ธรรมะฉบับย่อ

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย pimmarka, 25 พฤศจิกายน 2011.

  1. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    "สัพพทาทัง ธัมมทานัง ชินาติ"
    <O:p</O:pการให้ธรรมเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง


    "จะมีภาระกิจใดเล่าประเสริญกว่าการเผยแผ่ธรรม<O:p</O:p
    เพราะเป็นการให้ดวงปัญญาจักษุแก่มนุษย์<O:p</O:p
    ผู้ที่ได้ปัญญาแล้ว ชื่อว่าได้ทุกสิ่งทุกอย่าง<O:p</O:p
    ทั้งมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ และนิพพานสมบัติ <O:p</O:p
    อันเป็นธรรมเครื่องระงับทุกข์ทั้งปวง<O:p</O:p
    ที่ติดตามมนุษย์มาตลอดสังสารวัฏอันยาวนาน"

    เราก็เป็นคนธรรมดาเหมือนท่าน แต่เชื่อใน กฏแห่งกรรม
    สร้างเหตุไว้เช่นใด ย่อมได้รับเช่นนั้น
    ดังนั้น ถ้า (เหตุ) ให้ปัญญา (ผล) ได้ปัญญา
    กระทู้นี้เขียนขึ้น เพื่อทำบุญ ธรรมทาน
    หากจะมีกุศลใดเกิดขึ้น ขออุทิศให้กับ
    พ่อ แม่ ครูบาอาจารย์ ญาติสนิท มิตรสหาย
    และเจ้ากรรมนายเวร ทุก ภพ ทุกชาติ ทุกกัป ทุกกัลป์
    ทุกคน ทุกท่าน ทุกจิตวิญญาณ สาธุ

    เราเป็นผู้รู้น้อยอยู่ ถ้าผิดพลาดประการใด
    ต้องขออภัย และให้ผู้รู้แนะนำด้วย
    หากท่านใดเห็นว่าดีก็แวะอ่าน
    ถ้าไม่ดีก็ผ่านเลยไปได้ ลืมเสีย

    ขอให้ท่านโชคดีมีสุข มีปัญญาดุจดังอาวุธ :cool:

    ตอน หญิงที่ไปนรก ๓

    หญิงที่ประพฤติ ๓ อย่างนี้
    ย่อมเข้าถึงอบาย (ฉิบหาย) ทุคติ (ไปชั่ว)
    วินิบาตบาต (ทุกข์ทรมาร) นรก (เร่าร้อนใจ) คือ

    ๑. เวลาเช้า มีความตระหนี่กลุ้มรุมจิตใจ
    ๒. เวลาเที่ยง มีความริษากลุ้มรุมจิตใจ
    ๓. เวลาเย็น มีกามราคะกลุ้มรุมจิตใจ


    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๘ "มาตุคามสูตร" ข้อ ๔๖๗)


    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ธันวาคม 2011
  2. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ทุกข์ของหญิง

    ตอน ทุกข์ของหญิง ๕

    ทุกข์ของหญิงมี ๕ อย่างที่จะได้รับ คือ

    ๑. หญิงสาวไปสู่ตระกูลสามี ย่อมพรากจากญาติตน
    ๒. หญิงย่อมมีระดู ( ประจำเดือน )
    ๓. หญิงย่อมมีครรภ์
    ๔. หญิงย่อมคลอดบุตร
    ๕. หญิงย่อมบำเรอชาย

    ( พระไตรปิฏกเล่ม ๑๘ "อาเวณิกสูตร" ข้อ ๕๖๒ - ๔๖๖)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 พฤศจิกายน 2011
  3. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ตัณหา

    ตอน ตัณหา ๓

    ความดิ้นรนปราถนา (ตัณหา) มี ๓ อย่างคือ

    ๑. กามตัณหา (ดิ้นรนปราถนาในกามวัตถุ)
    ๒. ภวตัณหา (ดิ้นรนปราถนาในภพจิต)
    ๓. วิภาวตัณหา (ดิ้นรนปราถนาหมดกาม หมดภพ)

    (พระไตรปิกฏเล่ม ๒๒ "ตัณหาสูตร" ข้อ ๓๗๗)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:
     
  4. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ทั้งหมดของพรหมจรรย์

    ตอน ทั้งหมดของพรหมจรรย์ ๓

    ทั้งหมดของพรหมจรรย์ ทั้ง ๓ อย่างนี้เป็นทั้งสิ้นของพรหมจรรย์
    (พรหมจรรย์ คือ การประพฤติธรรมอันประเสริฐ)

