สัญโญชนสัมปยุตตทุกะ ปัจจยวาร สังสัฏฐวาร

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย vilawan, 3 พฤษภาคม 2011.

  1. vilawan

    vilawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    836
    ค่าพลัง:
    +1,432
    ปัจจยวาร
    <O:p</O:p

    [๔๕๓]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย คือ ตลอดถึงปฏิสนธิ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ
    โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะเหตุปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และสัญโญชน<O:p</O:pวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ โมหะ
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย
    จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป<O:p</O:p
    อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    <O:p</O:p
    [๔๕๔]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย เหมือนกับปฏิจจวาร<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ตลอดถึงปฏิสนธิ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม<O:p</O:p
    อาศัยหทัยวัตถุ
    จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ
    กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ<O:p</O:p
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ
    โมหะ ที่สหรคต<O:p</O:pด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    อาศัยสัญโญชน<O:p</O:pวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ
    อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    หทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม
    และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    อุทธัจจะ และหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัย<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม และสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น
    เพราะอารัมมณปัจจัย คือ ขันธ์ ๓ และ โมหะ อาศัยขันธ์ ๑
    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทัยวัตถุ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
    <O:p</O:p
    [๔๕๕]
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย
    <O:p
    [๔๕๖]
    ในเหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
    ในอารัมมณปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในอธิปติปัจจัยมี " ๙<O:p
    ในปัจจัยทั้งปวงมี " ๙<O:p</O:p
    ในวิปากปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในอาหารปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในอวิคตปัจจัยมี " ๙
    <O:p</O:p
    [๔๕๗]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    วิจิกิจฉา<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    อุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย
    คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุทุกะ<O:p</O:p
    ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์
    จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ
    กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ<O:p</O:p
    โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น<O:p</O:p
    ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    วิจิกิจฉา และ หทัยวัตถุ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม อาศัยสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    อุทธัจจะ และหทัยวัตถุ<O:p</O:p

    ฯลฯ
    <O:p</O:p

    [๔๕๘]ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อนันตรปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัยมี " ๗<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัยมี " ๔<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัยมี " ๙<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาหารปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อินทริยปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัยมี " ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัยมี " ๓
    <O:p</O:p
    [๔๕๙]ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย<O:p</O:p
    กับเหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย กับ ฯลฯมี " ๙<O:p</O:p

    พึงกระทำอย่างนี้
    <O:p</O:p

    [๔๖๐]
    ในอารัมมณปัจจัยกับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยทั้งปวงกับ ฯลฯมี " ๖<O:p</O:p
    ในวิปากปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๑<O:p</O:p
    ในอาหารปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๖<O:p</O:p
    ในมัคคปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๖<O:p</O:p
    ในอวิคตปัจจัยกับ ฯลฯมี " ๖<O:p</O:p
    แม้นิสสยวาร ก็เหมือนกับ ปัจจยวาร<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สังสัฏฐวาร<O:p</O:p

    [๔๖๑]สัญโญชนสัมปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนสัมปยุตตธรรม<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัญโญชนวิปปยุตตธรรม<O:p</O:p
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับสัญโญชนวิปปยุตตธรรม
    เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย คลุกเคล้ากับโมหะ ที่สหรคตด้วย<O:p</O:p
    อุทธัจจะ<O:p</O:p
    สัญโญชนสัมปยุตตธรรม คลุกเคล้ากับสัญโญชนสัมปยุตตธรรม และ<O:p</O:p
    สัญโญชนวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย<O:p</O:p
    คือ ขันธ์ ๓ คลุกเคล้ากับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ<O:p</O:p
    โมหะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ<O:p</O:p

    ฯลฯ
    <O:p</O:p

    [๔๖๒]ในเหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๔<O:p</O:p
    ในอารัมมณปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในอธิปติปัจจัยมี " ๒<O:p</O:p
    ในอนันตรปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในสมนันตรปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในอวิคตปัจจัยมี " ๖
    <O:p</O:p
    [๔๖๓]ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัยมีหัวข้อปัจจัย ๓<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปุเรชาตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ปัจฉาชาตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อาเสวนปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่กัมมปัจจัยมี " ๔<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปากปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่ฌานปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัยมี " ๑<O:p</O:p
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัยมี " ๖<O:p</O:p
    การนับทั้งสองนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวารก็ดี พึงกระทำอย่างนี้<O:p</O:p
     
  2. vilawan

    vilawan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    836
    ค่าพลัง:
    +1,432
    [MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.1478903/[/MUSIC]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

แชร์หน้านี้

Loading...