จิตพร้อม? รับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ภูภู, 6 เมษายน 2012.

  1. ่jarunee

    ่jarunee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +1,917
    สาธุโมทนาบุญคะ

    กับจิตบุญดวงที่ 27
     
  2. ่jarunee

    ่jarunee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +1,917
    [FONT=&quot]มีธรรมะมาแบ่งปันคะ อ่านเจอครั้งแรกรู้สึกว่าใช่เลย[/FONT]


    [FONT=&quot]ก็เลยปริ้นมาติดไว้ข้างโต๊ะทำงาน (5ปีก่อน)[/FONT]


    [FONT=&quot]เมื่อก่อนเวลามีปัญหา ทุกข์ใจ จิตตก ก็จะเอาไว้เตือนสติ[/FONT]


    [FONT=&quot]แต่ปัจจุบันจิตสบายแล้วคะเพราะในจิตมีพระพุทธเจ้าอยู่ด้วย[/FONT]

    [FONT=&quot]โอวาทพระอรหันต์จี้กง[/FONT]

    [FONT=&quot]1[/FONT].[FONT=&quot]ชีวิตย่อมเป็นไปตามลิขิต (ละชั่วทำดี) วอนขออะไร[/FONT]


    [FONT=&quot]2.วันนี้ไม่รู้เหตุการณ์วันพรุ่งนี้ กลุ้มเรื่องอะไร[/FONT]


    [FONT=&quot]3.ไม่เคารพพ่อแม่แต่เคารพพระพุทธองค์ เคารพทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]4.พี่น้องคือผู้ที่เกิดตามกันมา ทะเลาะกันทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]5.ลูกหลานทุกคนล้วนมีบุญตามลิขิต ห่วงใยทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]6.ชีวิตย่อมมีโอกาสประสบความสำเร็จ ร้อนใจทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]7.ชีวิตใช่จะพบเห็นรอยยิ้มกันได้ง่าย ทุกข์ใจทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]8.ผ้าขาดปะแล้วกันหนาวได้ อวดโก้ทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]9.อาหารผ่านลิ้นแล้วกลายเป็นอะไร อร่อยไปใย[/FONT]


    [FONT=&quot]10.ตายแล้วบาทเดียวก็เอาไปไม่ได้ ขี้เหนียวทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]11.ที่ดินคือสิ่งที่สืบทอดแก่คนรุ่นหลัง โกงกันทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]12.โอกาสจะได้กลายเป็นเสีย โลภมากทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]13.สิ่งศักดิ์สิทธิ์อยู่เหนือศรีษะเพียง 3 ฟุต ข่มเหงกันทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]14.ลาภยศเหมือนดอกไม้ที่บานอยู่ไม่นาน หยิ่งผยองทำไม[/FONT]


    [FONT=&quot]15.ชีวิตลำเค็ญเพราะชาติก่อนไม่บำเพ็ญ แค้นใจทำไม(บำเพ็ญไวไว)[/FONT]
     
  3. kongkiatm

    kongkiatm เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    190
    ค่าพลัง:
    +1,263
    ขอขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ

    เห็นผู้แนะนำมีความตั้งใจในการแนะนำ เราขอตุ้งใจในการปฏิบัติเช่นกัน ส่วนผลเป็นอย่างไรจะขอเล่าทีหลังครับ
     
  4. kongkiatm

    kongkiatm เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    190
    ค่าพลัง:
    +1,263
    ขอขอบคุณครับ สำหรับคำแนะนำ จะขอปฏิบัติไปเรื่อยก่อนครับ
     
  5. Plapersia

    Plapersia เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2012
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +775
    เอาธรรมะมาฝากค่ะ ฟังมาสดร้อนเลย ฮ่าๆ ดูเหมือนมันจะตรงกะที่เราปฏิบัติกันนะค่ะ
    http://palungjit.org/threads/ธรรมมหาสติปัฏฐานสูตร-อริยสัจ-1-2-หลวงพ่อฤาษีลิงดำ-วัดท่าซุง.7982/

