การรักษาอารมณ์ของจิต จักต้องเพียรดูอารมณ์ของตนเองอยู่เสมอ พระพุทธเจ้าองค์ปฐม

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย คนหลงเงา2, 21 มิถุนายน 2016.

  1. คนหลงเงา2

    คนหลงเงา2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2016
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +57
    [FONT=&quot]การรักษาอารมณ์ของจิต จักต้องเพียรดูอารมณ์ของตนเองอยู่เสมอ[/FONT]

    [FONT=&quot]จงอย่าสร้างปัญหาเสียก่อนที่ปัญหาจักเกิด[/FONT]

    [FONT=&quot]พระพุทธเจ้าองค์ปฐม[/FONT]
    [FONT=&quot]...............[/FONT]

    [FONT=&quot]ข้อมูลจาก[/FONT]

    [FONT=&quot]ธรรมนำไปสู่ความหลุดพ้น[/FONT][FONT=&quot] เล่ม ๑๑ เดือนมกราคม ๒๕๔๑[/FONT]

    [FONT=&quot]รวบรวมโดย พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน[/FONT]

    [FONT=&quot]ขอความเจริญในธรรมจงมีแด่ทุกๆท่าน[/FONT]
    [FONT=&quot]...............................[/FONT]

    [FONT=&quot]พระธรรมที่ทรงตรัสสอนในเดือนมกราคม ๒๕๔๑

    [/FONT]
    [FONT=&quot]สมเด็จองค์ปฐม[/FONT][FONT=&quot] ทรงตรัสสอนปกิณกะธรรมไว้ มีความสำคัญดังนี้


    [/FONT]
    [FONT=&quot] ๑. [/FONT][FONT=&quot]การรักษาอารมณ์ของจิต จักต้องเพียรดูอารมณ์ของตนเองอยู่เสมอ [/FONT][FONT=&quot]จักเห็นสังขารอันเป็น[/FONT][FONT=&quot]อารมณ์ปรุงแต่งไปตามสัญญา[/FONT][FONT=&quot] หรือ

    ความทรงจำอยู่เนืองๆ เป็นต้นเหตุของความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) เป็นหนทางแห่งความทุกข์[/FONT]
    [FONT=&quot] (ให้เกิดทุกข์) เป็นปัจจัยที่ทำให้

    ต้องเกิดสืบไปในภายภาคหน้า [/FONT]
    [FONT=&quot]พึงเห็นการทำงานของจิต นั่นแหละจึงจักเกิดปัญญา[/FONT][FONT=&quot]เห็นการทำงานของรูปและนามได้[/FONT][FONT=&quot] เป็นหนทาง

    การเห็นทุกข์อย่างแท้จริง และเป็นแนวทางนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อพ้นทุกข์ได้ในที่สุด[/FONT]
    [FONT=&quot]จำไว้ว่าความตั้งใจจักไปพระนิพพานอย่าง

    เดียวนั้น ยังไม่ใช่แนวทางปฏิบัติ[/FONT]
    [FONT=&quot] เพียงแค่ตั้งเป้าหมายจักเดินไปจุดนั้น จักต้องเตรียมอาหาร ค่าใช้จ่าย - ยานพาหนะสิ่งจำเป็น

    ต่างๆ ให้พร้อมก่อน [/FONT]
    [FONT=&quot]วิธีปฏิบัติที่จักไปให้ถึงซึ่งพระนิพพาน[/FONT][FONT=&quot]ก็เช่นกัน [/FONT][FONT=&quot]จักต้องมีศีล[/FONT][FONT=&quot]- สมาธิ - ปัญญาพร้อมจึงจักไปได้[/FONT][FONT=&quot] แต่มิใช่จำศีล -

    สมาธิ - ปัญญาได้ด้วยความรู้แค่สัญญา คือความจำเท่านั้น (รู้แค่ปริยัติแต่ยังมิได้ปฏิบัติจัดเป็นหนูที่ขุดรูไว้ แต่มิได้อยู่) [/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องมี

    ความตั้งใจมั่นในศีล - สมาธิ - ปัญญา ด้วยกาย - วาจา - ใจ ให้พร้อมในคราวเดียวกัน นั่นแหละคือการปฏิบัติ[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรมเหล่านี้จักครบ

    อยู่ในจิตก็ต้องอาศัยบารมี ๑๐ ประการเข้าคุมใจให้พร้อม [/FONT]
    [FONT=&quot]นั่นแหละการปฏิบัติในศีล - สมาธิ - ปัญญา จักไม่บกพร่องแม้แต่วินาที

    เดียว เช่น[/FONT]



    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] ทานบารมี การให้ทานคือการสละออกอยู่ตลอดเวลา [/FONT][FONT=&quot]มีศีล ๕ คือสละความชั่ว ๕ ประการทิ้งไป มีศีล ๘ สละความชั่ว ๘ ประการ

