เลย เรา<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ขูด<WBR>เกลา<WBR>ใจ<WBR>เพื่อ<WBR>ยึด<WBR>เอา<WBR>ประโยชน์<WBR>อัน<WBR>เกิด<WBR>แต่<WBR>การ<WBR>มี<WBR>กิเลส<WBR>เบา<WBR>บาง<WBR>อีก<WBR>ส่วน<WBR>หนึ่ง<WBR>เท่า<WBR>นั้น เพราะ<WBR>ฉะนั้น เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>ผู้<WBR>ใด<WBR>จะ<WBR>วิเคราะห์<WBR>เหตุผล<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย<WBR>ของ<WBR>ข้าพเจ้า โปรด<WBR>ใช้<WBR>กฎ<WBR>ประจำ<WBR>ใจ<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>เข้า<WBR>ผสม<WBR>ด้วย<WBR>เสมอ และ<WBR>อย่า<WBR>ลืม<WBR>ว่า<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>เป็น<WBR>คน<WBR>ฝ่าย<WBR>โลก<WBR>นาถ<WBR>ภิกษุ หรือ<WBR>ฝ่าย<WBR>ใคร นอกจาก<WBR>ฝ่าย<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>เหตุผล แล้ว<WBR>และ<WBR>ตั้ง<WBR>หน้า<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ด้วย<WBR>ความ<WBR>เชื่อ<WBR>ความ<WBR>นับถือ<WBR>ตน<WBR>เอง<WBR>เท่า<WBR>นั้น และ<WBR>ข้อ<WBR>สำคัญ<WBR>ที่สุด<WBR>ก็<WBR>คือ ข้าพเจ้า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ขอ<WBR>ร้อง<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>ผัก เป็น<WBR>แต่<WBR>แสดง<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>เห็น<WBR>ของ<WBR>ข้าพเจ้า<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>นี้ ขอ<WBR>ร้อง<WBR>เพียง<WBR>ให้<WBR>ท่าน<WBR>นำ<WBR>ไป<WBR>คิด<WBR>ดู เมื่อ<WBR>ท่าน<WBR>คิด<WBR>แล้ว<WBR>ใน<WBR>กาล<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ท่าน<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>นัก<WBR>ผัก<WBR>หรือ<WBR>นัก<WBR>เนื้อ ก็<WBR>แล้ว<WBR>แต่<WBR>เหตุผล<WBR>ของ<WBR>ท่าน พุทธ<WBR>บุตร<WBR>ที่<WBR>แท้<WBR>จริง<WBR>คือ "คน<WBR>มี<WBR>เหตุผล<WBR>" ที่<WBR>จริง<WBR>นัก<WBR>เนื้อ<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>ผู้<WBR>อัน<WBR>ใคร<WBR>จะ<WBR>พึง<WBR>รังเกียจ เช่น<WBR>เดียว<WBR>กับ<WBR>ผู้<WBR>ไม่<WBR>สามารถ<WBR>ทาน<WBR>ธุดงค์<WBR>อย่าง<WBR>อื่น เช่น ทรง<WBR>ไตร<WBR>จีวร หรือ<WBR>อยู่<WBR>โค<WBR>น<WBR>ไม้<WBR>เหมือน<WBR>กัน เพราะ<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>บังคับ<WBR>.
    <CENTER>[​IMG]</CENTER><!-- links -->

    <CENTER>[SIZE=+1][ หน้าแรก[/B][/SIZE] | นิยามมังสวิรัติ[/B] | เหตุใดต้องเป็นมังสวิรัติ[/B] | อาหารหลักสี่หมู่[/B] | โครงสร้างทางสรีระ[/B] | รายงานการวิจัย[/B]
    | หลักการกินมังสวิรัติ[/B] | คำสอนทางศาสนา[/B] | คนดังนักมังสวิรัติ[/B] | ไขข้อข้องใจ[/B] | นานาสาระ[/B] | Link[/B] ] </CENTER><!-- footer -->
    <CENTER>[​IMG]
    ปรับปรุงเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2542
    [​IMG]แนะนำและติชม[​IMG] </CENTER>[​IMG] <!-- Yahoo! Menu service --></TABLE></NOSCRIPT></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript src="http://a372.g.a.yimg.com/f/372/27/1d/www.geocities.com/js_source/ygIELib6.js"></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript>var yvContents='http://geocities.yahoo.com/toto?s=76000012&l=NE&b=1&t=962080349';yfEA(0);</SCRIPT><!-- END Yahoo! Menu Service --><SCRIPT language=JavaScript src="http://a372.g.a.yimg.com/f/372/27/1d/www.geocities.com/js_source/geov2.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript>geovisit();</SCRIPT>[​IMG] <NOSCRIPT></NOSCRIPT><!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --></OBJECT></LAYER>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • buddhas.jpg
      buddhas.jpg
      ขนาดไฟล์:
      20.9 KB
      เปิดดู:
      174
  14. อิทธิปาฏิหาริย์

    อิทธิปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    1,834
    ค่าพลัง:
    +1,472
  15. kidz4u

    kidz4u Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    39
    ค่าพลัง:
    +42
    สาธุ สาธุ สาธุ
     
  16. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,731
    คนเราทำทุกอย่างเพื่อตนเองจริงๆนะคะ
    ลืมคิดถึงคนอื่นๆ ชีวิตอื่น
    ว่าเขาก็รักชีวิตเช่นกัน
     
  17. นกนิรันดร

    นกนิรันดร สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    23
    ค่าพลัง:
    +2
    ขอบคุณมากครับ
     
  18. Nart Lamp

    Nart Lamp สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +15
    อนุโมทนาในกุศลผลบุญครับ...
     
  19. kungzaza88

    kungzaza88 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    413
    ค่าพลัง:
    +536
    เพลงธรรม ชีวิตที่ร่ำไห้ ซึ้งเพราะมาก

    อนุโมธนา หยุดการฆ่าสัตว์ หันมากินเจบ้างเถอะ
     
  20. peny_2119

    peny_2119 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    158
    ค่าพลัง:
    +154
    อนุโมทนา สาธุ มนุษย์เรานี้เห็นแก่ตัวมากจริงๆ
     

แชร์หน้านี้

Loading...