ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    รูปแบบของ สสาร และ พลังงาน ใกล้เคียงกันครับ < Micro vs Macro >

    [​IMG]

    .
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    4 พย. 2013 ดาวหางISON ได้โคจรผ่านแนวเส้นวงโคจรของโลกเข้าไปหาดวงอาทิตย์ ( 0.92 AU) ในขณะที่โลกอยู่ห่างดวงอาทิตย์ 1.15 AU ISON จะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด 28 พย. 2013 ด้วยระยะ 0.01244 AU หรือ 1,860,000 กม. (จากจุดศูนย์กลางดวงอาทิตย์) แต่ถ้าคิดระยะห่าวงจากผิวดวงอาทิตย์ จะห่างแค่ 724,000 กม. เท่านั้น ส้วนโลกเราก็กำลังโคจรเข้างกล้ดวงอาทิตย์เช่นกัน และจะเข้าใกล้มากที่สุด 3 มค. 2014 ที่ระยะ 1 AU ( 149.6 ล้าน กม.) พอดี

    สำหรับท่านที่สนใจ มีภาพจำลองท้องฟ้าและISON มาให้ศึกษาเพื่อการเฝ้าชมครับ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  3. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    See Comet ISON move in front of the stars

    [ame=http://vimeo.com/77912917]Journey of Comet ISON on 27 October 2013 on Vimeo[/ame]

    ในสื่อบอกว่า ช่วงนี้สามารถเห็น ISON โดยใช้กล้องสองตา เมื่อคืนผมก็ลืมตั้งนาฬิกาปลุก นอนเกือบตี 3 เลยหลับยาวไปตื่น 8โมงครึ่ง เสียดายเพราะไม่รู้คืนนี้ท้องฟ้าจะเปิดเหมือนเมื่อคืนรึปล่าว

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 พฤศจิกายน 2013
  4. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อเช้าตอนตี 5 (วัชรพล ) เมฆหมอกหนา มองไม่เห็นดาว เลยหลับต่อดีกว่า


    .
     
  6. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    Surprising Recent Discoveries of Three Large Near-Earth Objects


    NASA / November 5, 2013

    [​IMG]

    2013 UP8 ค้นพบ 25 ตค 2013 ขนาด 2 กม.
    2013 UQ4 ค้นพบ(ยืนยัน) 31 ตค 2013 ขนาด 19 กม.
    2013 US10 ค้นพบ 31 ตค 2013 ขนาด 20 กม.

    ติดตามต่อได้ที่ http://neo.jpl.nasa.gov/news/news181.html

    .
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    What's Up about ISON this month ...

    [​IMG]

    [​IMG]


    As comet hunter David Levy once said, “Comets are like cats – they have tails and do what they like.”

    รอดูกันนะครับว่า ISON จะออกลีลาประทับใจขนาดไหน จะเหมือนแมวส่ายหางรึปล่าว

    .
     
  9. sunny430

    sunny430 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,299
    ค่าพลัง:
    +5,425
    ปูเสือรอครับ
     
  10. DNA1126

    DNA1126 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    145
    ค่าพลัง:
    +1,874
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  13. Soul Collector

    Soul Collector เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มกราคม 2011
    โพสต์:
    503
    ค่าพลัง:
    +610
    ผมไม่ค่อยได้ตามข่าวคอมเม่ทไอซอนเลยก็ได้คุณไฮฟลายเออร์นี่ล่ะที่คอยอัพเดทข่าวสารมาลงให้เราๆท่านๆได้ทราบกัน เยี่ยมครับ :)
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ดาวหาง ISON ตอนนี้มีหางสองหาง: นักดาราศาสตร์สมัครเล่นได้เห็นดาวหาง ISON ในมุมที่ดีขึ้น เพราะมันกำลังจะวิ่งเช้าหาดวงอาทิตย์ในวันที่ 28 พฤศจิกายนนี้ เพราะความร้อนของดวงอาทิตย์ และเมื่อความร้อนเพิ่มขึ้น ดาวหางจะสว่างขึ้น และจะปรากฎให้ชัดขึ้นทุกๆ วัน ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน โดย Michael Jäger of Jauerling Austria แสดงถึงหางคู่ที่สวยงาม