    ทิ้งไป มีศีล ๑๐[/FONT]
    [FONT=&quot], ศีล ๒๒๗ ก็สละ แม้อภิสมาจารของเณรของพระทิ้งไป มีกรรมบถ ๑๐ ก็สละความชั่ว ๑๐ ประการทิ้งไป ทิ้งไปจาก

    กาย - วาจา - ใจ คือมีศีลพร้อมอยู่ในกาย - วาจา - ใจนี้
    [/FONT]



    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] ศีลบารมี การรักษาศีล มีกำลังใจรักษาศีลเต็มอยู่ตลอดเวลา [/FONT][FONT=&quot]โดยไม่มีจิตคิดละเมิดศีล ทางจิตไม่คิด ทางกายไม่ทำ ทางวาจาไม่

    พูด[/FONT]
    [FONT=&quot] ให้ผิดข้อบัญญัติของศีลนั้นๆ [/FONT][FONT=&quot]อาบัติแปลว่าบาป[/FONT][FONT=&quot] ศีลทุกข้อมีโทษแก่จิตทุกข้อ พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ ทรงเห็นโทษคือบาป

    อันเกิดขึ้นกับกาย - วาจา - ใจ จึงบัญญัติศีลขึ้นมา เพื่อให้พุทธบริษัทได้สำรวมกาย - วาจา - ใจ ไม่ให้ละเมิดในศีลนั้นๆ[/FONT]



    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] เนกขัมมะบารมี[/FONT][FONT=&quot]การถือบวชด้วยกาย - วาจา - ใจ ในศีลนั้นๆ มีความพร้อมหรือยัง[/FONT]

    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] ปัญญาบารมี[/FONT][FONT=&quot]ใช้ปัญญาใคร่ครวญในศีล - สมาธิ - ปัญญา ให้ถูกต้องตามหลักพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนาแล้วหรือ

    ยัง ที่รู้อยู่นั้น รู้ด้วยสัญญาหรือปัญญา[/FONT]



    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] วิริยะบารมี[/FONT][FONT=&quot]ดูกาย - วาจา - ใจ มีความเพียรในศีล - สมาธิ - ปัญญาเป็นปกติหรือเปล่า[/FONT]

    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] ขันติบารมี[/FONT][FONT=&quot]มีความอดทนต่อความชั่วที่เข้ามายั่วยุกาย - วาจา - ใจ ให้ละเมิดในศีล - สมาธิ - ปัญญา ทั้งกาย - วาจา - ใจหรือ

    เปล่า[/FONT]



    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] สัจจะบารมี[/FONT][FONT=&quot]พูดจริง - ทำจริงในศีล - สมาธิ - ปัญญา ทั้งกาย - วาจา - ใจหรือเปล่า[/FONT]

    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] อธิษฐานบารมี[/FONT][FONT=&quot]มีจิตตั้งมั่นในพระนิพพานหรือเปล่า การรักษาศีล - สมาธิ - ปัญญาให้ครบ ทั้งกาย - วาจา - ใจ ในหลักของพระ

    พุทธศาสนา มีจุดมุ่งหวังอยู่ที่พระนิพพานแห่งเดียวเท่านั้น[/FONT]
    [FONT=&quot] ตรวจดูกาย - วาจา - ใจของตนเองยังตั้งมั่นอยู่หรือยัง[/FONT]


    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] เมตตาบารมี[/FONT][FONT=&quot]มีความรัก ความสงสารตนเอง คือจิตที่จักต้องไปตกนรกหรือขึ้นสวรรค์ เวียนว่ายตายเกิดด้วยกรรมคือการกระทำ

    ของกาย - วาจา - ใจ วนอยู่ ในวัฏฏสงสาร เพราะละเมิด ศีล - สมาธิ - ปัญญา ไม่ได้กระทำเพื่อพระนิพพาน[/FONT]
    [FONT=&quot] ทำเพื่อหวังผลตอบ

    แทน นี่เป็นการขาดเมตตาแก่ตนเอง เมื่อขาดเมตตาตนเอง ก็ขาดเมตตาไปยังบุคคลอื่น - สัตว์ - วัตถุธาตุต่างๆ ด้วย[/FONT]



    [FONT=&quot]-[/FONT][FONT=&quot] อุเบกขาบารมี[/FONT][FONT=&quot]ความวางเฉยในกฎของกรรม รู้ต้นสายปลายเหตุในกฎของกรรมที่เข้ามาถึงตนเอง วางเฉยได้แล้วหรือยัง รู้ต้นสาย

    ปลายเหตุในกฎของกรรมที่ปรากฏแก่บุคคลอื่น นี้วางเฉยได้แล้วหรือยัง อุเบกขาจักเกิดขึ้นได้พร้อมเมื่อกาย - วาจา - ใจถึงพร้อม

