สัปดาห์ที่16-20 นี้ระวังภัยแผ่นดินไหว

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย doramon11, 15 กรกฎาคม 2012.

  1. doramon11

    doramon11 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +84
    เนื่องด้วยผลจากพายุสุริยะที่รุนแรง kp=6
     
  2. นพณัฐ

    นพณัฐ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    587
    ค่าพลัง:
    +4,499
    ง่าย ๆ สั้น ๆ นะครับ เห็นใจคนคลิกเข้ามาอ่านจัง
     
  3. palmy--arthit

    palmy--arthit สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    22
    ค่าพลัง:
    +19
    ช่วยขยายความด้วยค่ะ,,
    ผลที่คาดว่าจะเกิดเป็นอย่างไรค่ะ
     
  4. sunny430

    sunny430 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มกราคม 2012
    โพสต์:
    1,299
    ค่าพลัง:
    +5,425
    ไหวที่ไหนอย่างไร หากไม่เกิด ผมจะได้อะไร
     
  5. gun2555

    gun2555 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    701
    ค่าพลัง:
    +1,205
    น่าจะบอกว่า ระหว่างวันที่ 16-20 กรกฎาคม 2555 ระวังแผ่นดินไหว เนื่องจากพายุสุริยะที่รุนแรงในระดับ kp6
     
  6. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ปีนี้ภัยดินเยอะ ดินถล่ม ดินยุบ ดินแยก ดินไหว ถ้าจะถามว่าโซนไหน ให้ดูข้อมูลเวปกรมทรัพยากรธรณีนั่นได้ทางหนึ่ง เขาพล็อตเอาไว้เป็นจุดๆ

    อีกทางคือ ดูรูปรอยตามธรรมชาติ เช่น พื้นถนนมีรอยแตก แยกเป็นร่อง พื้นดิน พื้นปูนยุบตัว รึดันตัว โก่งตัว บ้านทรุด กำแพงร้าว ตลิ่งสไลด์ นี่จะบอกเหตุล่วงหน้า อาการดินยุบ ดินทรุด ดินไหล ดินเลื่อน

    ส่วนดินไหว ก็ดูพวกอึ่งอ่าง คางคก งู ตะขาบ อะไรที่อยู่ใต้ดิน จะขึ้นมาเหนือผิวดินกันเยอะแยะ

    [​IMG]
     
  7. chan2

    chan2 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2008
    โพสต์:
    99
    ค่าพลัง:
    +23
    สัปดาห์นี้ สัปดาห์ที่ 29 แล้วอะ
     
  8. Spammer

    Spammer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    976
    ค่าพลัง:
    +3,498
    K7 ความเสี่ยงยัง 40:60 แค่เฝ้าระวัง
    ถ้าถึง K8 ความเสี่ยง 50:50 ก็เตรียมกันงบไว้จับจ่ายข้าวของจำเป็นกันได้เลย
    K9 shop กระหน่ำ!!
     
  9. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เมฆสีรุ้ง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=middle align=left>(ศุภฤกษ์ คฤหานนท์</TD><TD class=date vAlign=middle align=left>16 กรกฎาคม 2555) </TD><TD vAlign=middle align=left>






    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9550000087029



    </TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD vAlign=top width=700 align=center>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    เมฆสีรุ้ง ณ สนามบินสุวรรณภูมิ (ภาพโดย : ทัศนัย สุขขีวรรณ : Fuji FinePix S6500fd / F8 / 1/1250 วินาที / ISO 200 / -2/3 stop)


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>สำหรับช่วงนี้ถือว่าเป็นช่วง โลว์ซีซัน (LOW SEASON) ของการถ่ายภาพดาว ซึ่งประเทศไทยนั้น ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคมจะเป็นช่วงที่มีฝนตกมากที่สุดในรอบปี ถ้าอย่างนั้นวันนี้เรามาถ่ายภาพท้องฟ้ากันดีกว่าครับ

    หากเราลองสังเกตท้องฟ้าในช่วงฤดูฝนบ่อยครั้ง เราจะมีโอกาสได้เห็นปรากฏการณ์ต่างๆ ในบรรยากาศได้มากมาย เช่น ช่วงหลังฝนตกในช่วงที่มีแสงอาทิตย์ มักจะเกิดรุ้งกินน้ำในทิศตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ทรงกลดเกิดในช่วงเวลากลางวัน



