เสียงธรรม ชุด ตามพระใหม่ไปเรียนธรรม

ในห้อง 'แบ่งเป็น CD' ตั้งกระทู้โดย aonlin, 1 กุมภาพันธ์ 2009.

  1. aonlin

    aonlin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กันยายน 2006
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +1,608
    <o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="2" class="inlineimg"></o:smarttagtype><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if !mso]><object classid="clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D" id=ieooui></object> <style> st1\:*{behavior:url(#ieooui) } </style> <![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->ชุด ตามพระใหม่ไปเรียนธรรม
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:CordiaUPC; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:222; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65536 0;} @font-face {font-family:DilleniaUPC; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:222; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777217 0 0 0 65536 0;} @font-face {font-family:"Lucida Sans Unicode"; panose-1:2 11 6 2 3 5 4 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2147476737 14699 0 0 63 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:none; mso-hyphenate:none; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Lucida Sans Unicode"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-fareast-language:#00FF;} h1 {mso-style-next:Normal; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; text-indent:0cm; line-height:21.6pt; mso-line-height-rule:exactly; mso-pagination:none; page-break-after:avoid; mso-outline-level:1; mso-list:l0 level1 lfo1; mso-hyphenate:none; tab-stops:list 0cm; font-size:17.0pt; mso-bidi-font-size:12.0pt; font-family:CordiaUPC; mso-ascii-font-family:CordiaUPC; mso-fareast-font-family:"Lucida Sans Unicode"; mso-hansi-font-family:CordiaUPC; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-font-kerning:0pt; mso-fareast-language:#00FF; font-weight:normal;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} /* List Definitions */ @list l0 {mso-list-id:1; mso-list-template-ids:1;} @list l0:level1 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level2 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level3 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level4 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level5 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level6 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level7 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level8 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} @list l0:level9 {mso-level-number-format:none; mso-level-text:""; mso-level-tab-stop:0cm; mso-level-number-position:left; margin-left:0cm; text-indent:0cm;} ol {margin-bottom:0cm;} ul {margin-bottom:0cm;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
    วัดญาณเวศกวัน อ.สามพราน จ.นครปฐม
    บรรยายแก่พระนวกะ รุ่นพรรษา ๒๕๓๙

