ท่านเจ้ากรมเสริมฯ บนพระนิพพาน พระธรรม พระพุทธเจ้าองค์ปฐม

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย คนหลงเงา2, 21 มิถุนายน 2016.

  1. คนหลงเงา2

    คนหลงเงา2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2016
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +57
    [FONT=&quot]ท่านเจ้ากรมเสริมฯ บนพระนิพพาน พระธรรม[/FONT]

    [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าองค์ปฐม[/FONT]

    [FONT=&quot]..............................[/FONT]

    [FONT=&quot]ธรรมนำไปสู่ความหลุดพ้น[/FONT][FONT=&quot] เล่ม ๑๑เดือนธันวาคม ๒๕๔๑[/FONT]

    [FONT=&quot]รวบรวมโดย พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน[/FONT]

    [FONT=&quot]................................[/FONT]

    [FONT=&quot](พระธรรมที่ทรงตรัสสอนในเดือนธันวาคม ๒๕๔๑)

    [/FONT]
    [FONT=&quot]พระธรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]

    [/FONT]

    [FONT=&quot]สมเด็จองค์ปฐม[/FONT][FONT=&quot] ทรงตรัสสอนปกิณกะธรรมไว้ มีความสำคัญดังนี้[/FONT]

    [FONT=&quot] ๑. [/FONT][FONT=&quot]เมื่อฟังข่าวไม่ดีทางโลก แล้วรู้สึกร้อนอกร้อนใจ ให้พยายามข่มระงับด้วยอานาปานัสสติกรรมฐาน[/FONT][FONT=&quot] แล้วใช้ปัญญาพิจารณา

    อารมณ์ของจิตว่า ถ้าหากร้อนรนอย่างนี้เป็นของไม่ดีแน่ ให้พยายามรักษาความเยือกเย็นของจิตเข้าไว้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้เร่งแก้ไขจิตใจของตน

    เอง [/FONT]
    [FONT=&quot]ตรวจสอบสภาพจิตใจของตนเองตามความเป็นจริง อย่าได้มีความละเลย ถ้าหากต้องการความละเอียดของจิตใจ จักต้องหมั่น

    ตรวจสอบจิตใจของตนเองเข้าไว้เป็นประจำ จักได้ปรับจิต - ปรับใจ ให้อยู่ในศีล - สมาธิ - ปัญญา ได้เป็นปกติ[/FONT]



    [FONT=&quot] ๒. [/FONT][FONT=&quot]ให้สังเกตอาการของจิตใจ และร่างกายเอาไว้ให้ดี แล้วจงอย่าได้มีความประมาทในชีวิต[/FONT][FONT=&quot] ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็น

    ของเที่ยงทุกรูปทุกนาม [/FONT]
    [FONT=&quot]ตราบใดที่ยังไม่ถึงพระนิพพานเพียงใด คำว่าเกิด-ดับย่อมเป็นของธรรมดาของรูป-นามนั้น [/FONT][FONT=&quot]จึงพึง

    ตระหนักเอาไว้ตลอดเวลาว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]คนเราเกิดมาเพื่อตาย [/FONT][FONT=&quot]แล้วใครตายแล้วจักไปสู่ที่ใดก็ช่างเขาเถิด ที่สำคัญคือจิตใจของตนเองนี้[/FONT][FONT=&quot]ตาย

    แล้วจักไปไหน[/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้ที่รับรู้ก็คือจิตใจของตนเองเท่านั้น พึงสำรวมระมัดระวังจิตใจให้เป็นผู้รู้เพื่อไปสู่พระนิพพานตามที่ตนปรารถนา[/FONT][FONT=&quot]ผู้

    ไม่ประมาทเท่านั้นจึงจักไปสู่พระนิพพานได้ในที่สุด ให้เอาท่านพระพาหิยะเป็นเยี่ยงอย่าง [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านกล่าวว่าในช่วงเวลาที่พระพุทธเจ้า

    บิณฑบาตนั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]ไม่แน่ว่าชีวิตขององค์สมเด็จปัจจุบันจักปรินิพพานก็ได้ หรือแม้แต่ตัวท่านเองที่รออยู่ทางนี้อาจจักตายเสียก่อนก็ได้

    เมื่อท่านไม่ประมาทจึงรีบเดินทางไปพบพระพุทธเจ้า ซึ่งบิณฑบาตอยู่ หลังจากท่านได้ฟังพระธรรมเทศนาจนได้บรรลุพระอรหันต์