    แต่ยังมีอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งเช่นกัน ก็คือ เมฆสีรุ้ง (Rainbow Clounds) หากลองสังเกตท้องฟ้าบ่อยๆ ก็ไม่ใช้เรื่องยากที่จะมีโอกาสได้เห็นเมฆสีรุ้ง ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่ตื่นเต้นและน่าถ่ายภาพอีกปรากฏการณ์หนึ่ง



    เอาหล่ะครับ เรามาทำความเข้าใจกันก่อนว่า เมฆสีรุ้ง (Rainbow Clounds) ที่ใครๆเรียกกันจริงๆแล้วมันคืออะไร


    เมฆสีรุ้ง (Rainbow Clounds) ภาษาทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า Irisation (คำว่า irisation น่าจะมาจากคำว่า Iris ซึ่งในภาษากรีกคือ เทพธิดาแห่งรุ้ง) เป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากการที่แสงอาทิตย์สีขาวตกกระทบเม็ดน้ำขนาดต่างๆ ในเมฆจางๆ



    ซึ่งเป็นเมฆที่มีจำนวนหยดน้ำไม่หนาแน่นมากนัก เมื่อแสงตกกระทบหยดน้ำแต่ละหยด จะเกิดการหักเหเปลี่ยนทิศทางไปจากแนวเดิม แต่เนื่องจากแสงสีต่างๆ (ที่ประกอบขึ้นเป็นแสงสีขาว) หักเหได้ไม่เท่ากัน ผลก็คือ แสงสีขาวแตกออกเป็นสีรุ้ง



    และเนื่องจากในเมฆจางๆ ที่ว่านี้มีเม็ดน้ำขนาดต่างๆ กัน ทำให้สีรุ้งสีหนึ่ง (เช่น สีเขียว) ที่หักเหออกจากเม็ดน้ำขนาดหนึ่งๆ ซ้อนทับกับสีรุ้งอีกสีหนึ่ง (เช่น สีเหลือง) ที่มาจากเม็ดน้ำอีกขนาดหนึ่ง จึงทำให้มองเห็นสีรุ้งมีลักษณะเหลือบซ้อนทับกันอย่างสลับซับซ้อน บางทีก็ซ้อนกันเป็นชั้นๆ



    จากประสบการณ์ของผมแล้ว เวลาที่สังเกตเห็นบ่อยๆ จะเป็นช่วงเวลาเย็นที่ดวงอาทิตย์กำลังลับขอบฟ้า แต่ช่วงเวลาอื่นก็เห็นเช่นกันครับแต่ไม่บ่อยเท่าช่วงเย็นครับ



    หรือหากสนใจจริงๆ ขอแนะนำหนังสือชื่อ คู่มือเมฆ & ปรากฏการณ์ท้องฟ้า Cloud Guidebook ของ ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ หนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องปรากฏการณ์ทางแสงบนท้องฟ้าไว้มากเลยทีเดียว หรือ เข้าไปอ่าน

    ตามลิงค์ครับ http://cloudloverclub.com/pages/first-page/ ซึ่งจะมีข้อมูลปรากฏการณ์ในบรรยากาศโลกมากมายครับ





    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD vAlign=top width=700 align=center>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    เมฆสีรุ้งที่มีลักษณะเหลือบซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ (ภาพโดย : ปิยพงศ์ สายแปง : Canon 50D / F16 / 1/160 วินาที / ISO 200)


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>ปรากฏการณ์เมฆสีรุ้ง เกิดจาก เมฆฝนฟ้าคะนอง Thunder Cloud ขนาดใหญ่ หรือที่นักอุตุนิยมวิทยาเรียกว่า Cumulonimbus ซึ่งปกติแล้วจะมีความสูงอยู่ในช่วง 7-10 กม. และอาจสูงสุดได้ถึง 23 กม. ดังนั้นหากเราสังเกตเห็นเมฆ โดยเมฆสีรุ้ง ที่อาจจะเกิดจะอยู่ด้านเดียวกับดวงอาทิตย ลองหมั่นสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเมฆบ่อยๆ ซึ่งอาจเกิดปรากฏการณ์เมฆสีรุ้ง