    ด้วยศีล - สมาธิ - ปัญญา รู้แจ้งเห็นจริงในกองสังขารทั้งปวง การปล่อยวางจึงจักเป็นอุเบกขาญาณแท้[/FONT]
    [FONT=&quot] เห็นกฎของกรรมเป็นไป

    อย่างนี้แหละ รักษาบารมี ๑๐ เพียงเท่านี้ ศีล - สมาธิ - ปัญญาก็พร้อมอยู่ในกาย - วาจา - ใจทุกเมื่อ[/FONT]
    [FONT=&quot] คนที่ปรารถนาจักไปพระ

    นิพพาน จักทิ้งบารมี ๑๐ ไปไม่ได้เลย จงทำให้เกิดขึ้นพร้อมกันในคราวเดียวที่จิตนี้ [/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะจิตเป็นใหญ่ในธรรมปัจจุบันอยู่เสมอ ฝึก

    กำลังใจให้ตั้งมั่นพร้อมอยู่ในศีล - สมาธิ - ปัญญา ด้วยบารมี ๑๐ ประการเป็น ๓๐ ทัศแล้ว จุดนั้นแหละเป็นแนวทางสู่พระนิพพาน

    ได้อย่างแท้จริง[/FONT]



    [FONT=&quot] ๒. [/FONT][FONT=&quot]อย่ากังวลใจในเหตุการณ์ที่จักเกิดขึ้นต่อไปในภายภาคหน้าทั้งปวง[/FONT][FONT=&quot]จงทำทุกอย่างให้เป็นหน้าที่ จักได้ไม่มีความหนักใจ[/FONT][FONT=&quot]พึงใช้

    ปัญญาพิจารณาเหตุการณ์ทั้งหลาย ให้เป็นอารมณ์พระกรรมฐาน และอย่าท้อแท้ให้รักษาอารมณ์ของจิตให้เข้มแข็งเข้าไว้[/FONT]



    [FONT=&quot] ๓. [/FONT][FONT=&quot]มองธรรมดาให้เห็นเป็นธรรมดา[/FONT][FONT=&quot] ร่างกายมีสภาพไม่เที่ยงอยู่เป็นปกติ และเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจักแก้ไขให้มันเที่ยงได้ การปฏิบัติ

    จึงต้องมุ่งเอาที่จิตใจ เพราะจิตเป็นเราเป็นของเรา แก้ไขได้[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่าไปแก้ที่ร่างกาย ซึ่งมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ธรรมของกายและ

    ของจิตมันก็เป็นปกติอยู่อย่างนั้น การทำใจให้ยอมรับปกติธรรมของร่างกาย หรือรูป - นาม หรือขันธ์ ๕ จักต้องมีบารมี ๑๐[/FONT]
    [FONT=&quot] เกาะ

    ติดเป็นกำลังใจให้สมบูรณ์ จึงจักมีมรรคมีผลของการปฏิบัติธรรมได้ครบ[/FONT]



    [FONT=&quot] ๔. [/FONT][FONT=&quot]ให้เห็นความเป็นจริงของร่างกาย ที่มีชีวิตอยู่ทุกวันนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ อริยสัจข้อต้น[/FONT][FONT=&quot] (ทุกขสัจ ต้องมีสติกำหนดรู้จึงจักรู้ -

    จักเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์อยู่ตลอดเวลา เป็นปกติธรรมดา) คือ [/FONT]
    [FONT=&quot]ต้องเห็นทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ เพราะมันไม่

    เที่ยง[/FONT]
    [FONT=&quot]เกิด - เสื่อม - ดับอยู่ตลอดเวลาเหมือนกับร่างกาย จักยึดเอาอะไรเป็นที่พึ่งไม่ได้สักอย่างเดียว[/FONT][FONT=&quot]พิจารณาให้มากจักได้มีความ

    เบื่อหน่ายในชีวิต[/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วที่สุดก็จักปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่างในโลก[/FONT][FONT=&quot]รวมทั้งขันธ์ ๕ ให้เป็นไปตามกฎของธรรมดา หรือกฎของกรรมซึ่ง

    เป็นตัวเดียวกัน จนในที่สุดก็จักทิ้งโลกทั้ง ๓[/FONT]
    [FONT=&quot] (มนุษโลก[/FONT][FONT=&quot], เทวโลก , พรหมโลก) เพื่อมุ่งพระนิพพานจุดเดียวเท่านั้น [/FONT][FONT=&quot]อย่าไปเห็นอะไร

    ในโลกว่าเต็มไปด้วยความจีรังยั่งยืนเป็นอันขาด[/FONT]
    [FONT=&quot] เหนื่อยมากก็ทุกข์มาก ใครโง่ก็ให้เกิดมาพบกับความเหนื่อย ความทุกข์อีกต่อไป