    แล้ว ท่านก็ถูกนางยักขิณีแปลงเป็นวัวแม่ลูกอ่อนขวิดตาย [/FONT]
    [FONT=&quot]จงเห็นความตายที่เข้ามาถึงง่ายดายและรวดเร็วอย่างนี้[/FONT][FONT=&quot] เป็นจิตสำนึกที่

    นักปฏิบัติธรรมเพื่อความพ้นทุกข์จักต้องมีเอาไว้ประจำจิต[/FONT]



    [FONT=&quot] ๓. [/FONT][FONT=&quot]ทุกข์เสียให้พอ ต่อๆ ไปจักได้ไม่ต้องมาทุกข์เพราะขันธ์ ๕ เป็นเหตุอีก[/FONT][FONT=&quot] การมีชีวิตอยู่ในโลกมนุษย์ย่อมจักหนีจากธุรกิจทางโลก

    ไม่พ้นเป็นธรรมดา เพราะงานทางโลกทุกอย่างล้วนเป็นไตรลักษณ์ ดังนั้นการจักทำงาน ทำธุระทางโลก มีความหนักใจอะไรให้

    ปล่อยวางเสียให้หมด จักได้สบายใจ ไม่มีความกังวล จิตจักเป็นสุข แล้วงานที่ตั้งใจไว้ก็จักลุล่วงไปได้ดี[/FONT]




    [FONT=&quot] ๔. [/FONT][FONT=&quot]เรื่องกิน เรื่องอยู่ เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตมาก[/FONT][FONT=&quot] เป็นการระงับทุกขเวทนาของร่างกาย เป็นการ

    ยังอัตภาพให้เป็นไป [/FONT]
    [FONT=&quot]ผู้รู้ย่อมให้ความสำคัญกับสิ่งเหล่านี้ ด้วยหลักมัชฌิมาปฏิปทา [/FONT][FONT=&quot]จักได้ไม่เป็นที่เบียดเบียนร่างกาย และไม่เป็น

    การเบียดเบียนจิตใจที่อาศัยร่างกายนี้อยู่ [/FONT]
    [FONT=&quot]จงคิดว่าการรักษาร่างกายก็เพื่อให้จิตมีโอกาสปฏิบัติความดีให้ถึงที่สุด มิใช่รักษาโดย

    คิดว่า เพื่อจักยินดีที่ร่างกายจักได้มีชีวิตยืนนาน[/FONT]



    [FONT=&quot] ๕. [/FONT][FONT=&quot]นับแต่นี้ไป สัญญาจักอนิจจายิ่งขึ้น เนื่องจากอายุมากขึ้น[/FONT][FONT=&quot]เซลล์สมองทำงานเสื่อมลงหาความสมบูรณ์ไม่ได้ นี้เป็นเรื่องธรรมดา

    ของร่างกาย อย่าไปกังวลใจให้รักษาจิตเข้าไว้ เนื่องด้วยสัญญานี้มิใช่เรา เกิดขึ้น - ตั้งอยู่แล้วก็ดับไปเป็นธรรมดา[/FONT]
    [FONT=&quot] การรักษาจิตก็

    คือ ยอมรับกฎของธรรมดาอันเกิดขึ้นกับร่างกาย โดยจิตไม่ดิ้นรนฝืนกฎของกรรมหรือธรรมดาที่เกิดขึ้นในร่างกาย งานทุกอย่าง

    พึงทำด้วยอารมณ์ที่สบายๆ อย่าเคร่งเครียด จักได้ผลงานที่ออกมาผิดพลาดได้น้อย ให้พยายามระงับความใจร้อนและขี้น้อยใจ

    เข้าไว้ และพิจารณาถึงผลดี ผลเสียให้รอบคอบเสียก่อน แล้วจึงทำ - จึงพูด [/FONT]
    [FONT=&quot]อย่าทำ หรือพูด หรือคิด โดยใช้อารมณ์เป็นหลัก [/FONT][FONT=&quot]จัก

    ทำให้เกิดผลเสียแก่ตนเองในภายหลัง[/FONT]



    [FONT=&quot] ๖. [/FONT][FONT=&quot]หายใจเข้าและหายใจออก ให้พยายามกำหนดรู้ แล้วที่เห็นความทุกข์ควบคู่กับลมหายใจ[/FONT][FONT=&quot]ก็เป็นการถูกต้องแล้ว เนื่องจากลม

    หายใจในบางขณะก็มีอาการอึดอัด เนื่องจากเกิดอาการป่วยของทางเดินของลมหายใจ เป็นต้น และเป็นความทุกข์เมื่อกระทบ