    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD vAlign=top width=700 align=center>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    เมฆสีรุ้งที่มีลักษณะซ้อนทับกันเป็นชั้นๆ ของเมฆ Cumulonimbus ก่อนเกิดฝนตกในช่วงเย็นทิศตะวันตก ซึ่งเป็นทิศเดียวกับดวงอาทิตย์ (ภาพโดย : ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ : Canon 5D Mark2 / F8 / 1/1250 วินาที / ISO 200 / -2/3 stop)


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD vAlign=top width=700 align=center>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    เมฆสีรุ้งของเมฆ Cumulonimbus ซึ่งด้านหลังกท้อนเมฆนั่นคือดวงอาทิตย์ (ภาพโดย : ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ : Canon 5D Mark2 / F8 / 1/1250 วินาที / ISO 200 / -2/3 stop)


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>




    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD vAlign=top width=700 align=center>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>

    ชื่อภาพ “เมฆภูเขาสีรุ้ง” (ภาพโดย : เอกราช รอดจากทุกข์ : Nikon D5000 / F11 / 1/1600 วินาที / ISO 200)




    [​IMG]



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=700><TBODY><TR><TD vAlign=top width=700 align=center>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>เมฆสีรุ้ง ณ สนามบินสุวรรณภูมิ (ภาพโดย : ทัศนัย สุขขีวรรณ : Fuji FinePix S6500fd / F8 / 1/1250 วินาที / ISO 200 / -2/3 stop)


    เมฆสีรุ้งนี่ คนละอย่างกับเมฆแผ่นดินไหว อันนี้ว่าตามข้อมูลของ http://www.dmr.go.th/main.php?filename=precursory ซึ่งบอกไว้ว่า
    <TABLE class=text_normal border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="93%" align=center><TBODY><TR><TD>

    ท้องฟ้าก็บอกเหตุแผ่นดินไหว


    ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวชาวญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยเชื่อว่า ท้องฟ้าก็บอกเหตุแผ่นดินไหว โดยก่อนแผ่นดินไหวรุนแรง ท้องฟ้าจะมี ปรากฏการณ์ที่ผิดปกติ เช่น มีเมฆรูปร่างประหลาด เกิดประกายแสง มีรุ้งกินน้ำ เป็นต้น แต่ที่พบบ่อยที่สุดคือมี "เมฆแผ่นดินไหว" (Earthquake Clouds)


    โมเดลของการเกิดเมฆแผ่นดินไหว

    หลักการของการเกิด "เมฆแผ่นดินไหว" นั้น Zhonghao Shou (Earthquake Prediction Center, New York, USA) อธิบายไว้ว่า ในบริเวณที่มีแนวรอยเลื่อนมีพลัง เมื่อหินถูกแรงเค้นจากภายนอกเข้ากระทำ ทำให้หินบริเวณนั้นแตกร้าวบางส่วน เป็นรอยเลื่อนในชั้นหิน และเกิดแผ่นดินไหวขนาดเล็กทันที (ก่อนแผ่นดินไหวใหญ่จะตามมา)

    แอ่งน้ำร้อนที่สะสมตัวใต้ดิน/หิน (Hydrothermal) จะกลายเป็นไอที่มีอุณหภูมิร้อน และความดันสูง ไหลพุ่งขึ้นมาตามรอยเลื่อนนี้ ระเหยขึ้นสู่ท้องฟ้าเบื้องบน ขณะที่บรรยากาศโดยรอบมีอุณหภูมิเย็น จะก่อให้เกิด เมฆแผ่นดินไหว ปรากฏเหนือและ ขนานยาวตามแนวรอยเลื่อนนั้นๆ

    </TD></TR><TR><TD align=center><TABLE class=text_normal border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%"><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>รูป 1 (08/01/2537 NW)
    </TD><TD>รูป 2 (13/02/2537 NE)
    </TD><TD>รูป 3 (31/08/2537 NW)
    </TD></TR><TR><TD></TD><TD></TD><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>รูป 4(18/10/2537 NE)
    </TD><TD>รูป 5 (15/11/2537 NW)
    </TD><TD>รูป 6 (22/07/2539 NE)

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD align=center>ภาพถ่ายลักษณะต่างๆ ของเมฆแผ่นดินไหว ที่ไม่สามารถอธิบายด้วยวิชาอุตุนิยมวิทยา ถูกบันทึกภาพโดย Zhonghao Shou ในพื้นที่ของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ใต้รูปภาพบอก วัน/เดือน/ปี พ.ศ. ที่ถ่ายภาพ และทิศทางที่มอง)