    [​IMG]

    หางข้างหนึ่งคือ หางไอออน ยาวไปด้วยแก๊สไออนที่เกิดขึ้นจากการเป่าออกไปของลมสุริยะ หาง filament ไอออน จะชี้ไปยังฝั่งเกือบจะตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ อีกหางเป็นหางของฝุ่น คล้ายกับ Hansel and Gretel ที่เวลาไปยังหลงเหลือร่องรอยของหางไว้ ISON จะทิ้งรายของฝุ่นไว้เมื่อมันเคลื่อนผ่านระบบสุริยะ เทียบกับน้ำหนักโมเลกุล น้อยๆ ในหางมัน แต่หางที่เป็นฝุ่นจะน้ำหนักมากและยากกว่าที่ลมสุริยะจะเป่าผ่าน หางที่เป็นฝุ่นเหมือนกับว่าจะยังอยู่แต่จะตกลง แต่หางฝุ่นมันทำให้เราสามารถเห็นวงโคจรของมันและมันจะไม่ไปทิศตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์เหมือนกับหางที่เป็นไอออน

    ตอนนี้ดาวหางกำลังเคลื่อนตัวผ่านกลุ่มดาว Virgo ในทิศตะวันออกก่อนพระอาทิตย์จะขึ้น และมันจะสว่างไหว ในมาตราวัดความสว่างที่ 8 แต่ตอนนี้ยังริบหรี่ที่จะมองได้ด้วยตาเปล่า แต่จะเพิ่มขึ้นหลังจากนี้พอที่จะมองจากสนามหลังบ้านได้ วันที่น่าสนใจคือ ถ้าคุณไปที่กล้องดูดาว GOTO และใส่พิกัดลงไป โดยเฉพาะวันที่ 17 และ 18 เมื่อดาวหางนี้เคลื่อนตัวผ่านดาวที่สว่างไหวชื่อดาว Spica จะเห็นภาพที่สวยงาม


    COMET ISON SPROUTS A DOUBLE TAIL: Amateur astronomers are getting a better look at Comet

    ISON as it dives toward the sun for a Nov. 28th close encounter with solar fire. As the heat rises, the comet brightens, revealing new details every day. This photo, taken Nov. 10th by Michael Jäger of Jauerling Austria, shows a beautiful double tail:

    One tail is the ion tail. It is a thin streamer of ionized gas pushed away from the comet by solar wind. The filamentary ion tail points almost directly away from the sun.

    The other tail is the dust tail. Like Hansel and Gretel leaving bread crumbs to mark their way through the forest, ISON is leaving a trail of comet dust as it moves through the solar system. Compared to the lightweight molecules in the ion tail, grains of comet dust are heavier and harder for solar wind to push around. The dust tends to stay where it is dropped. The dust tail, therefore, traces the comet's orbit and does not point directly away from the sun as the ion tail does.

    Comet ISON is currently moving through the constellation Virgo low in the eastern sky before dawn. Shining like an 8th magnitude star, it is still too dim for naked eye viewing, but an increasingly easy target for backyard optics. Amateur astronomers, if you have a GOTO telescope, enter these coordinates. Special dates of interest are Nov. 17th and 18th when the comet will pass the bright star Spica. Sky maps: Nov. 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 พฤศจิกายน 2013
  15. BlueRock

    BlueRock เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    49
    ค่าพลัง:
    +198
  16. จริง?หรือ?