    อันนี้แบบyoutubeค่ะ ยังไม่ได้ฟังนะคะ ความเร็วinternetที่นี่ ไม่ไหวค่ะ ฮ่าๆ

    https://www.youtube.com/watch?v=70cgMDBOa90&feature=plcp
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มิถุนายน 2012
  6. Plapersia

    Plapersia เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2012
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +775
  7. natthapatpun

    natthapatpun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,124
    ค่าพลัง:
    +25,214
    อะไรกัน นี่พี่ภูตื่นอีกแล้วเหรอ
    เพิ่งจะเข้านอนไม่ใช่รึ?

    งั้นหนูไปนอนก่อนนะ
    ราตรีสวัสดิ์

    ทุกท่านอย่าลืมนึกถึงพระก่อนหลับนะคะ
    ขอให้ฝันถึงพระกันทุกคนค่า

     
  8. savesafe

    savesafe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    33
    ค่าพลัง:
    +442
    ขอโมทนากับทุกดวงจิตที่ยกเป็นจิตบุญทุกท่านครับ..สาธุ สาธุ สาธุ
     
  9. savesafe

    savesafe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    33
    ค่าพลัง:
    +442
    มีธรรมะมาฝากครับ


    [SIZE=-1]ธรรมะหลวงพ่อเทียน
    [/SIZE]

    ทัศนคติเกี่ยวกับหลวงพ่อ

    ประสบการณ์การปฏิบัติธรรม
    และธรรมะของศิษยานุศิษย์
    จากหนังสือ ปกติ หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และสิ่งที่ฝากไว้






    ความมหัศจรรย์ในพระธรรมดา

    นายแพทย์วัฒนา สุพรหมจักร





    ถ้าท่านทั้งหลาย ได้พบกับหลวงพ่อเทียน ก็คงจะมีความเห็นคล้ายกันว่า


    ท่านเป็นหลวงตาที่มี<WBR>ความสงบและพูดน้อย เช่นเดียวกับหลวงตาที่พบเห็นทั่<WBR>ว ๆไป





    แต่ถ้าได้สังเกตตัวท่านบ้าง ก็จะรู้สึกว่า ท่ามกลางความสงบนั้น

    ท่านมีความตื่นตัว รู้ตัวเองอยู่ตลอดเวลา





    และเมื่อมีโอกาสซักถามปัญหาต่าง ๆ ก็ได้ประสบกับความมหัศจรรย์<WBR>ของหลวงตา

    ผู้ที่เกือบจะเรียกได้ว่า ไม่รู้หนังสือ ที่เน้นสอนเรื่องสติอย่างเดี<WBR>ยวมาตลอด





    ได้แสดงออกถึงปัญญาอันหลั<WBR>กแหลมโดดเด่นในการตอบปัญหา แทบจะเรียกได้ว่า"เหลือเชื่อ"

    สำหรับผู้ที่ไม่เคยผ่านการศึ<WBR>กษาเล่าเรียน ในรูปแบบที่เรายอมรับและยกย่<WBR>องกัน




    จะสามารถตอบชี้แจงด้วยคำพูดที่<WBR>ง่าย กระชับเต็มไปด้วยความหมายเข้<WBR>าใจได้ชัดเจน หมดข้อสงสัยใด ๆ ทั้งสิ้น

    ไม่ว่าจะเรียกขานท่านในชื่อใด สมญานามใดก็ตาม ไม่ใช่เรื่องสำคัญ




    แต่สิ่งที่ท่านสอนหรือตอบนั้น แม้ในคำถามพื้น ๆ ธรรมดาที่เราสงสัย ก็เต็มไปด้วยคุณค่า

    เปรียบได้ดังกับ การจุดไม้ขีดไฟให้ความสว่<WBR>างในความมืด
    ทำให้เห็นหนทาง หรือเกิดความสว่างในปัญญา
    อันเป็นประโยชน์แก่ผู้ต้<WBR>องการและแสวงหา ที่อยู่ท่ามกลางความมืด
    ความไม่รู้ ความสงสัย ความไม่เข้าใจทั้งหลาย ไม่มากก็น้อย