    ๑. มิตรดี (กัลยาณมิตโต) เพื่อนดีที่รักใคร่คุ้นเคย
    ๒. สหายดี (กัลยาณสหาโย)เพื่อนดีที่ร่วมทุกข์ร่วมสุข
    ๓. สังคมสิ่งแวดล้อมดี (กัลยาณสัมปวังโก) ที่อยู่อาศัยดี

    (พระไตรปิกฏ ๑๙ "อุปัฑฒสูตร" ข้อ ๕)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:
     
  5. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ธรรมล้างอธรรม

    ตอน ธรรมล้างอธรรม ๖

    การปฏิบัติธรรมให้มาก ให้เกิดผล ย่อมล้างกิเลสได้

    ๑. เมตตา (คิดช่วยเหลือ) มากขึ้น
    จะละ พยาบาท (พยาบาท) ได้

    ๒. กรุณา (ลงมือช่วยเหลือ) มากขึ้น
    จะละ วิหิงสา (ความเบียดเบียน) ได้

    ๓. มุทิตา (ยินดีที่ผู้อื่นได้ดี) มากขึ้น
    จะละอรติ (ความไม่ยินดี) ได้

    ๔. อุเบกขา (วางใจเที่ยงธรรมเป็นกลาง)มากขึ้น
    จะละปฏิฆะ (กระทบกระทั่งขัดเคือง) ได้

    ๕.เห็นอสุภะ (ความสกปรกของกาย) มากขึ้น
    จะละราคะ (ความกำหนัด) ได้

    ๖.เห็นอนิจจสัญญา (กำหนดรู้ความไม่เที่ยง) มากขึ้น
    จะละ อัสมิมานะ (การถือเขาถือเรา)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๓ "มหาราหุโลวาทสูตร" ข้อ ๑๔๕)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 พฤศจิกายน 2011
  6. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    วัตรบท ๗

    ตอน วัตรบท ๗ คือ หลักปฏิบัติที่ทำให้เป็นผู้มีจิตใจสูงยิ่ง
    (เป็นท้าวสักกะจอมเทพ หรือ พระอินทร์)

    ๑. เลี้ยงบิดามารดาตลอดชีวิต (มาตาเปติภโร)
    ๒. อ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ในตระกูลตลอดชีวิต (กุเลเชฏปจายี)
    ๓.พูดจาสุภาพตลอดชีวิต (สัณหวาโจ)
    ๔. ไม่พูดส่อเสียดตลอดชีวิต (อปิสุณวาโจ)
    ๕. ยินดีในการสละ แจกจ่ายทานตลอดชีวิต (โวสสัคครโต ทานสังวิภาครโต)
    ๖. พูดคำสัตย์ตลอดชีวิต (สัจจวาโจ )
    ๗. ไม่โกรธตลอดชีวิต (อโกธโน) แม้ความโกรธเกิดขึ้น ก็รีบกำจัดโดยทันที

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๕ "ปฐมเทวสูตร" ข้อ ๙๐๖ )

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  7. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    เหตุแห่งวิมุติ

    ตอน เหตุแห่งวิมุติ

    เหตุที่ทำให้บรรลุพ้นกิเลส (วิมุติ) ได้

    ๑. หลุดพ้นด้วยการฟังธรรม
    ๒. หลุดพ้นด้วยการแสดงธรรม
    ๓. หลุดพ้นด้วยการทบทวนธรรม
    ๔. หลุดพ้นด้วยการตรึกตรองใคร่ครวญธรรม
    ๕. หลุดพ้นด้วยการตั้งจิตมั่นในนิมิต (สมาธินิมิต)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๒๒ "วิมุตติสูตร" ข้อ ๒๖)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  8. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ปัญญา

    ตอน ปัญญา ๓

    การเกิดปัญญา ( ความรู้) มี ๓ อย่าง คือ

    ๑. จิตตามยปัญญา (ปัญญาสำเร็จด้วยการคิด)
    ๒. สุตมยปัญญา (ปัญญาสำเร็จด้วยการฟัง)
    ๓. ภาวนมยปัญญา (ปัญญาสำเร็จด้วยการกระทำจนเกิดผล)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๑ "สังคีตีสูตร" ข้อ ๒๒๘)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  9. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    เสพไม่รู้จักอิ่ม

    ตอน เสพไม่รู้จักอิ่ม ๓

    ๑. เสพความหลับ (นอน)
    ๒. เสพสุราเมรัย (น้ำเมา)
    ๓. เสพเมถุน (ร่วมประเวณี)

    (พระไตรปิฏก เล่ม ๒๐ "อติตสูตร" ข้อ ๕๔๘)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  10. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    อาวุธ