    จริง?หรือ? เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2013
    โพสต์:
    2,201
    ค่าพลัง:
    +7,155
    08:40 ขณะที่ทั่วโลกกำลังรอคอยและดูเหมือนจะผิดหวังกับดาวหาง ISON ที่ไม่ค่อยสว่าง อยู่ดีๆดาวหางดวงใหม่ก็โผล่ขึ้นมาให้เห็น หลังผ่านวงโคจรโลก ดาวหาง Lovejoy (C/2013 R1) ส่องแสงสว่างกว่า ISON ประมาณ 10 เท่า ภาพนี้ Rolando Ligustri ถ่ายเมื่อ 12 พ.ย. ในนิวเม็กซิโก
    [​IMG]

    [​IMG]
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]

    ดาวหาง ISON เร็วๆ นี้ได้ปรากฎความสว่างขึ้นเรื่อยๆ ถึงอย่างไรก็ตาม สิ่งที่ระเบิดมาจาก core ของมันจะทำให้ เกิดหางที่ยาวมากๆ มากกว่า 16 ล้านกิโลเมตรจากข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง ดูจากรูปที่ถ่ายเมื่อ 17 พย.เลย หางของมันยาวกว่า 12 เท่าของความกว้างของดวงอาทิตย์ ดังนั้นเมื่อหัวของมันวิ่งเข้าไปหาดวงอาทิตย์ในวันที่ 28 พฤศจิกายน มากกว่า 15 ล้านกิโลเมตร มันยังคงอยู่ในอวกาศด้านหลังเพราะว่ามันมีแก๊สและฝุ่นมากจาก core ของมัน และเป็นไปได้ยากที่จะเห็นชัดว่าอะไรทำให้ดาวหางมันเป็นแบบนี้ ในวันที่ 13-14 พย. ความน่าจะเป็นอย่างหนึ่งคือ อันที่เป็นสายน้ำแข็งเปิดขึ้นเพราะว่า นิวเคลียสมันเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ หรืออีกอย่างคือ นิวเคลียสมันแตกออกแล้วโดยสิ้นเชิง

    COMET ISON'S SUPER TAIL: Comet's ISON's recent outburst of activity has done more than simply brighten the comet. Whatever exploded from the comet's core also created a spectacularly-long tail, more than 16 million kilometers from end to end. Scroll down to see the full extent of Comet ISON as photographed on Nov. 17th by Michael Jäger of Ebenwaldhöhe, Austria:

    "The tail of the comet stretches more than 7o across the sky," says Jäger. It's almost as wide as the bowl of the Big Dipper.

    Physically, ISON's tail is about 12 times wider than the sun. So, when the head of ISON plunges into the sun's atmosphere on Nov. 28th, more than 15 million kilometers of the comet's tail will still be jutting into space behind it.

    Because so much gas and dust is spewing from the comet's core, it is impossible to see clearly what caused Comet ISON's outburst on Nov. 13-14. One possibility is that fresh veins of ice are opening up in the comet's nucleus, vaporizing furiously as ISON approaches the sun. Another possibility is that the nucleus has completely fragmented.

    "If so, it will still be several days before we know for sure," says Karl Battams, an astronomer with NASA's Comet ISON Observing Campaign. "When comet nuclei fall apart, it’s not like a shrapnel-laden explosion. Instead, the chunks slowly drift apart at slightly different speeds. Given that ISON’s nucleus is shrouded in such a tremendous volume of light-scattering dust and gas right now, it will be almost impossible to determine this for at least a few days and perhaps not until the comet reaches the field of view of NASA's STEREO HI-1A instrument on November 21, 2013. We will have to wait for the chunks to drift apart a sufficient distance, assuming they don't crumble first."

    Monitoring is encouraged. Comet ISON rises in the east just before the sun. Amateur astronomers, if you have a GOTO telescope, enter these coordinates. Dates of special interest include Nov. 17th and 18th when the comet will pass the bright star Spica, making ISON extra-easy to find. Sky maps: Nov. 15, 16, 17, 18, 19.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    คงไม่ใช่แค่แมวส่ายหางแล้วล่ะ นี่มัน จิ้งจอกเก้าหาง นะเนี่ย ^_^


    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    โอ้ววววววววววววว................
     
  20. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,288
    ค่าพลัง:
    +12,620
    บร๊ะ!!!!เป็นไงเป็นกันหละคราวนี้ เทหมดหน้าตักเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...