    คำตอบและข้อคิดเห็นต่อไปนี้ ได้จากคำถามที่ข้าพเจ้า

    และคณะแพทย์ผู้รักษา มีความสงสัยได้ถามท่านในช่<WBR>วงเวลา 5 ปีสุดท้าย




    ขอบันทึกไว้เพื่อว่า จะเป็นประโยชน์บ้าง ทั้งนี้

    ไม่ได้หวังเพื่อจะยกย่องเชิดชู หรือชักจูงให้เลื่อมใส โดยปราศจากวิจารณญาณไตร่ตรอง
    ซึ่งเป็นเอกสิทธิของแต่ละบุ<WBR>คคลที่เราพึงควรเคารพ





    1) ศาสนา

    หลวงพ่อกล่าวถึงศาสนาว่า "ศาสนาคือ คน"
    เมื่อฟังหรืออ่านแล้วก็ยังไม่<WBR>เข้าใจ จึงได้ถามท่านว่าศาสนา คือ "คน"
    จริงหรือไม่ ท่านตอบว่า




    " ศาสนาเป็นเพียงคำที่เราเรียก คำสอน คน โดย คน ที่ถือว่าเป็นผู้รู้

    มีหลายอย่าง เวลาจะให้พูดเรื่องศาสนา
    จะมีแต่ทำให้เกิดข้อสงสัยและโต้<WBR>เถียงกัน ขอไม่พูด
    แต่ถ้าอยากรู้ว่า ความจริงของชีวิตเป็นอย่างไร จะเล่าให้ฟัง
    เมื่อรู้แล้ว จะหมดสงสัยในคำว่า 'ศาสนา' "





    2) หลวงพ่อเทียน สอนแบบฉีกตำรา ?

    ข้าพเจ้าได้เรียนถามท่านว่า
    คนทั่วไปย่อมยึดถือพระไตรปิ<WBR>ฎกเป็นตำราในการศึกษาพุทธศาสนา
    แต่เวลาหลวงพ่อสอนไม่ค่อยเห็นพู<WBR>ดถึงเลย ท่านให้ความเห็นว่า




    "พระไตรปิฎกนั้นจารึกหลังพระพุ<WBR>ทธเจ้าปรินิพพานหลายร้อยปีและคั<WBR>ดลอกต่อกันมานับพันปี

    คนเขียนคงเขียนดีแล้ว แต่คนอ่านจะเข้าใจเหมือนคนเขี<WBR>ยนหรือไม่ ยังสงสัย
    ถ้าจะเอาแต่อ้างตำราก็เหมือนกั<WBR>บว่าเราต้องรับรองคำพูดของคนอื่<WBR>นซึ่งหลวงพ่อไม่แน่ใจ
    แต่สิ่งที่เล่าให้ฟังนั้นขอรั<WBR>บรองคำพูดของตั<WBR>วเองเพราะจากประสบการณ์จริง ๆ"




    "ตำราเปรียบเสมือนแผนที่ เหมาะสำหรับผู้ที่ยังไม่รู้<WBR>ทางไป หรือยังไปไม่ถึงจุดหมาย

    ผู้ที่ไปถึงแล้วแผนที่ก็<WBR>หมดความหมาย"




    "พระไตรปิฎก เขียนด้วยภาษาอินเดียเหมาะสำหรั<WBR>บคนอินเดีย หรือคนเรียนภาษาอินเดียอ่าน

    แต่ธรรมะของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่เรื่องผูกขาดของคนใดคนหนึ<WBR>่ง
    เป็นเรื่องอยู่เหนือภาษา เชื้อชาติ เพศ และเวลา
    ถ้าเรารู้ธรรมะที่แท้จริงแล้ว จะต้องรู้ และเข้าใจในภาษาของเราได้"




    "การศึกษาพระไตรปิฎกนั้นดี แต่อย่าให้ติดและเมาในตัวหนังสื<WBR>อมะม่วง มีชื่อเรียกหลายอย่างหลายภาษา