    กลิ่นของอากาศ อันเป็นอาหารของลมหายใจ ซึ่งบางขณะก็ไม่ดี เช่น ได้กลิ่นควันไฟจากการเผาหญ้า สร้างความอึดอัดให้กับร่าง

    กาย[/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกข์ทั้งหมดเนื่องมาจากการมีขันธ์ ๕ [/FONT][FONT=&quot]ถ้าหมดจากขันธ์ ๕ ไปพระนิพพานเสียแล้ว ทุกข์เหล่านี้ก็ไม่มี พึงมองทุกข์ให้มากๆ

    [/FONT]
    [FONT=&quot]เนื่องจากทุกข์จักเป็นครูสอนจิตให้พ้นทุกข์ได้ในที่สุด[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2016
  2. คนหลงเงา2

    คนหลงเงา2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2016
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +57
    [FONT=&quot] ๗. [/FONT][FONT=&quot]อย่าคิดว่าจักสงเคราะห์คนได้ทั้งหมด[/FONT][FONT=&quot]พยายามลงตัวอุเบกขาไว้บ้าง[/FONT][FONT=&quot]ทุกคนมาตามกฎของกรรม ใครมีกรรมอย่างไรก็เป็นไปตาม

    นั้น พิจารณาอย่างนี้เอาไว้บ้าง จักมีอารมณ์สบายไม่เดือดร้อนกับใครอื่น และมิใช่เป็นความใจจืดใจดำ หากแต่จิตเยือกเย็น ช่วย

    ได้เท่าที่ช่วยได้ ไม่ใช่ช่วยจนเดือนร้อนตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot] การดำรงชีวิตอยู่ของคนอื่นนั้นสำคัญ แต่อย่าลืมให้ความสำคัญกับการดำรงชีวิต

    อยู่ของตนเองด้วย [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้คิดถึงความพอดีให้มากๆ [/FONT][FONT=&quot]เพราะทุกอย่างต้องอาศัยหลักมัชฌิมาปฏิปทา อย่าทำอะไรเกินพอดี[/FONT]


    [FONT=&quot] ๘. [/FONT][FONT=&quot]พิจารณาลงตัวธรรมดาให้มาก[/FONT][FONT=&quot] แล้วให้เห็นความไม่เที่ยงให้มาก ฝึกจิตให้ยอมรับกฎของไตรลักษณ์ให้มาก แล้วจักเข้าถึงตัว

    ธรรมดาได้ง่าย [/FONT]
    [FONT=&quot]ชีวิตเป็นของไม่เที่ยงแต่ความตายเป็นของเที่ยง ให้พิจารณาอย่างนี้อยู่เสมอ จิตจักได้ไม่ประมาท [/FONT][FONT=&quot]รักษาอารมณ์ให้

    อยู่ในกุศล ให้รู้จุดหมายปลายทางที่มุ่งจักไปพระนิพพานเข้าไว้อยู่เสมอ [/FONT]
    [FONT=&quot]สำรวมคือการระมัดระวังกาย - วาจา - ใจ ให้อยู่ในศีล -

    สมาธิ - ปัญญา [/FONT]
    [FONT=&quot]การพลั้งเผลอมีบ้างก็เป็นของธรรมดา แต่พึงเข้มงวดระมัดระวังเข้ามาบ้าง [/FONT][FONT=&quot]อย่าปล่อยให้หลวมหรือ เผลอเรอ บ่อย

    ปล่อยมากไปก็จักเป็นนิสัย ไม่แก้ไขกาย - วาจา - ใจของตนเอง ก็จักห่างไกลจากมรรคผลนิพพาน[/FONT]



    [FONT=&quot] ๙. [/FONT][FONT=&quot]อย่าห่วงใยกังวลกับสุขภาพของใคร ให้ห่วงใยกังวลกับสุขภาพของตนเองเป็นสำคัญ[/FONT][FONT=&quot] อย่าลืมที่ตรัสไว้ กินให้พอ-นอนให้พอ

    แล้วสุขภาพจักดีขึ้นเอง สำหรับจิตใจ ก็จงพยายามพักผ่อนให้มากๆ เช่นกัน อย่าตึงเครียดกับการงานที่ทำ ให้ค่อยเป็นค่อยไป ไม่