    รูป 1 เมฆรูปเส้นตรง (Line-shaped cloud) พบบริเวณเมือง Pasadena ในวันที่ 8 มกราคม 2537 ที่เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 6.7 ริกเตอร์ ของวันที่ 17 มกราคม 2537 (Northridge earthquake, ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 34.21N, 118.53W)

    รูป 2 เมฆรูปคลื่น (Wave-shaped cloud) ที่บันทึกภาพได้วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.3 ริกเตอร์ ของวันที่ 20 มีนาคม 2537 (Northridge earthquake)

    รูป 3 เมฆรูปเส้นตรง ที่ถูกถ่ายภาพไว้ได้วันที่ 31 สิงหาคม 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ของวันที่ 1 กันยายน 2537 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 40.40N, 125.68W)

    รูป 4 เมฆรูปขนนก (Feather-shaped cloud) ปรากฏขึ้นบนท้องฟ้าในวันที่ 18 ตุลาคม 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร์ ของวันที่ 27 ตุลาคม 2537 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลของรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 43.51N, 127.42W)

    รูป 5 เมฆรูปตะเกียง (Lantern-shaped cloud) ถูกบันทึกภาพได้เหนือท้องฟ้าเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2537 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.8 ริกเตอร์ ของวันทื่ 19 กุมภาพันธ์ 2538 บริเวณนอกชายฝั่งทะเลตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 40.55N, 125.53W)

    รูป 6 เมฆรูปรัศมี (Radiation-pattern-shape cloud) ที่ถูกถ่ายภาพไว้ได้วันที่ 22 กรกฎาคม 2539 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 4.4 ริกเตอร์ ของวันที่ 14 สิงหาคม 2539 บริเวณเมือง Joshua Tree (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว 34.59N, 116.28W)

    </TD></TR><TR><TD align=center>
    </TD></TR><TR><TD align=center><TABLE style="WIDTH: 100%; BORDER-COLLAPSE: collapse" class=text_normal><TBODY><TR><TD>[​IMG]
    </TD><TD>[​IMG]

    </TD></TR><TR><TD>ภาพดาวเทียมของ University College London ได้บันทึกไว้เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2541 เวลา 7:32 ปรากฏ เมฆแผ่นดินไหวรูปตะแกรง เหนือ ประเทศอัฟกานิสถาน ก่อนเกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2541 </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    บทความ ลางสังหรณ์ 10 วัน ของจีน ก่อนแผ่นดินไหว

    http://atcloud.com/stories/30113

    รู้ไว้ใช่ว่านะครับ ถึงแม้บ้านเราไม่ค่อยมีแผ่นดินไหวก็ตามแต่อาจจะมีสักวันนึงล่ะน่า
    ใครกำลังรู้สึกเหมือนฉันไหมว่า ความรุนแรงและมหันตภัยไร้ระเบียบ กำลังรอถล่มเราอยู่?


    ไม่รู้จะพูดเกินเหตุไปไหมนะ ไม่ถึงกับหวาดผวา แต่ว่าหวั่นนิดๆ หลังจากเกิดพายุนาร์กิสถล่ม แผ่นดินไหวที่จีน น้ำท่วมต่อมา แผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่น แล้วตอนนี้ยังมีพายุที่ฟิลิปปินส์อีก เชื่อว่าตัวเลขผู้เสียชีวิต 87,000 คนและสูญหายอีก 5 ล้านคนจากแผ่นดินไหวที่จีน ยังเป็นเรื่องที่ช็อกเราอยู่ จนน่าตั้งคำถามว่า ก่อนเกิดเหตุแผ่นดินไหวนั้น มีอะไรเตือนล่วงหน้ากันบ้างไหม ?