    อย่ามัวแต่ถกเถียง ตีความ หรือยึดถือว่า จะต้องเรียกอย่างไร แล้วปล่อยให้มันเน่า

    ใครที่ได้กินมะม่วง ก็ย่อมรู้ว่า รสมะม่วงเป็นอย่างนั้นเอง
    ไม่ว่าจะเรียกชื่ออะไร หรือไม่มีชื่อเลยก็ตาม"





    3) เรื่องของพระอานนท์

    ข้าพเจ้ามีความสงสัยตลอดมาว่า ทำไมพระอานนท์จึงไม่ได้เป็<WBR>นพระอรหันต์




    ทั้ง ๆ ที่ได้ยิน ได้ฟัง รู้คำสอนของพระพุทธเจ้า ยิ่งกว่าใคร ๆ หลวงพ่อตอบว่า


    "พระอานนท์รู้เรื่องพระพุทธเจ้<WBR>ามากก็จริง แต่ยังไม่รู้จักตนเอง

    เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิ<WBR>พพานแล้ว ได้เรียนรู้ตนเอง จึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์"





    4) ธรรมะไม่ใช่เสื้อผ้า

    หลวงพ่อเคยกล่าวว่า ท่านเคยมีความเข้าใจผิด




    คิดว่า ธรรมะเป็นสิ่งนอกกาย เหมือนกับเสื้อผ้าที่จะต้<WBR>องเสาะแสวงหามาห่อหุ้มสวมใส่

    แท้ที่จริงแล้ว ธรรมะนั้นมีอยู่ในตัวเรา นี่เอง





    5) จริง สมมติ

    ท่านกล่าวว่า คนมีอายุยืน มีความจำและความคิดมากกว่าสัตว์
    ครั้นอยู่กันเป็นหมู่มาก จำเป็นต้องตั้งหรือสมมติกฎเกณฑ์<WBR>ขึ้นมา
    เพื่อให้มีความสงบสุขในสังคม เมื่อเวลาผ่านไป คนรุ่นหลังย่อมหลง
    ยึดว่าสิ่งสมมตินั้นเป็นความจริ<WBR>ง เมื่อมีคนบอกว่าสิ่งที่เขาว่<WBR>าจริงนั้น
    แท้จริงแล้วมันเป็นสิ่งสมมติ คนส่วนใหญ่จะไม่ยอมเชื่อ ซึ่งก็เป็นธรรมดา
    "ที่เรียกว่าเงินนั้น ที่จริงแล้วเป็นกระดาษ
    เมื่อใช้แล้วมีคนยอมรับจึงมีค่า เวลาไม่ยอมรับก็เป็นเพียงกระดาษ
    ในสังคมปัจจุบัน เราใช้เงินเป็นตัวกลางเพื่<WBR>อแลกเปลี่ยน ชีวิตใด
    ครอบครัวใดไม่มีเงิน จะอยู่ได้ด้วยความเดือดร้อน
    เงินซื้<WBR>อความสะดวกและความพอใจได้ แต่ซื้อความหมดทุกข์ไม่ได้





    6) คนรักษาศีล หรือ ศีลรักษาคน

    ทำไมจึงต้องคอยรักษาศีล เหมือนรักษาแก้วไม่ให้มันแตก
    ทำไมเราจึงไม่ประพฤติปฏิบัติตั<WBR>วให้มีศีลเล่า
    ศีลจะได้รักษาเราแล้วจะได้ไม่ห่<WBR>วงคอยรักษาศีล