    <o></o>
    ๑. บวชอย่างไร พ่อแม่ปู่ย่าตายาย จะได้บุญมาก
    ๒. พอบวชพ้นอกพ่อแม่ ต้องรู้ให้แน่ ว่าจะมีชีวิตเป็นอยู่อย่างไร
    ๓. พอบวชเสร็จเป็นพระใหม่ อะไรทำได้ ทำไม่ได้ ต้องรู้ทันที
    ๔. พอเข้าสู่ศาสนา ก็เห็นการบูชา จึงต้องรู้ว่าจะบูชาอย่างไรดี
    ๕. ชีวิตพระใหม่ เริ่มต้นอย่างไร จึงจะพอให้ชื่นใจว่าเราได้บวชเรียน
    ๖. จะอยู่วัดบ้านหรืออยู่วัดป่าก็น่าศรัทธา ถ้ามีธรรมให้แก่ประชาชน
    ๗. ตัวมีชื่อว่าเป็นพระ แต่ถ้าไม่ปฏิบัติให้ถูก ก็แค่คือกันกับหมอผี
    ๘. สวดมนต์เป็นเรื่องใหญ่ สวดกันทำไมต้องรู้ให้ชัด
    ๙. พุทธศาสนาเกิดขึ้นมา มิใช่ว่าพิธีกรรมจะไร้ความหมาย
    ๑๐. ถ้าไม่ถือแบบงมงาย ก็อาจใช้พิธีกรรมมาสื่อธรรมให้ถึงคน
    ๑๑. วัตถุมงคลต้องใช้ผูกใจประชาชนไว้กับธรรม
    ๑๒. เอาวัตถุมงคลมาเป็นบันได พัฒนาคนไปให้พ้นวัตถุมงคล
    ๑๓. นับถือเทวดายังพอฟัง แต่ถ้ามัวหวังพึ่งขอผล ก็หล่นจากอริยมรรคไม่เหลือดี
    ๑๔. ถ้ารู้ภูมิหลังของอินเดียสักหน่อย จะค่อยเห็นแก่นของพระพุทธศาสนา
    ๑๕. มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐขึ้นมาเลยก็หาไม่ แต่ประเสริฐได้ด้วยการฝึก
    ๑๖. ธรรมะมีความหมายมากมาย แต่รู้ไว้แค่ ๔ ก็พอ
    ๑๗. ถ้าอยู่แค่ความรู้สึกก็เป็นคนพาล ถ้าเอารู้มาประสานได้ ก็อาจเป็นบัณฑิต
    ๑๘. การศึกษาเริ่มที่ตาหู จะดูฟังได้แค่ตัณหา หรือไปถึงปัญญา นี่คือตัวตัดสิน
    ๑๙. อารยธรรมมนุษย์หนีวงจรเจริญแล้วเสื่อมไม่ได้ เพราะว่ายวนอยู่แค่ในกระแสตัณหา
    ๒๐. อะไรกันคนไทย ยังไม่รู้จักว่าสันโดษอย่างไหนดี อย่างไหนไม่ดี
    ๒๑. อย่าเอาความอยากที่ชั่วร้ายมาปะปน ความอยากที่เป็นกุศลนั้นเราต้องมี
    ๒๒. คนด้อยพัฒนา มัวรอเทวดาให้มาช่วย อารยชนรู้จักพึ่งตนและชวนคนให้ร่วมด้วยช่วยกัน
    ๒๓. อิทธิบาท ๔ อย่าดีแต่รู้จักชื่อ ต้องรู้เข้าใจ เอาไปใช้ให้ได้ด้วย
    ๒๔. แค่เมตตากรุณา คนไทยก็หลงป่า ไปไม่ถึงมุทิตาอุเบกขาสักที
    ๒๕. ประเทศพุทธอย่างไทย ทำไมไม่เจริญอย่างฝรั่ง
    ๒๖. บอกว่าไทยนับถือพุทธเจริญไม่มาก ขอถามหน่อยว่า คนไทยเอาพุทธมาปฏิบัติมากแค่ไหน
    ๒๗. ถ้าเข้าถึงความจริงของธรรมชาติ แล้วเอามาจัดการชีวิตและสังคมให้ดีได้ ก็จบความหมายของพระพุทธศาสนา
    ๒๘. โยมขอศีล พระให้สิกขาบท ขอสมาธิ ให้กรรมฐาน ขอปัญญา ให้คำสอนหรือข้อพิจารณา
    ๒๙. แม้จะมีเพียงวินัยโดยธรรมชาติอย่างฝูงนกและกลีบดอกไม้ ก็ยังดีกว่าคนไร้ปัญญา ไม่รู้จักวินัย
    ๓๐. การพัฒนาชีวิต พัฒนาสังคม จะไม่ล่มสลาย ถ้าวินัยยังอยู่เป็นฐาน
    <o>
    </o>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กุมภาพันธ์ 2009
  2. aonlin

