ย้อนยุค...งานวัดภูเขาทอง สักการะ 'พระบรมสารีริกธาตุ

ในห้อง 'ท่องเที่ยว - อาหารการกิน' ตั้งกระทู้โดย vacharaphol, 22 ตุลาคม 2009.

  1. vacharaphol

    vacharaphol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    8,849
    ค่าพลัง:
    +27,174
    สักการะ 'พระบรมสารีริกธาตุ' <!-- AddThis Button BEGIN --><SCRIPT type=text/javascript>var addthis_pub="komchadluek";var addthis_brand = "คมชัดลึก";var addthis_header_color = "#ffffff";var addthis_header_background = "#3792ef"</SCRIPT>[​IMG]<SCRIPT src="http://s7.addthis.com/js/200/addthis_widget.js" type=text/javascript></SCRIPT> <!-- AddThis Button END -->
    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]



    <SCRIPT type=text/javascript>var id='33677';function count(){$.ajax({ type: "POST", url: "http://www.komchadluek.net/counter_news.php", data: "newsid="+id, success: function(txt){ var counter_=parseInt(txt); $('#counters').html('จำนวนคนอ่าน '+counter_+' คน'); } });} featuredcontentslider.init({ id: "slider1", contentsource: ["inline", ""], toc: "markup", nextprev: ["Previous", "Next"], revealtype: "click", enablefade: [true, 0.1], autorotate: [true, 8000], onChange: function(previndex, curindex){ }})</SCRIPT>คมชัดลึก :วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เป็นวัดเก่าแก่ มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นวัดหนึ่งที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองมาจนปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็นวัดที่ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ แห่งองค์บรมบรรพต (ภูเขาทอง) ซึ่งมีบันทึกไว้ในจดหมายเหตุ ที่บ่งบอกว่า เป็นพระบรมสารีริกธาตุที่แน่ชัดว่าเป็นของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จากเมืองกบิลพัสตุ์ ประเทศอินเดีย โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้รับพระบรมสารีริกธาตุจากรัฐบาลอินเดีย และได้โปรดเกล้าฯ ให้บรรจุประดิษฐานไว้บนองค์บรมบรรพต (ภูเขาทอง) จากนั้นได้โปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ จนกลายเป็น ประเพณีนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ สืบต่อมายาวนาน นับ ๑๐๐ ปี จนถึงปัจจุบัน ที่เรียกกันในเวลาต่อมาว่า งานวัดภูเขาทอง
    <SCRIPT type=text/javascript>google_ad_channel = '9989085094'; //slot numbergoogle_ad_type = 'text'; //media image, text, html, flash google_max_num_ads = '3'; //amount Ads//google_image_size = '300X250';//google_skip = '3';var ads_ID = 'adsense_inside'; // set ID for main Element divvar displayBorderTop = false; // default = false;//var displayLandScape = true; // false=Default, true=landscape *** if set Landscape not arrow ad type imagevar position_ad_detail ='in'; // ''=Default, in=Intext, under=TextUnderDetail</SCRIPT><SCRIPT src="http://www.komchadluek.net/AdsenseJS.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/show_ads.js" type=text/javascript></SCRIPT><SCRIPT src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/test_domain.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://pagead2.googlesyndication.com/pagead/render_ads.js"></SCRIPT><SCRIPT>google_protectAndRun("render_ads.js::google_render_ad", google_handleError, google_render_ad);</SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript1.1 src="http://googleads.g.doubleclick.net/pagead/ads?client=ca-pub-1044823792492543&output=js&lmt=1256203181&num_ads=3&channel=9989085094&ad_type=text&adtest=off&ea=0&feedback_link=on&flash=9.0.45.0&url=http%3A%2F%2Fwww.komchadluek.net%2Fdetail%2F20091022%2F33677%2F%E0%B8%A2%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84...%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B8.html&dt=1256203181578&correlator=1256203181578&frm=0&ga_vid=1310612042.1256202622&ga_sid=1256202622&ga_hid=1614155174&ga_fc=1&u_tz=420&u_his=1&u_java=1&u_h=800&u_w=1280&u_ah=770&u_aw=1280&u_cd=32&u_nplug=0&u_nmime=0&biw=1259&bih=631&ref=http%3A%2F%2Fwww.komchadluek.com%2F&fu=0&ifi=1&dtd=47"></SCRIPT>
    จนมีการกล่าวกันว่า งานวัดภูเขาทอง เป็นต้นกำเนิดของงานวัดในเมืองไทย และเป็นงานใหญ่ประจำปี ที่ชาวกรุงเทพพระนคร เฝ้ารอคอยที่จะมาร่วมงานเสมอมา