    ต้องเร่งรีบให้เสียอารมณ์จิต คือทำจิตให้ร้อนรน อนึ่ง [/FONT]
    [FONT=&quot]มรณานุสสติพึงคิดถึงให้มากๆ แต่มิใช่เครียด [/FONT][FONT=&quot]คิดถึงแบบเบาๆ สบายๆ ยอม

    รับนับถือในความตายว่าจักมีแก่ร่างกายของตนเองได้ทุกเวลา ทุกนาที ความประมาทก็จักน้อยลง ร่างกายเกิดแล้วก็ดับไป นี่เป็น

    ของธรรมดา แม้แต่การดำรงชีวิตอยู่ ก็อยู่กับความทุกข์ พิจารณาถึงความจริงจุดนี้ให้มาก แล้วจิตจักทำความรู้จักกับขันธ์ ๕ ตาม

    ความเป็นจริง จิตจักหน่ายและปล่อยวางอุปาทานขันธ์ ๕ ได้ในที่สุด[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๐. [/FONT][FONT=&quot]หมอจีนเขากล่าวว่า แม้ฤดูหนาวก็พึงให้ร่างกายได้อาบน้ำวันละครั้ง[/FONT][FONT=&quot]เพื่อจักให้ไอร้อนของร่างกายได้ระบายออกไปบ้าง มิ

    ฉะนั้นจะทำให้เกิดอาการร้อนในขึ้นได้นั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ก็เป็นการถูกต้อง [/FONT][FONT=&quot]เนื่องจากการอาบน้ำอาศัยผสมน้ำร้อน ก็ไม่เป็นที่เบียดเบียนร่างกาย

    จนเกินไป กรณีนี้ต้องอาศัยความเรียนรู้ในธาตุ ๔ จักได้รู้จักความพอดีของการคุมธาตุไฟไม่ให้กำเริบจนเป็นไข้ได้[/FONT]
    [FONT=&quot] กรณีนี้ให้

    พิจารณาโดยละเอียด จักได้ข้อมูลอีกเป็นอันมาก ให้ไปคิดเป็นการบ้านก็แล้วกัน จงอย่าประมาทในทุกๆ กรณี ผู้ที่ระมัดระวัง

    สุขภาพอยู่เสมอๆ ย่อมจักอยู่ได้ แต่มิใช่ว่าจักไม่เดือดร้อนเอาเสียเลยย่อมเป็นไปไม่ได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]อายตนะยังมีการกระทบสัมผัสแห่งอายตนะ

    นั้น มันเป็นความทุกข์ เป็นความเดือดร้อนที่จิตจำเป็นต้องเป็นผู้รับรู้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ประคองกายแล้วพึงประคองจิตใจให้ดีด้วย เห็นกฎของกรรม

    เป็นเรื่องธรรมดา ถ้าประคองอยู่อย่างนี้ ก็จักเข้าถึงอริยมรรค อริยผลเบื้องสูงได้โดยง่าย[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๑. [/FONT][FONT=&quot]พิจารณาร่างกายแล้ว ให้พิจารณาอารมณ์ของจิตใจด้วย โดยมุ่งเห็นทุกข์จากร่างกาย และทุกข์จากอารมณ์เป็นสำคัญ[/FONT][FONT=&quot] อันจัก

    นำไปสู่อริยสัจอย่างแท้จริง [/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วจงอย่าไปมองภายนอกว่าทำให้เราทุกข์[/FONT][FONT=&quot]ให้มองอารมณ์ยึดร่างกายของตนเอง[/FONT][FONT=&quot]และยึดความรู้สึกนึก

    คิดของตนเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]ว่าเป็น สักกายทิฎฐิ เป็นตัวทำให้ทุกข์อย่างแท้จริง [/FONT][FONT=&quot]การเห็นอริยสัจมีเป็นขั้น ๆ ไปจากระดับพระโสดาบัน ไปจนถึง

    พระอรหันต์[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๒. [/FONT][FONT=&quot]เพื่อนผู้ร่วมปฏิบัติธรรมกับผม[/FONT][FONT=&quot] ท่านมิได้ไปงานเผาศพท่าน[/FONT][FONT=&quot]เจ้ากรมเสริมฯ[/FONT][FONT=&quot] เล่าให้ผมฟังว่า [/FONT][FONT=&quot]ท่านเอาจิตขึ้นไปขอขมาท่านเจ้า

    กรมเสริมฯ บนพระนิพพาน [/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านสอนว่า [/FONT][FONT=&quot]อย่าติดพิธี ฉันสบายแล้ว เธอยังลำบากอยู่ ให้ทำใจให้สบาย พยายามละทุกสิ่งทุกอย่าง