    ตอน อาวุธ ๓

    ๑. สุตาวุธ (อาวุธ คือ การฟัง)
    ๒. ปวิเวกาวุธ (อาวุธ คือ ความสงัด (ความเงียบ))
    ๓. ปัญญาวุธ (อาวุธ คือ ปัญญา (ความรู้))

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๑ "สังคีติสูตร" ข้อ ๒๒๘)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  11. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    กำลัง

    ตอน กำลัง ๔

    ๑. ปัญญาพละ (กำลังของปัญญา)
    ๒. วิริยพละ (กำลังของความเพียร)
    ๓. อนวัชชพละ (กำลังของการงานไม่มีโทษ)
    ๔. สังคหพละ (กำลังของการสงเคราะห์)

    เมื่อมีกำลัง ๔ นี้ย่อมพ้นภัย ๕

    ๑. อาชีวิกภัย (ภัยเนื่องด้ววยการเลี้ยงชีพ)
    ๒. อสีโลกภัย (ภัยจากการถูกติเตียน )
    ๓. ปริสสารัชชภัย (ภัยที่สะทกสะท้านในบริษัท)
    ๔. มรณภัย (ภัยจากความตาย)
    ๕. ทุคคติภัย ( ภัยที่ไปสู่นรกทางเสื่อม)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๒๓ "พลสูตร" ข้อ ๒๐๙)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 พฤศจิกายน 2011
  12. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ดอกบัว บุคคล

    ตอน ดอกบัว ๔ บุคคล ๔

    ๑. บัวพ้นน้ำ จะบานวันนี้
    อุคฆฏิตัญญู (ผู้ฟังหัวข้อธรรม ก็บรรลุมรรคผล)

    ๒. บัวปริ่มน้ำ จะบานในวันพรุ่งนี้
    วิปจิตัญญู (ผู้ฟังอธิบายธรรมพิสดาร ก็บรรลุมรรคผล)

    ๓. บัวในน้ำ จะบานขึ้นมาในวันมะรืน
    เนยยะ ( ผู้หมั่นฟังธรรม ไต่ถาม พิจารณาแยบคาย คบหามิตรดี ก็บรรลุมรรคผล)

    ๔. บัวใต้น้ำ จนโคลนไม่อาจพ้นน้ำขึ้นมาบาน
    ปทปรมะ ( ผู้ฟังพุทธพจน์ก็มาก บอกสอนก็มาก แต่ไม่บรรลุมรรคผลในชาตินี้)

    ( พระไตรปิฏกเล่ม ๑๒ "ปาสราสิสูตร" ข้อ ๓๒๓
    พระไตรปิฏกเล่ม ๓๖ "จตุกกนิทเทส" ข้อ ๑๐๘)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  13. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    นิวรณ์

    ตอน นิวรณ์ ๕ คือ กิเลส ๕ ที่กั้นจิตไม่ให้บรรลุธรรม

    ๑. กามฉันทะ (ความพอใจในกาม)
    ๒. พยาบาท (การปองร้ายผู้อื่น)
    ๓. ถีมิทธะ (จิตหรี่ ง่วงซึม หดหู่)
    ๔. อุทธัจจกุกกุจะ (ความฟุ้งซ่าน รำคาญ)
    ๕. วิจิกิจฉา (ความลังเล สงสัย)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๙ "กายสูตร" ข้อ ๓๕๗)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  14. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    องค์คุณอุเบกขา

    ตอน องค์คุณอุเบกขา ๕ คือ สภาวะจิตวิญญาณบริสุทธิ์ไร้กิเลส (นิวรณ์)

    ๑. ปริสุทธา (จิตบริสุทธิ์หมดจด)
    ๒. ปริโยทาตา (จิตสะอาดผุดผ่อง)
    ๓. มุทุ (จิตหัวอ่อนดัดง่าย)
    ๔. กัมมัญญา (จิตควรแก่การงาน)
    ๕. ปภัสสรา (จิตผ่องใสแวววาว)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๔ "ธาตุวิภังคสูตร" ข้อ ๖๙๐)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  15. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ผลกรรมตามสนอง

    ตอน ผลกรรมตามสนอง ๘

    ๑. ผลกรรมแห่งการฆ่ามนุษย์และสัตว์
    เบาที่สุด คือ มีอายุสั้น

    ๒. ผลกรรมแห่งการลักทรัพย์
    เบาสุด คือ ทรัพย์สมบัติพินาศ

    ๓. ผลกรรมแห่งการประพฤติผิดในกาม
    เบาที่สุด คือ มีศัตรูและถูกปองร้าย

    ๔. ผลกรรมแห่งการพูดเท็จ
    เบาที่สุด คือ ถูกกล่าวตู่ด้วยคำไม่จริง

    ๕. ผลกรรมแห่งการพูดส่อเสียด
    เบาที่สุด คือ แตกจากมิตร

    ๖. ผลกรรมแห่งการพูดหยาบ
    เบาที่สุด คือ ได้ฟังเสียงที่ไม่น่าพอใจ

    ๗. ผลกรรมแห่งการพูดเพ้อเจ้อ
    เบาที่สุด คือ ได้รับที่ไม่น่าเชื่อถือ

    ๘. ผลกรรมแห่งการเสพของมึนเมาให้โทษ
    เบาที่สุด คือ ความเป็นบ้า

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๒๓ "สัพพลหุสูตร" ข้อ ๑๓๐)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 พฤศจิกายน 2011
  16. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    กามคุณ