    ว่ากันว่า ลางสังหรณ์ หรือ Omen ก่อนหน้าเหตุการณ์นั้น เป็นสิ่งที่ใครหลายๆ คนที่จีน ใช้เป็นข้อเสนอให้มีการหยุดงานเพื่อเตรียมรับมือกับธรณีพิบัติ แต่มันก็เป็นแค่ ลางสังหรณ์ ไม่มีอะไรยืนยัน คำขอนั้นก็เลยถูกปฏิเสธไปเสีย

    เลยจะมาชวนกันดูและสังเกตถึง 10 วันก่อนที่จีนจะพังพินาศกันดีกว่า ว่ามีอะไรกันบ้าง เผื่อจะนำมาเป็นแนวทางการสังเกตในบ้านเราบ้าง


    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    1. หนองน้ำประหลาด

    ก่อนหน้าเกิดเหตุแผ่นดินไหว 2 สัปดาห์ หรือ 14 วันในเขต Enshi ห่างจากเมือง Wuhan ประมาณ 400 โล ชาวบ้านรายงานไปยังหนังสือพิมพ์ว่า อยู่ๆ วันหนึ่ง ตื่นมาตอนเช้าก็พบหนองน้ำประหลาด ไม่รู้ใครมาขุดตั้งแต่เมื่อไหร่

    เพียงแต่ช่วงบ่ายๆ ก่อนหน้าวันนั้น ชาวบ้านได้ยินเสียงครืนๆ แปลกๆ อยู่รอบๆ หมู่บ้าน สัก 4 ชั่วโมงได้ แต่ก็ไม่ได้คิดอะไร จนกระทั่งมาเจอบ่อที่ค่อยๆ มีน้ำผุดขึ้นมาเรื่อยๆ และจุได้ถึง 80,000 ตันเลยทีเดียว

    เมื่อถ่ายรูปหนองน้ำที่ยังแห้งผากลงข่าวในหนังสือพิมพ์เรียบร้อยแล้ว ไม่กี่วันถัดมา นักวิจัยที่กลับมาสำรวจก็ต้องอึ้งเมื่อพบว่าน้ำเต็มบ่อ แถมยังมีปลาตัวใหญ่เบ้อเร่อให้ชาวนาได้จับไว้กินอีกด้วย

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    ปลาขนาดใหญ่ที่ชาวนาจับได้จากหนองน้ำ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    2. สัตว์ใต้ดินเคลื่อนทัพ

    หลายวันก่อนแผ่นดินไหว บริเวณที่ห่างจากจุดเกิดเหตุประมาณ 60 ไมล์ มีคนตื่นตะลึงกับจำนวนผีเสื้อนับล้านตัว ที่พากันบินว่อน เกาะกลุ่มเคลื่อนทัพราวกับว่าจะย้ายที่อยู่อาศัยไปไหนก็ไม่รู้

    หลายวันถัดมา คือ วันที่ 9 พฤษภาคม 2551 ก่อนหน้าเกิดเหตุ 4 วัน ในมลฑล Jiangsu ก็พบฝูงกบนับพัน พากันออกจากทุ่งนามาข้ามถนนอย่างไม่กลัวตาย ในข่าวบอกว่าหลังจากบันทึกภาพไว้แล้ว พวกมันก็โดนรถทับเละ

    ไม่รู้ว่ามีกี่ตัวที่อพยพได้สำเร็จ จากรูป คือกบนับหมื่นตัว พากันข้ามถนนในจีน ในวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 ก่อนเกิดแผ่นดินไหว 2 วัน

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    ภาพหมีแพนด้า ที่ถูกบันทึกว่า มีท่าทีเศร้าสร้อยและไม่ยอมกินไผ่อาหารโปรด

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    4. เมฆแผ่นดินไหว

    เรื่องเมฆแผ่นดินไหว ตามทฤษฎีของ Zhonghao Shou นักเคมีชาวจีน ที่ศึกษามานานมาก จนยืนยันว่า 70% ของก้อนเมฆที่ถ่ายรูปไว้ มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นตามมา ในเหตุการณ์นี้ก็เหมือนกัน มีนักถ่ายภาพคนหนึ่งถ่ายรูปเมฆเอาไว้เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 ก็คือ 2 วันก่อนแผ่นดินไหว ในบริเวณ Linyi มณฑฉาตง

    จากนั้นเขาเอาภาพเหล่านี้ไปแปะไว้ในเวบไซต์ http://www.daqi.com และวิเคราะห์กันว่า เมฆประเภทคลื่นนี้ เป็นเมฆแผ่นดินไหวที่ชัดเจนที่สุดภาพหนึ่งทีเดียว มันมีลักษณะการเรียงตัวเป็นคลื่นและมีเส้นแสงบนเมฆแปลกๆ ดังภาพ

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    ภาพจากวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 เมือง Linyi มณฑลฉานตง เวลา 19.27 น.

