ปัญหาวาร(๕๙๔-๖๐๙)

ในห้อง 'พระไตรปิฎก เสียงอ่าน' ตั้งกระทู้โดย Siranya, 30 มีนาคม 2011.

  1. Siranya

    Siranya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    2,051
    ค่าพลัง:
    +9,004
    <CENTER>[MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.1428693/[/MUSIC]</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>ปัญหาวาร
    </CENTER>[๕๙๔] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรม
    ทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยเหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    และนีวรณธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    เหตุปัจจัย
    คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
    จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยเหตุปัจจัย ปฏิสนธิ
    [๕๙๕] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    เกิดขึ้น





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    อารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณาซึ่งกุศลกรรม
    นั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภความยินดีนั้น
    ทิฏฐิ เกิดขึ้น โทมนัส เกิดขึ้น
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    ออกจากฌาน ฌาน ฯลฯ
    พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค มรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
    นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่
    อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม กิเลสที่
    ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
    บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ
    บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่นิวรณธรรม โดย
    เจโตปริยญาณ
    อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ
    เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
    โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
    ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
    *ปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
    แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    ฌาน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่ง
    ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะปรารภจักขุ เป็นต้นนั้น ราคะ เกิดขึ้น
    ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    จากฌาน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่ง
    ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เพราะปรารภจักขุเป็นต้นนั้น นีวรณธรรม และ
    สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย มี ๓ นัย พึงกระทำว่าเพราะปรารภ
    [๕๙๖] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ เพราะกระทำนีวรณธรรม
    ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นีวรณธรรมทั้งหลาย เกิดขึ้น มี ๓ นัย
    เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    อธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ บุคคลกระทำ
    อุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อม
    ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำความยินดีนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
    ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    จากฌาน ฯลฯ
    พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค มรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ
    นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล โดย
    อธิปติปัจจัย
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ
    จักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรมเป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    จากฌาน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ
    จักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ เกิดขึ้น ทิฏฐิ เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัย
    แก่สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย โดยอธิปติปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอธิปติปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ
    ที่เป็นอารัมมณาธิปติ ได้แก่ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
    กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
    จากฌาน ฯลฯ
    จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ
    จักขุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย เกิดขึ้น
    ที่เป็นสหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และนีวรณธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดย
    อธิปติปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    โดยอธิปติปัจจัย
    มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ มี ๓ นัย เป็นอารัมมณาธิปติเท่านั้น
    [๕๙๗] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอนันตรปัจจัย
    คือ นีวรณธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย
    ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย นีวรณธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่
    วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย
    ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    อนันตรปัจจัย
    คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่
    ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย เนวสัญญานา-
    *สัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตร-
    *ปัจจัย





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
    *ธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-
    *ธรรมทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ที่เกิดก่อนๆ
    เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย โดยอนันตรปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    โดยอนันตรปัจจัย
    คือ นีวรณธรรม ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย
    แก่นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น
    ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย
    นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตร-
    *ปัจจัย นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น
    ปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลังๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย
    อนันตรปัจจัย
    นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยสมนันตรปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสหชาตปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอัญญมัญญปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยนิสสยปัจจัย
    [๕๙๘] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ นีวรณธรรมทั้งหลาย มี ๓ นัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    อุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน
    ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค
    ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ
    บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ
    ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน
    ฯลฯ ทำลายสงฆ์
    ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่
    ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ
    โดยอุปนิสสยปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ นีวรณธรรม โดยอุปนิสสย-
    *ปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อ
    มานะ ถือทิฏฐิ
    บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
    ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา
    โดยอุปนิสสยปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อ
    มานะ ถือทิฏฐิ
    บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์
    ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    โดยอุปนิสสยปัจจัย
    มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ
    ฯลฯ ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ นีวรณธรรมทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ นัย
    [๕๙๙] ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยปุเรชาตปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต
    ที่เป็นอารัมมณปุเรชาต ได้แก่ จักขุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเป็น
    ของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น มี ๓ นัย
    ปุเรชาตปัจจัย เหมือนกับ อารัมมณปัจจัย





    <CENTER>พึงจำแนก กุศล และอกุศล
    </CENTER>[๖๐๐] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย
    มี ๓ นัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๙ นัย
    [๖๐๑] ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยกัมมปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
    สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    ที่เป็นนานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่
    วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย