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ใครอยากพ้นทุกข์ก็จักต้องพิจารณาตามกฎของความเป็นจริง คืออริยสัจ ก็จักสามารถไปพระนิพพานได้ในชาติปัจจุบัน[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2016
  2. คนหลงเงา2

    คนหลงเงา2 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2016
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +57
    [FONT=&quot] ๕. หมู่นี้[/FONT][FONT=&quot]ร่างกายเหนื่อยจัด การพิจารณาบทพระกรรมฐานย่อมไม่ปลอดโปร่ง ให้กำหนดสมถะภาวนาเป็นองค์ประจำ เพื่อบรรเทา

    อาการเหนื่อยด้วยบท อิติปิโสภควา ทั้งบท [/FONT]
    [FONT=&quot]การเจริญพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ จักช่วยบรรเทาอาการเหน็ดเหนื่อยของร่างกาย

    ลงได้[/FONT]
    [FONT=&quot] (ในการทำพิธี พุทธาภิเษกวัตถุมงคลที่ถูกต้องนั้นก็ใช้พุทธคุณ - ธรรมคุณ - สังฆคุณ ทั้งสิ้น [/FONT][FONT=&quot]เพราะในจักรวาลนี้ไม่มีพระ

    คุณใดที่ยิ่งไปกว่าคุณของพระรัตนตรัยนี้อีก[/FONT]
    [FONT=&quot]หากพิธีใดมีบุคคลใดใช้พระคุณหรือบารมีของตนเองปลุกเสกแล้ว จัดว่าเป็น มิจฉา

    ทิฎฐิ ทำไป ๓ เดือน - ๓ ปี ก็ยังไม่เท่ากับบารมีคุณของพระพุทธเจ้าแค่นาทีเดียว)[/FONT]
    [FONT=&quot]การพิจารณาให้เห็นทุกข์ของการงานที่ทำอยู่นี้

    เนื่องจากการมีร่างกาย ไม่ทำไม่หาก็จักอยู่ไม่ได้ หรือลำบากมากต่อไปในภายหน้า [/FONT]
    [FONT=&quot]จึงจำเป็นที่จักต้องอดทนทำเพื่อร่างกายให้มี

    ชีวิตรอดไปได้ ทั้งนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]ให้ใช้อริยสัจเป็นหลักสำคัญในการแก้ปัญหา [/FONT][FONT=&quot]ขอให้ตั้งใจไว้ทุกข์ยากลำบากครั้งนี้เป็นครั้งสุดท้าย ตายเมื่อไหร่

    ตั้งใจเอาไว้เลยว่าจักไม่มาเกิดอีก[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตตั้งมั่นจักไปที่เดียวคือพระนิพพาน [/FONT][FONT=&quot]หากร่างกายไม่ดี ให้นึกถึง มรณา และอุปสมานุสสติให้

    มาก จักได้ไม่ประมาทในชีวิต[/FONT]



    [FONT=&quot] ๖. [/FONT][FONT=&quot]อย่ากังวลกับงานทางโลก และเหตุการณ์ใดๆ ของโลก ซึ่งกำลังตึงเครียด ข่าวร้ายใดๆ เข้ามากระทบก็ให้เห็นเป็นกฎของกรรม

    เป็นกฎธรรมดาของโลกที่แก้ไขอะไรไม่ได้ [/FONT]
    [FONT=&quot]โลกมันก็เป็นของมันอยู่อย่างนี้แหละ เพราะมันไม่เที่ยง เดินเข้าหาความดับเป็นอนัตตา

    อยู่เป็นปกติทุกยุค ทุกสมัย[/FONT]
    [FONT=&quot]แม้แต่ตถาคตเจ้าแต่ละพระองค์ในสมัยยังทรงชีวิตอยู่ สภาวะข้าวยากหมากแพง ฝนแล้ง เกิด

    ทุพภิกขภัยต่างๆ ก็มีอยู่ทุกๆ พุทธันดร ซึ่งจุดนั้นคนจักเห็นทุกข์มาก ผู้ที่มีดวงตาเห็นธรรมก็จักมีมาก [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ในขณะเดียวกันผู้ที่ยังมี

    กิเลสหนา ก็จักทะยานอยากมาก (มีตัณหามาก) ก็จักดิ้นรน - แสวงหาทรัพย์ - หาลาภ - หายศด้วยความเร่าร้อน หาเท่าไหร่ก็ไม่

    รู้จักพอ [/FONT]
    [FONT=&quot]ยิ่งดิ้นรนมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งทุกข์มากเท่านั้น[/FONT][FONT=&quot] เพราะเขาไม่เห็นทุกข์ ทั้งๆ ที่ตายไปเขาก็เอาอะไรไปไม่ได้ เพราะมันเป็นสมบัติ

    ของโลก ซึ่งไม่มีใครสามารถจักเอาไปได้ เพราะความโลภ - โกรธ - หลงเต็มจิต ติดใจ - ติดกายอยู่ จนกระทั่งวันตาย ยกเว้นพวก