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    ภาพจากวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 เมือง Linyi มณฑลฉานตง เวลา 19.27 น.

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    ภาพจากวันที่ 9 พฤษภาคม 2551 เมือง Linyi มณฑลฉานตง เวลา 19.27 น.

    [​IMG]
    <TABLE><TBODY><TR><TD>
    นอกจากนี้ ยังมีปรากฏการณ์แสงรุ้งบนก้อนเมฆ หรือ “เมฆเรืองแสง” ที่มณฑลชานซี ที่ฮือฮาในข่าวอยู่หลายวัน ซึ่งปรากฏอยู่บนท้องฟ้า 30 นาทีถึง 10 นาทีก่อนเกิดเหตุ

    ตอนนี้ 200 กว่าเวบไซต์ มีการพูดคุยเรื่องลางสังหรณ์เหล่านี้ ทั้งอย่างวิเคราะห์ และบางคนเชื่อว่า นี่คือลางบอกเหตุที่ชัดเจนมากๆ

    และบอกด้วยว่า ในช่วงหลายวันก่อนเกิดเหตุนั้น นาย Li Shihui นักวิทยาศาสตร์ของจีน ได้ทำนายและตั้งข้อสังเกตเหล่านี้ในเวบบล็อกของเขาว่า น่าจะเกิดเหตุแผ่นดินไหวในสเกลที่ใหญ่ว่า 7.0 ริกเตอร์ เป็นแน่แท้

    จึงมีการเตือนให้รับมือครั้งใหญ่ แต่ทว่าในช่วงเวลานั้น ไม่มีใครสนใจมากนัก พูดง่ายๆ ก็คือไม่มีใครเชื่อนั่นเอง
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    เมฆแผ่นดินไหว

    Posted on January 4, 2011 by ThaiQuake

    [​IMG]

    <!-- .entry-meta -->ตั้งแต่ปี 2537 Zhonghao Shou นักเคมีที่เกษียณแล้วอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกา ได้ทำนายแผ่นดินไหวนับพันครั้งโดยอาศัยรูปแบบของเมฆจากภาพถ่ายทางดาวเทียม โดยมีความถูกต้องถึง 70%

    หน่วยงานรับผิดชอบเรื่องแผ่นดินไหวของสหรัฐ USGS ทำการสุ่มตรวจสอบการทำนาย 50 ตัวอย่าง พบว่าการทำนาย 34 ครั้ง (68%) ถูกต้องทั้งเวลา ตำแหน่ง และความแรง ส่วนอีก 16 ครั้ง ที่ทำนายไม่ถูก

    พบว่ามีความผิดพลาดในข้อมูลจากดาวเทียม ข้อมูลเกี่ยวกับแผ่นดินไหว หรือประสบการณ์ของ Shou เองซึ่งเพิ่งค้นพบข้อสังเกตนี้ — ด้วย Monte Carlo Simulation มีโอกาสทายถูกอย่างนี้ 1/5000 แต่ถ้าเป็น Brelsford-Jones Score Method จะมีโอกาสทายถูกอย่างนี้เพียง 1/16000

    ในวันที่ 25 ธ.ค. 2547 หนึ่งวันก่อนแผ่นดินไหวใหญ่ที่เมือง Bam ในอิหร่าน Shou ทำนายแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่า M5.5 เหนือรอยแยกที่พาดผ่านอิหร่าน ภายในระยะ 60 วันจากคำทำนาย Shou สังเกตเห็นเมฆแผ่นดินไหวเหนือรอยแยกเป็นเวลา 24 ชั่วโมงติดต่อกัน

    ทั้งนักธรณีวิทยา และนักอุตุนิยมวิทยา ไม่สามารถอธิบายการเกิดเมฆแบบนี้ได้; เช้ามืดวันรุ่งขึ้นหลังจากที่เขาทำนาย เกิดแผ่นดินไหวรุนแรงขนาด M6.8 ตรงตามคำทำนาย มีคนเสียชีวิตกว่า 26000 คน

    [​IMG]

    <BIG>ขงเบ้งพยากรณ์ฟ้าดิน?</BIG>

    Shou ตีพิมพ์ทฤษฎี Earthquake Vapor ในปี 2542 และปรับปรุงต่อในปี 2548 และ 2549 ซึ่งอธิบายอย่างง่ายๆ ได้ว่า
    เมื่อรอยเลื่อนขบอัดกัน เกิดความเค้นในแผ่นดิน (หิน) ส่วนที่เปราะบางที่สุดแตกก่อน เมื่อแตกแล้วเกิดเป็นร่อง แม้จะเป็นร่องเล็กๆ น้ำใต้ดินก็จะไหลลงไปตามร่อง ลงไปสู่แหล่งความร้อนใต้พิภพกลายเป็นไอ