    7) การปฏิบัติธรรม

    เคยถามท่านว่<WBR>าทำไมการสอนและการปฏิบัติธรรมจึ<WBR>งมีความแตกต่างกันไปตามสำนักต่<WBR>าง
    ๆ ทั้ง ๆ ที่มีพระพุทธเจ้าองค์เดียวกัน ท่านตอบว่าเรื่องนี้เป็นธรรมดา
    แม้ในสมัยพุทธกาลก็มีคนกล่าวว่<WBR>ามีตั้ง 108 สำนัก
    แต่ละแห่งก็ต้องว่าของตัวถูกต้<WBR>อง อีก 107 แห่งเป็นมิจฉาทิฐิ
    ตัวเราเองจะต้องเป็นคนไตร่<WBR>ตรองพิจารณาเอง การที่เป็นคนเชื่อง่าย
    หรือเป็นคนเชื่อยากไม่ฟังคนอื่น ต่างก็ไม่ดีทั้งนั้น
    ถ้าการปฏิบัติดังกล่าวทำให้ทุ<WBR>กข์หมดไป ถือว่าได้ สำหรับเรื่องธรรมะนั้น
    คนที่รู้ธรรมะที่แท้จริงจะต้<WBR>องรู้อย่างเดียวกัน"
    เมื่อมีคนถามถึงการปฏิบัติ<WBR>ธรรมะในรูปแบบอื่น ๆ ว่าดีหรือไม่ท่านกล่าวว่า
    "ดีของเขา ไม่ใช่ดีของเรา"





    8) ทำดี ทำชั่ว

    เคยถามท่านว่า มีคนสงสัย ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว จริงหรือไม่ ท่านให้ความเห็นว่า
    "ดีชั่วเป็นเรื่องของสังคมกำหนด ดีในที่หนึ่ง อาจจะเป็นชั่วอีกที่หนึ่ง
    เราควรจะพูดให้เข้าใจใหม่ว่า ทำดีมันดี ทำชั่วมันชั่ว"





    9) การศึกษาธรรมะ

    ท่านเคยกล่าวถึงการศึกษาธรรมะว่<WBR>า"การศึกษาธรรมะเพียงเพื่<WBR>อเอาไว้พูดคุย
    ถกเถียงกันนั้น ได้ประโยชน์น้อย เราต้องนำมาใช้และปฏิบัติให้ถึ<WBR>งที่สุด
    จะได้ประโยชน์มากกว่า"





    10) เรื่องของพระพุทธเจ้า

    เคยมีการกล่าวถึงปั<WBR>ญหาพระบรมสารีริกธาตุ
    ว่าเป็นแก้วผลึกหรือเป็นเพี<WBR>ยงกระดูกที่ไฟเผา เมื่อได้ขอความเห็น
    ท่านกลับตอบว่า
    เรื่องของพระพุทธเจ้าไม่ใช่เรื่<WBR>องของเรา
    เรื่องของเราไม่ใช่เรื่<WBR>องของพระพุทธเจ้า
    แต่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เรารู้<WBR>จักเรื่องของเรา
    เมื่อรู้เรื่องตัวเองดีแล้ว ถึงพระพุทธเจ้าจะเสด็จมาหรือไม่<WBR>ก็ไม่เป็นปัญหา"





    11) การเชื่อ

    หลวงพ่อได้กล่าวอยู่เสมอว่า
    เราไม่ควรด่วนเชื่อทันทีและไม่<WBR>ควรปฏิเสธทันทีเช่นกัน
    ควรพิจารณาไตร่ตรองให้ดีหรื<WBR>อทดลองเสียก่อน จึงจะเชื่อหรือไม่เชื่อ
    ในพุทธประวัติก็มีตัวอย่าง เช่น องคุลีมาลเป็นคนที่เชื่อง่าย
    อาจารย์สั่งให้ฆ่าคนตั้<WBR>งมากมายก็ยังทำ หรือเมื่อปริพาชกพบพระพุทธเจ้า
    ทั้ง ๆ ที่พระองค์มีลักษณะน่าเลื่อมใส
    แต่ก็ไม่เชื่อว่าพระองค์ตรัสรู้<WBR>ได้ด้วยตัวเองจึงหลีกไป
    ไม่มีโอกาสได้ศึกษาจากพระพุ<WBR>ทธเจ้า





    12) การศึกษา ทำให้คนดี ชั่วจริงหรือไม่ ?