    มีบารมีธรรมสูง (บารมี ๑๐ ประการ) มีปัญญารู้ธรรมของโลก และธรรมพ้นโลก คือ ศีล - สมาธิ - ปัญญา ทาน - ศีล - ภาวนา ช่วย

    ตัดอารมณ์ โลภ - โกรธ - หลง ได้ตามลำดับจนดับสนิทเป็น สมุจเฉทปหาน ก็จักเอาสมบัติของโลกซึ่งเอาไปไม่ได้ แต่หากเชื่อและ

    ปฏิบัติตามพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ ในเรื่องทานบารมี จากกำลังใจมีบารมีต้นๆ หยาบๆ แล้วเจริญเป็นขั้นกลางเป็นอุป

    บารมี และ ปรมัตถบารมีตามลำดับ ก็สามารถจักเอาสมบัติของโลก (โลกียทรัพย์) ไปเป็นอริยทรัพย์ (โลกุตรทรัพย์) [/FONT]
    [FONT=&quot]ทำทานเพื่อ

    ตัดความโลภจนชินกลายเป็นจาคะ เป็นจาคานุสสติในทาน[/FONT]
    [FONT=&quot]มีปัญญาเห็นความละเอียดของทาน จากทาสทาน[/FONT][FONT=&quot] - [/FONT][FONT=&quot]สหายทาน สามี

    ทานตามกำลัง[/FONT]
    [FONT=&quot]เป็นสังฆทาน - วิหารทาน - ธรรมทานภายนอก[/FONT][FONT=&quot] - [/FONT][FONT=&quot]ธรรมทานภายใน[/FONT][FONT=&quot]แล้วจบลงที่อภัยทาน[/FONT][FONT=&quot] หากทำได้ทรงตัวสังขารุ

    เบกขาญาณก็เกิดขึ้นทรงตัว ก็จบกิจในพระพุทธศาสนา[/FONT]
    [FONT=&quot] (ผมไม่ขอเขียนรายละเอียด เพราะธรรมในพุทธศาสนาเป็น ปัจจัตตัง ถึง

    แล้วจึงจะรู้ได้เอง เฉพาะตนของใครของมัน กรรมใครกรรมมัน อธิบายเท่าไหร่ก็ไม่มีทางรู้จริงได้ ทุกอย่างล้วนมีระดับจากหยาบ -

    กลาง - ละเอียด เหมือนกับอารมณ์พระโสดาบันมี ๓ ระดับนั่นแหละ แม้ตัวผมเองก็ต้องรู้ว่าตนเองปฏิบัติได้แค่ไหน ยังเหลืออยู่เท่า

    ไหร่ก็ต้องรู้)[/FONT]



    [FONT=&quot] ๗. [/FONT][FONT=&quot]สถานการณ์ของโลกยิ่งร้อนแรงขึ้นทุกวัน[/FONT][FONT=&quot] ก็ต้องอดทนใช้บารมี ๑๐ ช่วยเพิ่มกำลังใจให้เต็มอยู่เสมอ พิจารณาให้เห็นทุกข์ตาม

    หลักของอริยสัจ ก็จักมีดวงตาเห็นธรรมได้มากขึ้น ทุกอย่างให้พิจารณาลงตัวธรรมดาเข้าไว้จักไม่พลาดเป้าหมาย[/FONT]
    [FONT=&quot]คือทุกสิ่ง

    ทุกอย่างมุ่งทำเพื่อพระนิพพานจุดเดียว จงอย่าประมาทในชีวิต เพราะความตายย่อมมีอยู่ทุกลมหายใจเข้าออก ปฏิบัติเพื่อตัด

    กิเลสให้น้อยลง[/FONT]
    [FONT=&quot] (อารมณ์โลภ - โกรธ - หลง) โดยใช้สังโยชน์ ๑๐ เป็นเครื่องวัดใจ แต่[/FONT][FONT=&quot]ทางลัดก็จงอย่าทิ้ง รู้ลม - รู้ตาย - รู้นิพพาน

    ทุกข์เสียให้พอ ต่อไปจักไม่ต้องกลับมาทุกข์อย่างนี้อีก [/FONT]
    [FONT=&quot]อย่าละความเพียร หรือท้อแท้เสียอย่างเดียว เพราะเป็นชาติสุดท้ายแล้ว ทำ

    อะไรอย่าหวังผลตอบแทน ทำเพื่อพระพุทธศาสนา และพระนิพพานจุดเดียวเท่านั้นเป็นพอ[/FONT]



    [FONT=&quot]๘. เวลานี้ภัยพิบัติของธรรมชาติ[/FONT][FONT=&quot] เริ่มจักเยือนโลกมากขึ้นๆ ทุกๆ ขณะ เพราะ[/FONT][FONT=&quot]คำว่าโลกแปลว่า มีความฉิบหายไปในที่สุด[/FONT][FONT=&quot] โลกนี้มี