    บวกกับความเสียดทานจากการที่แผ่นดินเบียดกัน สร้างความร้อนขึ้น จนทำให้น้ำจึงระเหยเป็นไอ ไอน้ำที่ยังอยู่ในรอยแตกยิ่งเพิ่มแรงเค้นในรอยแยก แล้วไอน้ำย้อนกลับออกมาตามรอยแตกขึ้นสู่ผิวดิน

    เมื่อขึ้นสู่บรรยากาศ ก็ลอยขึ้นสูงกระทบกับความเย็นข้างบน กลายเป็นเมฆแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นอาการที่สังเกตเห็นได้สำหรับแผ่นดินไหวแบบนี้
    แผ่นดินไหวในลักษณะนี้ สามารถทำนายได้สามอย่าง

    จุดกำเนิดเมฆแผ่นดินไหว ปลายที่อยู่นิ่ง คือจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
    ยิ่งมีไอน้ำกลายเป็นเมฆก้อนโต แผ่นดินไหวก็จะยิ่งแรง ปริมาณไอน้ำ สัมพันธ์กับความเค้นในรอยแยก

    จากสถิติการเกิดแผ่นดินไหวและภาพถ่ายดาวเทียม 500 เหตุการณ์ พบว่าระยะที่นานที่สุด ที่เกิดแผ่นดินไหวนับจากที่สังเกตเห็นเมฆเป็นครั้งแรก คือ 112 วัน โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 30 วัน

    [​IMG]
    Wikipedia — มีความพยายามจะย้ายไปอยู่ในส่วนความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

    Cloud anomaly before Iran earthquake – International Journal of Remote Sensing

    ภาพเมฆแผ่นดินไหว ก่อนแผ่นดินไหว M7.8 ที่เสฉวน

    ข้อมูลย้อนหลังของการทำนายของ Shou (มีทั้งผิดและถูก แต่มีภาพถ่ายจากดาวเทียมให้คลิกดูทุกอัน)

    ภาพถ่ายเมฆแผ่นดินไหวที่เมือง Bam ในสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน เป็นคำทำนายที่ถูกต้องจน UN ตีพิมพ์ในหนังสือประจำปี SEMINARS of the United Nations Programme on Space Applications 16, 39-63 (2005)

    ภาพอินฟราเรดเมือง Bam สังเกตจุดแดง ใกล้ศูนย์กลางแผ่นดินไหว แถวๆ 30°N 60°E มีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นที่รอบๆ

    Bam Earthquake Prediction & Space Technology No.16 SEMINARS of the UN (เอกสารทางวิชาการ)

    Bam Earthquake Prediction & Space Technology Introduction เหมือนอันข้างบน แต่ Figure 3 ขัดกว่ามาก แสดงการก่อตัวของเมฆแผ่นดินไหว

    EARTHQUAKE SIGNALS เว็บไซต์ของ Shou

    ขอบคุณ ดร.วรภัทร์ ภูเจริญ ที่นำเรื่องนี้ มาเล่าครับ

    [​IMG]

    บทความโดย @superconductor ลานซักล้าง :

    http://lanpanya.com/wash/archives/676

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  12. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    เรื่องภัยธรรมชาตินี่ ตระหนักได้น่ะดี แต่ไม่ต้องตระหนก เพราะจิตมันจะตก จนชีวิตเต็มไปด้วยความวิตกกังวล หาความสุขไม่ได้ เอาหลักไตรลักษณ์มาพิจารณาให้เยอะๆ

    [​IMG]

    [​IMG]
     
  13. llilliilliiill

    llilliilliiill เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    589
    ค่าพลัง:
    +2,741
    สัปดาห์ที่ 16-20 นี่ผ่านมาแล้วครับ

    ส่วนวันที่ 16-20 นี่ เป็นวันหายนะของ Dream Box ครับ
    ถ้าไม่แม่น ขอให้ถูกหวยกันทุกคน
     
  14. doramon11

    doramon11 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +84
    พายุสุริยะมีผลต่อเนื่องมาหลายวัน ต้องคอยเฝ้าระวังเหตุการณ์ เตรียมไว้เพื่อความปลอดภัย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Kp61.gif
      Kp61.gif
      ขนาดไฟล์:
      10.6 KB
      เปิดดู:
      85
  15. llilliilliiill

    llilliilliiill เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    589
    ค่าพลัง:
    +2,741
    เตรียมอะไร และเตรียมยังไงครับ ท่าน จขกท. ?
     