    เคยถามว่า ทำไมผู้ที่เคยบวชเรียนมามาก
    บางคนเมื่อสึกไปแล้วกลับประพฤติ<WBR>ตัวเหลวไหลยิ่งกว่าชาวบ้านที่<WBR>ไม่เคยบวชเรียนเลย
    หลวงพ่อตอบว่า
    "คนเหล่านั้นเรียนแต่ตัวหนังสือ ไม่เคยเรียนรู้ตัวเอง"





    13) ปัญหาปลีกย่อย

    หลวงพ่อเคยเล่าให้ฟังว่า
    คนจำนวนไม่น้อยที่มาหาท่านแล้<WBR>วถามแต่ปัญหาปลีกย่อย เช่น
    ทำบุญเช่นนี้ได้บุญแค่ไหน ชาติหน้ามีจริงหรือไม่ ฯลฯ
    มีน้อยครั้งที่จะมีคนถามว่า พุทธศาสนาสอนอย่างไร จะเอาไปใช้ได้อย่างไร
    หรือ ที่จะทำให้ทุกข์น้อยลงควรทำอย่<WBR>างไร
    ครั้นจะให้หลวงพ่<WBR>อถามเองตอบเองก็ดูกระไรอยู่





    14) หนา

    ข้าพเจ้าเคยนิมนต์ท่านให้<WBR>ไปสอนผู้ที่เคารพนับถือคนหนึ่ง
    ที่ติดและเลื่อมใสในการทำบุ<WBR>ญตามประเพณีมาก
    เมื่อได้ถามท่านหลังจากที่ท่<WBR>านกลับมาแล้ว ท่านตอบว่า
    "โยมคนนี้เป็นคนหนา เราเคยอ่านพุทธประวัติหรือไม่
    เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ ก่อนที่จะไปโปรดปัญจวัคคีย์
    พระองค์ได้ระลึกถึงอุ<WBR>ทกดาบสและอาฬารดาบส
    แต่แล้วก็ทราบว่าท่านทั้งสองได้<WBR>ตายเสียแล้ว หลวงพ่อสงสัย
    ว่าพึ่งจากกันไม่นานจะตายทางร่<WBR>างกายหรือไม่นั้นยังสงสัย แต่ที่ตายแน่ ๆ
    คือ ความคิด"





    15) หลงในความคิด

    หลวงพ่อเคยกล่าวว่า คนเรานั้นคิดอยู่เสมอเหมื<WBR>อนกระแสน้ำ
    การหลงติดกับความคิดก็เหมื<WBR>อนการตักน้ำมาเก็บไว้ แต่ถ้ามีสติรู้เท่าทัน
    ความคิดนั้น ๆ ก็เหมือนกับน้ำที่ไหลมา แล้วก็ผ่านไป
    การหลงติดในความคิดทำให้เกิดทุ<WBR>กข์





    16) ทำตามใจคนอื่น

    เคยถามหลวงพ่อว่า คนเดี๋ยวนี้มีการศึกษาก็มาก
    แต่ทำไมจึงยังแก้ทุกข์ไม่ได้ ท่านตอบว่า
    "คนส่วนใหญ่ทำตามใจคนอื่น ไม่ทำตามใจตัวเองจึงเป็นเช่นนี้<WBR>"





    17) สมณศักดิ์

    เคยถามท่านว่าสมัยพระพุทธเจ้<WBR>าไม่มีสมณศักดิ์
    แต่ทำไมปัจจุบันในเมืองไทยจึงมี<WBR>มากนัก ดีหรือไม่ ท่านตอบว่า
    "สมณศักดิ์เป็นเรื่องของสังคม จะเรียกว่าดีก็ได้
    หรือไม่ดีก็ได้แต่เราอยู่ในสั<WBR>งคมของเขา"