    ทุกขังเป็นเบื้องต้น[/FONT]
    [FONT=&quot] (ไม่สามารถจะทรงตัวอยู่ในสภาพเดิม สภาวะเดิมได้) [/FONT][FONT=&quot]มีอนิจจัง [/FONT][FONT=&quot](ไม่เที่ยงแท้แน่นอน) [/FONT][FONT=&quot]เป็นท่ามกลาง มีความ

    อนัตตาไปในที่สุด [/FONT]
    [FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]สลายตัวไปจากสภาวะหนึ่งไปสู่อีกสภาวะหนึ่ง[/FONT][FONT=&quot] เช่น วันนี้กินอาหารเข้าไปทางปาก พรุ่งนี้ก็กลายเป็นขี้ สีเหลือง

    เหมือนกันหมด แยกไม่ออกว่าของเดิมมันเป็นอะไรบ้าง) จิตจักได้เห็นความจริงของโลกให้มาก ทั้งโลกภายนอกและโลกภายใน

    คือ [/FONT]
    [FONT=&quot]ขันธโลกหรือร่างกาย หรือขันธ์ ๕[/FONT][FONT=&quot]เมื่อเห็นความจริงแล้วจิตจักได้มีความเบื่อโลก ไม่ต้องการเกิดมาในโลกนี้อีก [/FONT][FONT=&quot]เพราะจิตจักเห็น

    ทุกข์ของการดำรงชีวิตอยู่ในโลกมากขึ้น ในขณะเดียวกันจิตเมื่อรู้ความจริงแล้วว่า [/FONT]
    [FONT=&quot]ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ล้วนไม่เที่ยง[/FONT][FONT=&quot] (อนิจจา

    วะตะสังขารา) [/FONT]
    [FONT=&quot]แต่อุปาทานตัวยึดมั่นถือมั่นมันคิดว่าเที่ยง[/FONT][FONT=&quot] ทุกข์เกิดขึ้นกับจิตเพราะเหตุนี้ (อุปาทา วะยะมะธัมมิโน) [/FONT][FONT=&quot]หากวาง

    อุปาทานตัวยึดมั่นถือมันลงได้ จิตก็จักพ้นจากความทุกข์[/FONT]
    [FONT=&quot] (อุปปัชชิตวา นิรุชฌันติ) การไม่เกิดมามีร่างกาย (ขันธ์ ๕) อีก จึงเป็น

    ยอดของความสุข หรือพระนิพพานเป็นยอดของความสุข ([/FONT]
    [FONT=&quot]เตสังวูปะสะโม สุโข[/FONT][FONT=&quot])[/FONT]


    [FONT=&quot] ๙. [/FONT][FONT=&quot]เรื่องเหล่านี้ มิใช่พูดให้กลัว แต่พูดเพื่อให้ระมัดระวัง ถ้าหากมีเหตุการณ์เลวร้ายต่างๆ เกิดขึ้น จักได้มีสติ - สัมปชัญญะทรงตัว

    รับรู้ และสามารถแก้เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าได้[/FONT]
    [FONT=&quot] ดีกว่าอยู่อย่างไม่รู้ หรือรู้แล้วไม่เตรียมอะไรเอาไว้เลย ก็เป็นการ

    ประมาทอย่างยิ่งเช่นกัน [/FONT]
    [FONT=&quot]ในกรณีตระเตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค เพื่อสู้วิกฤติการณ์ของโลกนั้น จงอย่าเสียดายเงิน เพราะเงินทอง

    แทบจักไม่มีความหมาย เพราะข้าวของจักมีราคาสูงขึ้นมาก[/FONT]
    [FONT=&quot]และแทบจักหาซื้อไม่ได้ [/FONT][FONT=&quot]การเกิดมามีร่างกายในโลกใบนี้ จักต้องทน

    ได้ทุกกรณี ให้เห็นเป็นธรรมดาของโลกให้มาก จักได้เบื่อหน่ายแล้วเข็ดจนไม่อยากจักกลับมาสู้กับโลกที่ไม่เที่ยง และเต็มไปด้วย

    ความทุกข์ มีความสลายตัวไปในที่สุดอย่างนี้อีก


    [/FONT]
    [FONT=&quot] ๑๐. [/FONT][FONT=&quot]จงเป็นคนทำงาน อย่าทำตัวเป็นคนแบกงาน เพราะงานทางโลกไม่มีใครทำได้เสร็จสมบูรณ์หมดหรอก ทำแต่พอดีๆ ในทาง