  16. A-KiT

    A-KiT เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    174
    ค่าพลัง:
    +610
    แถวๆ แคลาย
    [​IMG]
    ภาพโดย นายอั๋น 40up
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2012
  17. leia17

    leia17 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    331
    ค่าพลัง:
    +1,368
    ระวัง .. ไม่ใช่ระแวง
    รอยเลื่อนสะแกง เริ่มถูกกระตุ้นบ่อย ช่วงหลังๆนี่

    2012-07-17 06:15:48 THA
    ศูนย์กลาง: พรมแดน ประเทศพม่า-อินเดีย
    Lat: 26.76 , Long: 95.52
    ขนาด: 4.3

    2012-07-17 06:16:13 THA
    ศูนย์กลาง: Myanmar
    Lat: 25.50 , Long: 96.48
    ขนาด : 4.5 , ลึก: 44 กม.

    2012-07-17 05:22:25 THA
    ศูนย์กลาง: แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว
    Lat: 20.69 , Long: 100.42
    ขนาด: 3.5

    2012-07-17 04:15:17 THA
    ศูนย์กลาง: ประเทศพม่า
    Lat: 18.11 , Long: 96.47
    ขนาด: 2.8

    2012-07-17 02:06:31 THA
    ศูนย์กลาง: ประเทศพม่า
    Lat: 20.21 , Long: 98.15
    ขนาด: 2.4
     
  18. doramon11

    doramon11 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +84
    พระอาจารย์รัตน์ฯ ยนยื นวั ่าอลินิิน คอื ดาวถ่วงดุลย์ในปฏทิ นมาย ิ นั เป็นดาวทให่ี ้คุณ ตอนนี ้
    ได้โดนความว่างของดวงอาทตยิ ์กลนอย ื ู่ (จากการโคจรเข้าไปใกล้ดวงอาทตยิ ์และธาตุลบ
    ของอลินิิน ปะทะกบธาต ั ุลบของดวงอาทตยิ ์จนกลายเป็นความว่าง) แต่จะกลบมาให ั ้เห็นอกี
    ในกาลหน้า ส่วนดาวนิบริูพระอาจารย์ยงไม ั ่ให้ความสําคญในตอนน ั ี้
    ในวนทั ่ี21 ธนวาคม ั 2012 จะยงไม ั ม่ อะไรหน ี กๆั ใหเห้ ็น แตพระ ่
    อาจารยร์ตนั ฯ์ ใหช้ วงเวลาปลายป ่ ี 2012 ถงึ กมภาพ ุ นธั ์2013
    ซงตอนน ่ึ นจะม ้ั ที งแกนโลกพล ้ั กิ ภยธรรมชาต ั ขนาดใหญ ิ ๆเก ่ ดิ
    มากมาย และผคนจะล ู้ มตายก ้ นมาก ั
     
  19. llilliilliiill

    llilliilliiill เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2012
    โพสต์:
    589
    ค่าพลัง:
    +2,741
    ผมว่าตอนนี้ท่านกำลังถูกธาตุไฟจากพายุสุริยะเข้าแทรกแล้วล่ะครับ....
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ข้อมูลปัจจุบันของ C/2010 X1 ( ดาวหาง Elenin ) on 18 Jul 2012 :

    ด้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 กม ตอนนี้อยู่ห่างจากโลก 5.55 AU ( 5.55 x 93ล้านไมล์ ) เทียบกับเมื่อ 16 Oct 2011 ที่เข้ามาใกล้โลกที่สุด 22ล้านไมล์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • SNAG-0001.png
      SNAG-0001.png
      ขนาดไฟล์:
      191.4 KB
      เปิดดู:
      70
    • SNAG-0002.png
      SNAG-0002.png
      ขนาดไฟล์:
      99.8 KB
      เปิดดู:
      67

แชร์หน้านี้

Loading...