    จะได้สบายอย่างฉัน แค่นี้ฉันก็พอใจแล้ว ดีกว่าเธอไปร่วมเผารูปที่ไม่ใช่ของฉัน[/FONT]
    [FONT=&quot]พิจารณารูปให้มาก พิจารณานามให้มาก ละขันธ์

    ๕ ได้ก็ถึงซึ่งพระนิพพานได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องพ้นทุกข์ไม่มีใครช่วยใครได้ มีแต่ตัวเองต้องทำด้วยตัวเองเท่านั้น[/FONT]


    [FONT=&quot] ๑๓. [/FONT][FONT=&quot]การเจ็บป่วยเป็นกฎของกรรมทั้งหมด อนึ่ง คนทุกคนเมื่ออายุมากขึ้น โรคกระดูกก็จักถามหา[/FONT][FONT=&quot]ยิ่งบริโภคอาหารไม่ถูกหลัก-รู้

    คุณ-รู้โทษของอาหาร รวมทั้งรู้จักการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับโรคที่เป็นอยู่ด้วย หากรู้จักบริหารกายให้เป็นสุข จิตก็จักเป็น

    สุขไปด้วย โรคเหล่านี้จักบรรเทาเบาบางได้ด้วยการบริโภคอาหารให้ถูกหลัก[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่จงอย่ามัวเมาว่าเราจักไม่ตาย หรือไม่แก่ - ไม่เจ็บ

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้รู้เอาไว้ว่า รักษาบำรุงร่างกายอย่างไรก็หนีความแก่ - เจ็บ - ตายไปไม่พ้น นี้เป็นอริยสัจ[/FONT][FONT=&quot] เกิดเป็นทุกข์ - เจ็บเป็นทุกข์ - ตายเป็น

    ทุกข์ อันเป็นกฎธรรมดาของผู้ที่ยังเวียนว่ายอยู่ ในวัฏฏสงสาร ต้องพบกันจนกว่าจักขัดเกลาจิตใจของตนให้พ้นไปจาก ห่วงวัฎ

    ฏสงสารให้เข้าถึงซึ่งพระนิพพาน จึงจักพ้นจากสภาพเหล่านี้ได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ความตั้งใจมั่นเท่านั้น ที่จักทำให้จิตใจได้บรรลุผลตามที่ปรารถนา[/FONT]


    [FONT=&quot] ๑๔. [/FONT][FONT=&quot]พิจารณาทุกข์ให้มากๆ จักได้เข้าถึงอริยมรรค อริยผลเบื้องสูงได้โดยไว[/FONT][FONT=&quot]เหตุการณ์ของโลกไม่เที่ยง ชีวิตต่อไปก็จักเสี่ยงต่อ

    อันตราย และความตายมากยิ่งขึ้น พึงทำความไม่ประมาทให้เกิดขึ้นกับจิตเอาไว้เสมอ ให้มีความรู้สึกว่าความตายสามารถจักเกิด

    ขึ้นกับร่างกายเสมอ และพยายามรักษาอารมณ์มุ่งหวังตั้งใจไปพระนิพพานเอาไว้ให้อยู่ประจำจิตใจอยู่เสมอ พร้อมกับพิจารณา

    ทุกข์ของการมีร่างกายให้มาก แล้วมองทุกอย่างลงกฎของธรรมดาเข้าไว้ จิตจักเป็นสุขด้วยการยอมรับนับถือกฎของธรรมดานั้น[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2016
  3. คนหลงเงา2

    คนหลงเงา2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2016
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +57
    [FONT=&quot] ๑๕. [/FONT][FONT=&quot]ปรารภกิเลสในแต่ละอย่าง ที่มีอำนาจเหนือจิตใจของพวกเจ้า[/FONT][FONT=&quot] มิใช่แต่เฉพาะชาตินี้หรอก ชาติก่อนๆ กิเลสเหล่านี้ก็พาพวกเจ้า

    ตกอบายภูมิมาแล้ว และเป็นเหตุให้พวกเจ้าต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในห่วงวัฏฏสงสาร อันเต็มไปด้วยความทุกข์อันหาที่สิ้นสุดไม่

    ได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้พิจารณาถึงทุกข์อันมาจากกิเลสนั้นๆ ให้พยายามสอนจิตให้รู้จักหลาบจำ เข็ดต่อการคบกับกิเลส การปฏิบัติอย่ามุ่งให้คนอื่น