    18) อดีต ปัจจุบัน อนาคต

    ท่านกล่าวอยู่เสมอว่า อดีตผ่านไปแล้วแก้ไขไม่ได้ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง
    มีแต่ปัจจุบันนี้ที่เรายั<WBR>งทำอะไรได้ ถ้าทำดีวันนี้
    วันนี้ก็จะเป็นอดีตที่ดีของวั<WBR>นพรุ่งนี้
    และในวันพรุ่งนี้ก็จะเป็<WBR>นอนาคตที่ดีของวันนี้ที่ทำดีแล้<WBR>ว
    จะไปห่วงอะไรกับสิ่งที่แก้ไขไม่<WBR>ได้ และสิ่งที่ยังมาไม่ถึง
    ที่แก้ทุกข์ในปัจจุบันนี้ไม่ได้





    19) พระเวสสันดร

    เคยเรียนถามว่าเรื่องพระเวสสั<WBR>นดร ซึ่งเป็นตัวอย่างทานบารมี
    แต่ดูคล้ายกับว่าเป็นคนไม่รับผิ<WBR>ดชอบต่อ บุตร ภรรยา
    การให้ทานเช่นนี้ทำให้ได้เป็<WBR>นพระพุทธเจ้าจริงหรือ ท่านตอบว่า
    เรื่องพระเวสสันดรเป็นเรื่องเล่<WBR>าต่อกันมา ถ้าเราคิดว่าจริง
    เราควรบริจาคทานภรรยาและลู<WBR>กของเราเอง ให้แก่กรรมกรหรือชาวนา
    ไปช่วยเขาทำงาน แล้วเราก็จะได้เป็นพระพุทธเจ้า
    ถ้าจะเปรียบเทียบใหม่ว่าสิ่งที่<WBR>ติดตัวเรา ผูกพันเหมือนบุตร ภรรยา ก็คือ
    ความโลภ ความโกรธและความหลง เราบริจาคหรือท่านสิ่งนี้ไปเสีย
    จะพอเข้าใจได้ไหม"





    20) อริยบุคคล

    หลวงพ่อกล่าวว่า
    "ในทางร่างกาย อริยบุคคลกับคนธรรมดานั้นไม่ต่<WBR>างกัน
    มีแต่เรื่องจิตใจเท่านั้นที่อริ<WBR>ยบุคคลดีกว่า เหนือกว่าบุคคลธรรมดา"





    21) บุญ

    เมื่อข้าพเจ้าถามท่านว่า "ทำบุญได้บุญจริงหรือ"
    ท่านได้ถามว่า "เข้าใจว่าบุญเป็นอย่างไร"
    เมื่อเรียนให้ท่านทราบว่า บุญนั้นเข้าใจว่าเป็นผลดี ตอบแทนเมื่อเราตายไปแล้ว
    ท่านถามว่า" เคยฟังพระสวดอานิสงส์การทอดกฐิ<WBR>นหรือไม่
    ที่ว่าจะได้ฌานและนางฟ้าเป็นบริ<WBR>วารห้าร้อยองค์ หรือพันองค์
    จงคิดดูว่าวัดในเมืองไทยมีกี่วั<WBR>ด ถ้ามีการทอดกฐินทุกวัด
    ทุกปีจะไปหานางฟ้าที่ไหนมาให้จึ<WBR>งจะพอ
    เราคิดว่าพระเป็นเสมือนพนั<WBR>กงานธนาคาร ที่คอยคิดดอกเบี้ยให้
    เวลาเราตายอย่างนั้นหรือ"
    ข้าพเจ้าได้ถามท่านต่อว่า"
    ถ้าเช่นนั้นการทำบุญด้วยวัตถุ<WBR>อย่างที่เป็นอยู่ทั่วไปนั้น
    ท่านเห็นเป็นอย่างไร"
    ท่านตอบว่า
    "การทำบุญด้วยวัตถุก็เป็นสิ่งที<WBR>่ดี แต่เป็นเพียงข้าวเปลือก เอาไว้ทำพันธ์
    เวลาเราจะกินให้ได้ประโยชน์ ต้องกินข้าวหุงหรือข้าวนึ่งสุก
    ไม่ใช่ข้าวสารหรือข้าวเปลือก
    การหลงติดอยู่กับการทำบุญด้วยวั<WBR>ตถุอย่างงมงาย
    เป็นความหลงที่อยู่ในความมืด ที่เป็นสีขาว"บุญเหนือบุญก็คือ
    การรู้จักตัวเอง ไม่มีทุกข์นี้แหละ