    ตอน กามคุณ ๕ คือ

    สิ่งที่น่าใคร่น่าพอใจ ๕ อย่าง

    ๑. รูป (รูปะ) ที่น่าพอใจ รู้ด้วยตา (จักขุ)
    ๒. เสียง (สัททะ) ที่น่าพอใจ รู้ด้วยหู (โสตะ)
    ๓. กลิ่น (คันธะ) ที่น่าพอใจ รูด้วยจมูก (ฆานะ)
    ๔. รส (รสะ ) ที่น่าพอใจ รู้ด้วยลิ้น (ชิวหา)
    ๕. สัมผัส ( โผฏฐัพพะ ) ที่น่าพอใจ รู้ด้วยกาย (กายะ)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๙ "เตวิชชสูตร" ข้อ ๓๗๗)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 พฤศจิกายน 2011
  17. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    อานิสงค์ในการฟังธรรม

    ตอน อานิสงส์ในการฟังธรรม ๕

    ๑. ได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง (อัสสุตัง สุณาติ)
    ๒. เข้าใจชัดสิ่งที่ได้ฟังแล้ว (สุตัง ปริโยทาเปติ)
    ๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้ (กังขัง วิหนติ)
    ๔. ทำความเห็นได้ถูกตรง (ทิฏฐิง อุชุง กโรติ)
    ๕. จิตของผู้ฟังย่อมเลื่อมใส (จิตตมัสสะ ปสีทติ)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๒๒ "ธัมมัสสวนสูตร" ข้อ ๒๐๒)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 พฤศจิกายน 2011
  18. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    อุบาสกจัณฑาล

    ตอน อุบาสกจัณฑาล

    อุบาสกจัณฑาล ๕ คือ อุบาสกที่เลวทราม เศร้าหมอง น่ารังเกียจด้วย...

    ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา
    ๒. ทุศีล (ทำผิดศีล)
    ๓. เชื่อถือมงคลตื่นข่าว ไม่เชื่อกรรม
    ๔. แสวงหาบุญนอกศาสนาพุทธ
    ๕. ทำการสลับสนุนในที่นอกศาสนาพุทธ

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๒๒ "จัณฑาลสูตร" ข้อ ๑๗๕)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  19. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    ปฏิปทา

    ตอน ปฏิปทา ๔ คือ แนวทางการปฏิบัติ ๔ แบบ

    ๑.ทุกขปฏิปทา ทันธาภิญญา
    (ปฏิบัติลำบาก ทั้งรู้ได้ช้า)

    ๒.ทุกขปฏิปทา ขิปปาภิญญา
    (ปฏิบัติลำบาก แต่รู้ได้เร็ว)

    ๓. สุขาปฏิปทา ทันธาภิญญา
    (ปฏิบัติสบาย แต่รู้ได้ช้า)

    ๔. สุขาปฏิปทา ขิปปาภิญญา
    (ปฏิบัติสบาย แต่รู้ได้เร็ว)


    (พระไตรปิฏกเล่ม ๒๑ "ปฏิปทาวรรค" ข้อ ๑๖๑)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  20. pimmarka

    pimmarka สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    202
    ค่าพลัง:
    +12
    พรหมวิหาร อัปปมัญญา

    ตอน พรหมวิหาร ๔ คือ ธรรมอันเป็นที่อาศัยอย่างประเสริฐ
    อัปปมัญญา ๔ คือ ธรรมอันควรแผ่ไปอย่างไม่มีขอบเขต

    ๑. เมตตา (จิตปราถนาให้คนอื่นเป็นสุข)
    ๒. กรุณา (ลงมือช่วยให้เขาพ้นทุกข์)
    ๓. มุทิตา (พลอยยินดี เมื่อเขาได้ดี)
    ๔. อุเบกขา (วางใจเป็นกลางเที่ยงธรรมตามจริง)

    (พระไตรปิฏกเล่ม ๑๑ "สังคีติสูตร" ข้อ ๒๓๔)

    ขอบคุณที่แวะมาอ่าน อนุโมทนา สาธุ :cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...