    สายกลาง[/FONT]
    [FONT=&quot] ใช้ปัญญาให้มาก ใช้สัญญาแต่พอควร [/FONT][FONT=&quot]จงเป็นนายของงาน อย่าให้งานมาเป็นนายเรา [/FONT][FONT=&quot]อย่าลืม[/FONT][FONT=&quot]อารมณ์จิตที่ติดงานเกาะ

    งาน คือ ยังมิได้ลงมือทำงาน จิตก็วิตก - กังวลในงานนั้นๆ เสียก่อนแล้วนั่นเอง[/FONT]
    [FONT=&quot]จงอย่าสร้างปัญหาเสียก่อนที่ปัญหาจักเกิด[/FONT][FONT=&quot] (จงอย่า

    ทุกข์เสียก่อนทุกข์จักเกิด หรือจงอย่าตีตนไปก่อนไข้) แต่ทุกอย่างก็ลงอยู่ในเรื่องของความไม่ประมาททั้งสิ้น ให้ศึกษาธรรมที่ตรัส

    ไว้ในข้อที่แล้วด้วย[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๑. [/FONT][FONT=&quot]การพิจารณาเห็นทุกข์จากการมีร่างกายนั้นเป็นของดี และถูกต้องแต่จิตต้องไม่ทุกข์ หงุดหงิดเศร้าหมองไปกับมัน ตามหลัก

    จักต้องพิจารณาให้ลงตัวธรรมดาให้ได้ จุดนั้นนั่นแหละคือความถูกต้องที่แท้จริง[/FONT]
    [FONT=&quot]การเตรียมงาน จงอย่าเอาจิตไปเกาะทุกข์ล่วงหน้า

    ทุกอย่างทำไปตามหน้าที่ แล้วรักษาอารมณ์ให้สบายๆ อย่าเครียด คอยปรับอารมณ์ลงมาสู่อารมณ์เบาๆ สบายๆ แม้งานจักยุ่งยาก

    เพียงใด จุดนั้นแหละเป็นการวัดอารมณ์ของใจ อย่าให้เครียดหรือเหนื่อยตามงาน เวทนาที่มีอยู่นี้ไม่ใช่เรา ไม่มีในเรา งานจำเป็น

    ต้องทำเพราะเป็นหน้าที่ แต่เมื่อเลิกแล้วก็ปล่อยวาง อย่าไปเครียดตามงาน[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๒. [/FONT][FONT=&quot]คุณหมอเองก็เช่นกัน การทำงานให้ระมัดระวังด้วย เพราะร่างกายแก่ตัวลงไปทุกวัน อย่าคิดแต่ประหยัดอย่างเดียว[/FONT][FONT=&quot] หากร่าง

    กายเป็นอะไรลงไปก็ไม่ คุ้ม อย่าคิดว่าหากป่วยก็มีคนอื่นๆ คอยช่วยเหลือ เมื่อถึงคราวล้มป่วยเข้าจริงๆ จักมุ่งหวังให้ใครช่วยใคร

    นั้นก็ยากเต็มที ต้องมุ่งช่วยตนเองเป็นหลักใหญ่ [/FONT]
    [FONT=&quot]ทำอะไรให้ยึดหลักมัชฌิมาเข้าไว้ แล้วจักมีความพอดีหมดทุกอย่าง ไม่ว่าทางโลก

    หรือทางธรรม [/FONT]
    [FONT=&quot]เวลากายเหนื่อยจากการทำงาน เมื่อพักหมั่นทำจิตให้สงบมากที่สุด จุดนั้นจักได้พัก ร่างกายก็จักหายเหนื่อยได้เร็ว[/FONT]


    [FONT=&quot] ๑๓. [/FONT][FONT=&quot]วัดท่าซุงนั้นอยู่ได้ถึง ๕[/FONT][FONT=&quot],๐๐๐ ปี[/FONT][FONT=&quot] แต่ความเจริญหรือความเสื่อมนั้นย่อมมีเป็นของธรรมดา ในอดีตวัดท่าซุงก็เป็นอย่างนี้มาโดย

    ตลอด[/FONT]
    [FONT=&quot] เสื่อมบ้าง เจริญบ้าง [/FONT][FONT=&quot]ธรรมดาของวัดก็เป็นอย่างนี้เอง [/FONT][FONT=&quot]จงพิจารณาให้เห็นโทษของจิตที่เกาะติดโลก และ ขันธโลก มองหา

    ความจริงของโลกให้พบ โลกนี้ไม่เที่ยง โลกนี้เป็นทุกข์ โลกนี้มีความสลายตัวไปในที่สุด อะไรเป็นปัจจัยก็ตัณหา ๓ นี่แหละครอง

    โลก (อารมณ์โลภ - โกรธ - หลง) ซึ่งไม่ใช่เรื่องที่ผิดปกติ อดีตก็เป็นอย่างนี้ ปัจจุบันก็เป็นอย่างนี้ อนาคตก็เป็นอย่างนี้ โลกหาได้