    <CENTER>พึงถามถึงมูล
    </CENTER>เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรมทั้งหลาย
    โดยกัมมปัจจัย เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    และนีวรณธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยกัมมปัจจัย
    [๖๐๒] ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยวิปากปัจจัย มี ๑ นัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอาหารปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยอินทริยปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยฌานปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยมัคคปัจจัย
    ฯลฯ เป็นปัจจัย โดยสัมปยุตตปัจจัย
    [๖๐๓] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    วิปปยุตตปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต





    <CENTER>หัวข้อปัจจัย ๔ ที่เหลือ พึงกระทำอย่างนี้
    </CENTER>[๖๐๔] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    คือ กามฉันทนิวรณ์ เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์ แก่อุทธัจจนิวรณ์
    แก่อวิชชานิวรณ์ โดยอัตถิปัจจัย





    <CENTER>พึงผูกจักรนัย
    </CENTER>นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต





    <CENTER>ในนีวรณมูล ก็มีหัวข้อปัจจัย ๓ อย่างนี้
    </CENTER>ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดย
    อัตถิปัจจัย
    มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์ ฯลฯ
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ฯลฯ
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ฯลฯ
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ กามฉันทนิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์ แก่อุทธัจจนิวรณ์ แก่อวิชชานิวรณ์ โดยอัตถิปัจจัย
    กามฉันทนิวรณ์ และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์ แก่อวิชชานิวรณ์
    โดยอัตถิปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทรีย์
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม และนีวรณธรรม
    ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
    ขันธ์ ๒ ฯลฯ นีวรณธรรมทั้งหลาย และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
    ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
    เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย นีวรณธรรม และ
    มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
    ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น
    ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย
    ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ
    กพฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย
    ที่เป็นปัจฉาชาต ได้แก่ นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และ
    รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอัตถิปัจจัย
    มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต
    ที่เป็นสหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม และกามฉันทนิวรณ์
    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ถีนมิทธนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
    ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ กามฉันทนิวรณ์ และหทัยวัตถุ เป็น
    ปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ และสัมปยุตตขันธ์
    ทั้งหลาย โดยอัตถิปัจจัย





    <CENTER>พึงผูกจักรนัย
    </CENTER>[๖๐๕] ในเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔
    ในอารัมมณปัจจัย มี " ๙
    ในอธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในอนันตรปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในสมนันตรปัจจัย มี " ๙
    ในสหชาตปัจจัย มี " ๙
    ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๙
    ในนิสสยปัจจัย มี " ๙
    ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๙
    ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓
    ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓
    ในอาเสวนปัจจัย มี " ๙
    ในกัมมปัจจัย มี " ๓
    ในวิปากปัจจัย มี " ๑
    ในอาหารปัจจัย มี " ๓
    ในอินทริยปัจจัย มี " ๓
    ในฌานปัจจัย มี " ๓
    ในมัคคปัจจัย มี " ๓
    ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๙
    ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕
    ในอัตถิปัจจัย มี " ๙
    ในนัตถิปัจจัย มี " ๙
    ในวิคตปัจจัย มี " ๙
    ในอวิคตปัจจัย มี " ๙
    [๖๐๖] นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
    ปัจฉาชาตปัจจัย
    นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
    กัมมปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอินทริยปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
    ปุเรชาตปัจจัย
    ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
    อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปุเรชาตปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
    นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยโดย
    อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย
    นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม
    และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม โดยอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย
    เป็นปัจจัยโดยอุปนิสสยปัจจัย
    [๖๐๗] ในปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อธิปติปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยทั้งปวง มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย มี " ๙
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อวิคตปัจจัย มี " ๙
    [๖๐๘] ในปัจจัยที่ไม่ใช่อารัมมณปัจจัย
    กับเหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๔ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สมนันตรปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อัญญมัญญปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่อุปนิสสยปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔ ฯลฯ
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่มัคคปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่สัมปยุตตปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๒
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิปปยุตตปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่นัตถิปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    ในปัจจัยที่ไม่ใช่วิคตปัจจัย
    กับ ฯลฯ มี " ๔
    [๖๐๙] ในอารัมมณปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙
    ในอธิปติปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๙
    พึงกระทำอนุโลมมาติกาให้พิสดาร
    ในอวิคตปัจจัย
    กับปัจจัยที่ไม่ใช่เหตุปัจจัย มีหัวข้อปัจจัย ๙





    <CENTER>นีวรณทุกะ จบ
    </CENTER>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 เมษายน 2011
  2. gatsby_ut

    gatsby_ut เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    821
    ค่าพลัง:
    +14,291

แชร์หน้านี้

Loading...