    aonlin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กันยายน 2006
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +1,608
    ๓๑. ฝึกคนครบ ๓ แดน คนก็จะพัฒนา ๔ ด้าน
    ๓๒. ฝึกคน ๓ แดน คนก็เดินไปในวิถีชีวิตดีงามที่เรียกว่ามรรค
    ๓๓. มรรคมีองค์ ๘ ก็กระจายออกไปจากวิถีชีวิตดีงาม ๓ แดน นี่เอง
    ๓๔. อยากได้สมาธิกันนักหนา ถ้าไม่เอาสติมานำหน้า ทางสำเร็จก็ไม่มี
    ๓๕. อยากเป็นคนมีปัญญาดี ถ้าสติไม่มี ก็หมดทางเจริญปัญญา
    ๓๖. ปัญญาเป็นแดนยิ่งใหญ่ ต้องพัฒนากันไป จนกลายเป็นโพธิญาณ
    ๓๗. ในยุคข่าวสารต้องมีปัญญาแตกฉาน ทั้งภาครับและภาคแสดง
    ๓๘. นับถือพระพุทธศาสนาไม่ใช่แค่มีที่พึ่งพาไว้ยึดเหนี่ย วหรือปลอบประโลมใจ
    ๓๙. ถ้านับถือพระรัตนตรัย ไม่ต้องมีใครมาเคี่ยวเข็ญ ก็สำนึกถึงความจำเป็น ที่จะต้องฝึกตนยิ่งขึ้นไป
    ๔๐. ญาติโยมก็รักษาอุโบสถ พระสงฆ์ก็ลงอุโบสถ เป็นมาเป็นไปและแตกต่างกันอย่างไร
    ๔๑. ถ้าพึ่งพระรัตนตรัยถูกต้อง ก็จะก้าวต่อขึ้นไปถึงธรรม จนจบที่เป็นอิสระแท้ ไม่ต้องพึ่งอะไรๆ
    ๔๒. แม้จะพูดถึงอริยสัจสี่กันสักเท่าไร ก็ไม่มีทางเข้าใจ ถ้าไม่รู้หลักหน้าที่ต่ออริยสัจ
    ๔๓. ก่อนจะเข้าเนื้อ มาดูหนังอริยสัจกันก่อน
    ๔๔. ดูขันธ์ ๕ ให้เห็นการทำงานของชีวิต พอได้พื้นความเข้าใจที่จะไปเรียนอริยสัจ
    ๔๕. ดูมรรคมีองค์ ๘ ให้เห็นวิถีชีวิตที่ดีงาม ว่าดำเนินไปอย่างไร
    ๔๖. ทางชีวิตดีงามมีอยู่ก็ดีแล้ว แต่คนที่ยังอยู่นอกทางเล่า ทำอย่างไรจะให้เขาเข้ามาเดิน
    ๔๗. ถึงไม่มีใครไปพามา ถ้าคนมีโยนิโสมนสิการ เขาก็มาเข้าทางที่ถูกได้ด้วยตัวเขาเอง
    ๔๘. แสงอรุณยืนยันการขึ้นมาของดวงอาทิตย์ แล้วอะไรเป็นบุพนิมิตของการเข้าสู่วิถีชีวิตที่ดีงาม ตอนที่ ๑
    ๔๙. แสงอรุณยืนยันการขึ้นมาของดวงอาทิตย์ แล้วอะไรเป็นบุพนิมิตของการเข้าสู่วิถีชีวิตที่ดีงาม ตอนที่ ๒
    ๕๐. ทางชีวิตของอารยชน เริ่มต้นด้วยปัจจัย ๒ มีหน่วยหนุนประคองอีก ๕ รวมเป็นแสงอรุณ ๗ รัศมี
    ๕๑. หลักปฏิบัติใหญ่คือ ไตรสิกขา แต่ท่านให้ชาวบ้านทำบุญด้วยทาน ศีล ภาวนา ชาวบ้านไม่ต้องศึกษาหรืออย่างไร
    ๕๒. รักษาศีล ๘ อย่าพูดแค่ว่าได้บุญ ต้องรู้ว่าศีล ๘ มาหนุนให้ก้าวไปสู่การพัฒนาจิตใจและปัญญาอย่างไร
    ๕๓. ถ้ารู้คุณค่าของศีล ๘ ถูกต้องแล้ว จะรักษาอุโบสถแบบไหนๆ ก็เลือกได้อย่างสมเป็นพุทธชน
    ๕๔. จะไปนั่งสมาธิ หรือเข้าวิปัสสนา ก็มาทำความเข้าใจให้มีพื้นกันไว้ก่อน
    ๕๕. หนีทุกข์อยากมีสุขกันนัก แต่ไม่รู้จักว่าเจอมันเข้าจะเอาอย่างไร
    ๕๖. หาความสุขไม่เป็น จะเหมือนเช่นสุนัขคาบเนื้อ จะเอาเงาในน้ำ สุขที่มีก็หมด สุขที่หมายก็ละลาย
    ๕๗. ชีวิตและสังคมทุกข์ระทมถึงขั้นวิกฤต ก็เพราะคนจมติดอยู่แค่ความสุขที่พึ่งพาการเสพ
    ๕๘. เรามีความสุขไว้ในตัวเลยดีกว่า อย่าเป็นอย่างคนที่เขาขาดไร้ความสุข แล้วจึงต้องไปเที่ยววิ่งหา
    ๕๙. สุขที่แท้มีทุกที่ทุกเวลา ไม่ต้องหาไม่ต้องสร้าง
    ๖๐. คนจะพัฒนาได้ ต้องมีวินัยเป็นฐาน วินัยพระยังเหลือ สังคมพุทธไทยเมื่อฐานหาย ต้องรีบฟื้นวินัยให้ทันก่อนจะวอดวาย


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กุมภาพันธ์ 2009
  3. aonlin

    aonlin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กันยายน 2006
    โพสต์:
    199
    ค่าพลัง:
    +1,608
    สารบัญที่บอกหัวข้อเนื้อหาในแต่ละตอนอย่างละเอียดค่ะ



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 กุมภาพันธ์ 2009
  4. ขันติธรรม

    ขันติธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มกราคม 2009
    โพสต์:
    545
    ค่าพลัง:
    +372
    อนุโมทนา สาธุ
     
  5. Ws:Wslnw

    Ws:Wslnw สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    11
    ค่าพลัง:
    +14
    พระพรเทพ

    สาธุ(b-smile)
     

แชร์หน้านี้

Loading...