    มาช่วยให้บรรลุในมรรคผล มีแต่ตนเองเท่านั้นที่จักเพียรทำตัวเองให้พ้นทุกข์[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๖ [/FONT][FONT=&quot]อย่าคำนึงถึงความเสียใจ ที่จิตใจของตนเองพ่ายแพ้ต่อกิเลสให้มากจนเกินไป[/FONT][FONT=&quot]ทางที่ถูกจักต้องรวบรวมกำลังใจให้มีกำลังที่จัก

    ต้องต่อสู้กับกิเลสต่อไป[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องการพ่ายแพ้นั้นเป็นเรื่องธรรมดา อันบุคคลซึ่งยังตัดไม่ได้ก็ต้องแพ้เป็นธรรมดา [/FONT][FONT=&quot]เพียงแต่แพ้แล้ว ก็จง

    อย่าท้อแท้ จักต้องหาทางสู้กับกิเลสนั้นต่อไปอย่างไม่ย่อท้อ ให้พึงสังเกตดูด้วยว่า ทุกครั้งที่แพ้เป็นเพราะสาเหตุอะไร[/FONT]
    [FONT=&quot] (ก็ตอบว่า

    [/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะขาดสติ[/FONT][FONT=&quot]) [/FONT][FONT=&quot]ถูกต้อง[/FONT][FONT=&quot]ทุกครั้งที่แพ้เนื่องจากขาดสติ[/FONT][FONT=&quot]เห็นผิดเป็นชอบ จิตใจจิตอ่อนไหวไปตามอำนาจของกิเลส [/FONT][FONT=&quot]เห็นสิ่งที่ไม่ดีเป็น

    สิ่งที่ดี[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะฉะนั้นจักต้องฝึกสติให้มาก[/FONT][FONT=&quot] กล่าวคือ [/FONT][FONT=&quot]อานาปานัสสติเป็นตัวทำให้มีสติ - สัมปชัญญะ[/FONT][FONT=&quot]ให้เป็นที่สังเกตไว้ด้วยว่า [/FONT][FONT=&quot]เวลาที่

    ขาดสติขณะนั้นจิตใจไม่ได้รู้ลมหายใจเข้า - ออกแม้แต่ประการใด[/FONT]
    [FONT=&quot] อย่าลืม[/FONT][FONT=&quot]ทุกอย่างเนื่องด้วยกัน ฌานไม่เกิดสมาธิก็ไม่เกิด [/FONT][FONT=&quot]เมื่อ

    สมาธิไม่เกิด ปัญญาก็เกิดไม่ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]เช่นกัน จักเกิดได้ก็ไม่แหลมคม เนื่องจากสติ - สัมปชัญญะไม่ทรงตัว ดังนั้นถึงกำหนดรู้ลมหายใจ

    เข้า - ออกให้มาก อย่าคิดว่าทำไม่ได้หรือเสียเวลา ให้พิจารณาดูว่า ที่แท้[/FONT]
    [FONT=&quot]อาศัยกำลังใจและสติกำหนดรู้ ก็จักรู้ลมหายใจเข้า - ออก

    ได้ตลอดเวลา [/FONT]
    [FONT=&quot]รักษากำลังใจเข้าไว้ด้วยความเพียรแล้ว จึงจักมีสติสมบูรณ์ขึ้นมาได้[/FONT]


    [FONT=&quot] ๑๗. [/FONT][FONT=&quot]ร่างกายไม่ดี จักต้องพักให้มาก อย่าไปกังวลเรื่องงานทั้งหมด[/FONT][FONT=&quot]จักต้องรักษาร่างกายเอาไว้ก่อน เนื่องจากจิตยังปฏิบัติธรรมยัง

    ไม่จบกิจ [/FONT]
    [FONT=&quot]ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็นของเที่ยง ให้จิตกำหนดพระนิพพานให้มาก [/FONT][FONT=&quot]พยายามรักษาอารมณ์รักพระนิพพาน

    เข้าไว้ให้ขึ้นใจ[/FONT]
    [FONT=&quot] การรักษาจิตให้ตั้งมั่น จำเป็นที่จักต้องให้ความสำคัญต่ออานาปานัสสติให้มาก แล้วพยายาม[/FONT][FONT=&quot]อย่าสนใจกับจริยา