    เป็นอื่นไปไม่ [/FONT]
    [FONT=&quot]ให้พิจารณาจิตที่โลภว่า โลภทำไม โลภเพื่ออะไร [/FONT][FONT=&quot](ทั้งๆ ที่รู้อยู่ว่าตายแล้วเอาสมบัติของโลกไปไม่ได้) [/FONT][FONT=&quot]จิตที่โกรธก็เช่น

    กัน โกรธทำไม โกรธเพื่ออะไร มีคุณหรือมีโทษในความโกรธนั้น จิตมีความหลงก็เช่นกัน หลงทำไม หลงเพื่ออะไร มี คุณหรือมีโทษ

    ในความหลงนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้ารักจักเป็นผู้ปฏิบัติธรรมเพื่อมรรคผลนิพพาน จักต้องเป็นผู้สอบสวนอารมณ์จิตของตนเองไว้เสมอ จิตของคนอื่น

    ช่างมัน[/FONT]



    [FONT=&quot] ๑๔. [/FONT][FONT=&quot]อย่าสนใจกับความชั่วของบุคคลอื่น[/FONT][FONT=&quot] จักทำให้จิตเศร้าหมอง ขาดทุนทุกครั้งที่เผลอ [/FONT][FONT=&quot]จงอย่าเอาความชั่วของเขามาใส่ใจเรา[/FONT][FONT=&quot] แม้

    จักทำได้ยากก็จริง ก็ต้องอดทนทำให้ได้ เพราะเป็นชาติสุดท้ายแล้ว [/FONT]
    [FONT=&quot]กรรมใดที่เราไม่เคยก่อไว้ วิบากกรรมนั้นๆ จักเกิดกับเรานั้น

    ย่อมเป็นไปไม่ได้[/FONT]
    [FONT=&quot]เพราะกฎของกรรมนั้นเที่ยงเสมอ และให้ผลไม่ผิดตัวด้วย จำไว้ [/FONT][FONT=&quot]จงอย่าไปชั่วตามเขา [/FONT][FONT=&quot]ให้รักษาอารมณ์อุเบกขาให้

    จงหนัก[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่าไปปรุงแต่งธรรม ให้เห็นธรรมดาของโลก[/FONT][FONT=&quot]คนไม่มีศีลก็เป็นธรรมดาของเขา[/FONT][FONT=&quot] เช่นในพุทธันดรนี้ อย่างพระเทวทัต นางมา

    คันธิยา นางจิญจะมาณวิกา เป็นต้น คนเหล่านี้ไม่มีศีล ให้เอาพวกนี้เป็นตัวอย่างของคนไม่มีศีล [/FONT]
    [FONT=&quot]การพ้นทุกข์มิใช่พ้นที่คนนอก จัก

    ต้องพ้นที่จิตของเราเท่านั้น หมั่นทำกำลังใจให้เต็ม อย่าคิดไปแก้บุคคลอื่น ให้แก้จิตของตนเองเป็นสำคัญ[/FONT]



    [FONT=&quot]รวบรวมโดย พล.ต.ท. นพ. สมศักดิ์ สืบสงวน[/FONT]

    [FONT=&quot].......................[/FONT]

    [FONT=&quot]ที่มาของข้อมูล[/FONT]

    [FONT=&quot]ธรรมนำไปสู่ความหลุดพ้น[/FONT][FONT=&quot] เล่ม ๑๑ เดือนมกราคม ๒๕๔๑[/FONT]

    [FONT=&quot]หนังสือ [/FONT][FONT=&quot]ธรรมนำไปสู่ความหลุดพ้น ทุกเล่ม[/FONT]

    [FONT=&quot]หาข้อมูลศึกษาได้จาก.......[/FONT]

    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:EnableOpenTypeKerning/> <w:DontFlipMirrorIndents/> <w:OverrideTableStyleHps/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" Name="Hyperlink"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]http://www.tangnipparn.com/page_book_all.html[/FONT]
    [FONT=&quot][/FONT]
    [FONT=&quot]ปัจจุบันมีการนำหนังสือชุดนี้บันทึกเสียงแล้วบางเล่ม มีประโยชน์อย่างมากสำหรับผู้มีสายตาไม่ดีนัก ก็สามารถฟังได้[/FONT]


    [FONT=&quot]ต้องขอโมทนาทุกท่านที่ช่วยเผยแพร่ผลงานของพระพุทธเจ้าหรือ[/FONT]


    [FONT=&quot]หลวงพ่อหรือพระอริยเจ้าทั้งหลายในทุกรูปแบบทั้งทางหนังสือและอินเตอร์เน็ต[/FONT]


    [FONT=&quot]ขอความเจริญในธรรมจงมีแด่ทุกๆท่านครับ[/FONT]
    [FONT=&quot]…………………………………[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 มิถุนายน 2016

แชร์หน้านี้

Loading...