    อย่างไรก็ตาม รูปแบบของงานวัด อาจเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่งานวัดภูเขาทองยังคงเป็นงานวัดที่คงรูปแบบ และกลิ่นอายของงานวัดในอดีต นับเป็นงานวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังคงได้รับความนิยมและกล่าวขวัญถึงมากที่สุด จนทุกวันนี้
    สำหรับปีนี้ มีกำหนดการจัดงาน ขึ้นในวันที่ ๒๖ ตุลาคม - ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ นี้ โดยมีวัตถุประสงค์ ๑.เพื่อสืบสานประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และเป็นเอกลักษณ์อันดีงามสืบไป ๒.เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันพระราชสมภพ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๒ ๓.เพื่อสร้างความเป็นสิริรมงคลแก่ประเทศชาติ และผู้ร่วมงาน ๔.ส่งเสริมการท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ ด้วยการจัดกิจกรรมที่ดึงดูดความสนใจ สร้างสีสันให้เมืองหลวง ๕.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ อันทรงคุณค่าของบ้านเมืองของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัด ซึ่งถือเป็นสถานที่หล่อหลอมรวมประวัติศาสตร์อันทรงคุณค่าของบ้านเมืองไว้ ๖.เพื่อสร้างกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ ทั้งในด้านคุณค่าทางสติปัญญา จิตใจ สนับสนุนให้ครอบครัว สังคม ได้มาชมกิจกรรมนี้ร่วมกัน
    กิจกรรมในงานประกอบด้วย เทศกาลงานบุญ, เทศกาลงานวัด (แบบย้อนยุค) และเทศกาลงานสมโภชองค์พระบรมสารีริกธาตุ
    โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พิธีอัญเชิญและขบวน แห่ผ้าแดง เพื่อนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นพิธีที่มีมาตั้งแต่รัชกาลที่ ๕ เพราะเชื่อกันว่า เป็นพิธีที่ทำให้เกิดสิริมงคลอย่างยิ่ง ด้วยอานุภาพแห่งพุทธบูชา คือ การสักการบูชาพระเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ จะทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุข มีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าในชีวิต เสริมชะตา เสริมบารมี แคล้วคลาดปลอดภัยจากสรรพอันตราย
    พิธีห่มผ้าแดง ประกอบด้วยรถแห่ ขบวนฉัตรริ้วทิวธง ขบวนม้าตระการตา ประกอบพิธีย้อนยุค จำลองเหมือนครั้งอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุในอดีต สมัยรัชกาลที่ ๕
    นอกจากนี้ พุทธศาสนิกชนจะได้สักการบูชา พระพุทธรูป และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่สำคัญๆ ภายในวัด ซึ่งบางองค์เปิดโอกาสให้สักการบูชาได้เฉพาะในงานนี้เท่านั้น
    ในส่วนของกิจกรรมต่างๆ ประกอบด้วย ๑. ตลาดไทยย้อนยุค ๒. เวทีกิจกรรมกลางการแสดงดนตรีไทย, สาธิตศิลปะช่างสิบหมู่, หัตถกรรม, การทำอาหาร และขนมไทย, การแสดงดนตรีไทย และการแสดงเด็ก เช่น โขนเด็ก ฯลฯ
    ในส่วนของกิจกรรมสาธิต งานช่างหัวโขน ซึ่งเป็นศิลปวัตถุประเภทประณีตศิลป์ ที่ได้รับการสร้างขึ้นอย่างวิจิตรประณีต ด้วยกระบวนการช่างแบบไทย ที่แสดงออกถึงภูมิปัญญาและเอกลักษณ์ในงานศิลปะแบบไทยประเพณีประเภทหนึ่ง
    หัวโขนจึงเป็นศิลปวัตถุ ที่มีรูปลักษณะควรแก่การดูชม และเก็บรักษาไว้เพื่อการชื่นชมในรูปสมบัติและคุณสมบัติในฐานะศิลปกรรมไทยประเพณีวิธีการและกระบวนการทำหัวโขน โดยวิธีการอันเป็นไปตามระเบียบวิธีแห่งการช่างทำหัวโขน ตามขนบนิยม อันมีมาแต่ก่อน และยังคงถือปฎิบัติการทำหัวโขนของช่างหัวโขนบางคนต่อมา จนกระทั่งปัจจุบัน
    "บุญนำพา
     

แชร์หน้านี้

Loading...