    ของผู้อื่น ใครทำกรรมชั่วก็จงปล่อยวาง กฎของกรรมเที่ยงเสมอ อย่าทำตนไปเดือดร้อนกับกรรมของบุคคลอื่น[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๘. [/FONT][FONT=&quot]ฟังอสุภกรรมฐานมากี่เที่ยวแล้ว เมื่อไหร่พวกเจ้าจักเอาจริงกันเสียที[/FONT][FONT=&quot] เรื่องของตำราว่ากันคล่อง แต่เรื่องของการปฏิบัติหาได้

    คล่องเหมือนกับตำราไม่ ดังนั้นจึงตัดราคะกับปฏิฆะออกไปไม่ได้จากจิตใจสักที [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้พยายามตรวจสอบกำลังใจ ขาดบารมี ๑๐ ที่จุด

    ไหนบ้าง [/FONT]
    [FONT=&quot]อารมณ์อสุภกรรมฐานกับ กายคตานุสสติจึงไม่มั่นคง รวมทั้งพรหมวิหาร ๔ ก็ไม่มั่นคงด้วย รวมความว่ายังมีความ

    ย่อหย่อนอยู่ทุกประการ ไม่พยายามกันใหม่ [/FONT]
    [FONT=&quot]ฆราวาสนี้ได้เปรียบกว่าพระมาก มีการตั้งต้นใหม่กันได้ง่าย ผิดกับพระ ถ้าพลาดพลั้ง

    แล้ว ก็มักจักตั้งต้นใหม่ไม่ได้ ขาดจากความเป็นพระได้ง่าย[/FONT]
    [FONT=&quot] แต่ฆราวาสก็ไม่ควรจักย่ามใจให้มากเกินไป [/FONT][FONT=&quot]ผิดแล้วผิดอีก ไม่ระมัด

    ระวังก็จักเป็นนิสัยไม่ดี ไม่ใคร่จักสำรวมจิตใจ ต่อไปก็จักทำให้ชินกับความเลว[/FONT]
    [FONT=&quot] ในเมื่อจิตใจเลวเสียแล้ว กาย - วาจาก็พลอยเลวไป

    ด้วย ให้ระมัดระวังจุดนี้เอาไว้ให้ดี[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2016
  4. คนหลงเงา2

    คนหลงเงา2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2016
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +57
    [FONT=&quot]๑๙. [/FONT][FONT=&quot]มีข่าวสหรัฐโจมตีอิรักอีก[/FONT][FONT=&quot] (๒๙ ธ.ค. ๒๕๔๑) ครั้งแรกเริ่มเมื่อ ๑๗ ธ.ค. ๒๕๔๑ ทรงตรัสว่า [/FONT][FONT=&quot]เหตุการณ์ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็น

    กฎของกรรม [/FONT]
    [FONT=&quot]อันจักนำไปสู่ความรุนแรงในภายหน้าต่อไป ทำใจให้สบายยอมรับกฎของกรรม ทุกสิ่งทุกอย่างเตรียมการณ์เอาไว้

    แล้วก็จริงอยู่ พึงสำรวจดูว่ายังมีอะไรบกพร่องอยู่บ้าง ในแง่ของเครื่องดำรงชีวิตอยู่ แต่เมื่อสงครามเกิดขึ้นจริง ๆ แล้ว จักไม่เดือด

    ร้อนเลยย่อมเป็นไปไม่ได้ เพียงแต่เดือดร้อนน้อยหน่อยเท่านั้น สำรวจดูแล้วมีอะไรต้องซื้อก็ให้ซื้อได้ อย่ากังวล เนื่องจากต่อไปภาย

    หน้าจักเกิดความขาดแคลนขึ้นมาได้ แล้วให้หมั่น [/FONT]
    [FONT=&quot]พิจารณาทุกข์ให้มาก จิตจักได้เข้าถึงอริยสัจอย่างแท้จริง [/FONT][FONT=&quot]อริยมรรคอริยผลเบื้อง

    สูงก็ได้ไม่ยาก [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้พยายามใช้ปัญญาพิจารณาทุกข์ตามความเป็นจริง จิตจักเข้าใจในทุกข์ อันเนื่องจากขันธ์ ๕ เป็นเหตุทั้งสิ้น ถ้า

    ไม่มีขันธ์ ๕ ทุกข์เหล่านี้ก็จักไม่มี มองทุกข์แล้วเพียรปล่อยวางให้เห็นเป็นของธรรมดาที่มีขันธ์ ๕ มิใช่มองทุกข์แล้วเกาะทุกข์ จิตก็

    จักยึดทุกข์ของขันธ์ ๕ ว่าเป็นเราเป็นของเราตลอดกาล [/FONT]
    [FONT=&quot]อนึ่ง [/FONT][FONT=&quot]การพิจารณาจิตยิ่งโปร่งยิ่งเป็นสุข ด้วยเห็นทุกข์ตามความเป็นจริง

    เป็นการดำเนินจิตใจไปในทางที่ถูก เรียกว่าเจริญธรรม แต่ถ้าหากยิ่งคิดยิ่งพิจารณา จิตหนักเศร้าหมองหดหู่ นั่นเป็นแนวทางที่ผิด

    ให้สังเกตกระแสของจิตเหล่านี้เอาไว้ด้วย ถ้าหากต้องการความพ้นทุกข์[/FONT]



    [FONT=&quot] ๒๐. [/FONT][FONT=&quot]เมื่อรู้ว่าร่างกายไม่ดี ก็พึงพักผ่อนให้มาก[/FONT][FONT=&quot] อากาศแปรปรวนทำให้สุขภาพอ่อนแอลง อย่าไปคิดเปรียบเทียบกับการทำงานเมื่อ

    ๕ ปีที่แล้ว เวลานี้สภาพร่างกายเปลี่ยนไป เนื่องจากอายุมากขึ้น ความเที่ยงของร่างกายไม่มี [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้ยอมรับนับถือตามความเป็นจริง

    ของร่างกายว่า ย่อมมีแก่ มีเจ็บมีตายเป็นของธรรมดา [/FONT]
    [FONT=&quot]การรักษาร่างกายย่อมเป็นไปเพื่อระงับทุกขเวทนา เป็นการทำเพื่อให้จิตผู้

    อาศัยร่างกายอยู่นี้จักได้มีความสุข มีกำลังใจเต็มในการปฏิบัติธรรมเพื่อพ้นทุกข์สืบไป พร้อมกับยอมรับนับถือกฎของธรรมดา [/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้า

    ไม่มีขันธ์ ๕ เสียอย่างเดียว เวทนาแห่งความแก่ - ความเจ็บ - ความตายย่อมจักไม่มี[/FONT]
    [FONT=&quot] พิจารณาให้เห็นตามความเป็นจริงให้มาก จิต

    จักได้เป็นสุขจากการยอมรับนับถือกฎของธรรมดานั้น [/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นอันว่าร่างกายไม่ดี ก็จงอย่าฝืน ให้กายได้พักเพราะกายนี้หาใช่เรา หา

    ใช่ของเราไม่ ส่วนจิตนั้นเป็นเราเป็นของเรา จักต้องอบรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ระมัดระวังจิตอย่าให้ป่วยตามกาย ถือโอกาสอบรมจิตให้ทำงานภายใน

    คือ พิจารณาขันธ์ ๕ ให้มาก [/FONT]
    [FONT=&quot]ด้วยความไม่ประมาทในความตาย แล้วจักถึงหนทางพ้นทุกข์ได้ในที่สุด[/FONT]


    [FONT=&quot]รวบรวมโดย พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน[/FONT]
    [FONT=&quot]..............................[/FONT]

    [FONT=&quot]ที่มาของข้อมูล[/FONT]

    [FONT=&quot]ธรรมนำไปสู่ความหลุดพ้น[/FONT][FONT=&quot] เล่ม ๑๑เดือนธันวาคม ๒๕๔๑[/FONT]

    [FONT=&quot]หนังสือ [/FONT][FONT=&quot]ธรรมนำไปสู่ความหลุดพ้น ทุกเล่ม[/FONT]

    [FONT=&quot]หาข้อมูลศึกษาได้จาก.......[/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" Name="Hyperlink"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]http://www.tangnipparn.com/page_book_all.html[/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]ปัจจุบันมีการนำหนังสือชุดนี้บันทึกเสียงแล้วบางเล่ม มีประโยชน์อย่างมากสำหรับผู้มีสายตาไม่ดีนัก ก็สามารถฟังได้[/FONT]


    [FONT=&quot]ต้องขอโมทนาทุกท่านที่ช่วยเผยแพร่ผลงานของพระพุทธเจ้าหรือ[/FONT]


    [FONT=&quot]หลวงพ่อหรือพระอริยเจ้าทั้งหลายในทุกรูปแบบทั้งทางหนังสือและอินเตอร์เน็ต[/FONT]


    [FONT=&quot]ขอความเจริญในธรรมจงมีแด่ทุกๆท่านครับ[/FONT]
    [FONT=&quot]…………………………………[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2016

แชร์หน้านี้

Loading...