    22) บังสุกุล

    เคยถามท่านว่า" เวลาเราบังสุกุลให้ผู้ตาย เขาได้หรือไม่ ท่านตอบ ว่า
    "การบังสุกุลเป็นเพียงประเพณีที<WBR>่คนอยู่ทำขึ้น
    เนื่องจากยังห่วงใยในคนที่<WBR>ตายไปแล้ว ที่ว่าคนตายจะได้หรือไม่ ยังสงสัย
    แต่ผู้ที่ได้แน่ ๆ คือพระ เราคิดว่าพระทำหน้าที่แทนบุรุ<WBR>ษไปรษณีย์ได้หรือ ?"





    23) นักศึกษา

    หลวงพ่อเคยเปรียบเทียบว่า คนที่ได้รับการศึกษานั้นมี 2 จำพวก
    พวกแรก เป็นผู้ที่รู้แจ้ง หรือรู้จริง เป็นบัณฑิต พูดแล้ว เข้าใจได้เลย
    อีกพวกหนึ่ง เป็นเพียงผู้รู้จักและรู้จำ ซึ่งเวลาพูดจะพูดมาก
    คำพูดอ้อมค้อมฟุ่มเฟือย หรือไม่ก็อ้างตำรามากมาย
    เพื่อชักจูงให้คนเชื่อทั้งนี้ เพราะตัวเองไม่รู้จริง





    24) แสงตะเกียง

    ในระยะหลัง ๆ ที่หลวงพ่อสุขภาพไม่ค่อยดี
    ภรรยาของข้าพเจ้าได้ปรารภกับท่<WBR>านด้วยความเป็นห่วงเรื่<WBR>องการสอนธรรมะ
    หลังจากที่ท่านจากไปแล้ว ว่าจะเป็นอย่างไรนั้น ท่านตอบว่า
    เรื่องนี้อย่าเป็นห่วงเลย
    ตราบใดที่ยังมีคนอยู่ก็จะมีคนรู<WBR>้ธรรมะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว
    เพราะธรรมะไม่ใช่เรื่องผู<WBR>กขาดเป็นของส่วนตัว ธรรมะมีมาก่อนสมัยพุทธกาล
    แต่พระพุทธเจ้าเป็นคนแรกที่<WBR>ทรงนำมาสอนและเผยแพร่
    คนที่รู้ธรรมะนั้นเปรียบได้เหมื<WBR>อนกับตะเกียงที่จุดสว่างขึ้<WBR>นในความมืด
    คนที่อยู่ใกล้จะเห็นชัด คนที่อยู่ไกลก็เห็นชัดน้อยลง
    สักพักหนึ่งตะเกียงจะดั<WBR>บไปและจะมีการจุดตะเกียงให้สว่<WBR>างขึ้นอีกเป็นครั้งคราว





    25) ลูกศิษย์หลวงพ่อ

    เมื่อได้เรียนถามท่านว่า มีลูกศิษย์ท่านใดบ้างที่คิดว่<WBR>าเป็นอย่างหลวงพ่อ
    ท่านตอบว่า
    เรื่องนี้เป็นเรื่องของจิตใจ เราหยั่งถึงจิตใจคนอื่นได้ยาก
    แต่คำพูดที่พูดออกมานั้น เราเข้าใจกัน





    26) เรียนกับใคร

    ในการเข้ารักษาตัวครั้งสุดท้<WBR>ายที่โรงพยาบาลสมิติเวช ท่านปรารภว่า
    การเจ็บป่วยคราวนี้เป็นเรื่องที<WBR>่หนัก
    ท่านเองก็ได้แต่เฝ้าดู<WBR>ลมหายใจของตนเองว่า จะหยุดเมื่อใด
    ข้าพเจ้าจึงได้ถามตรง ๆ ว่า
    เมื่อสิ้นหลวงพ่อแล้วจะแนะนำให้<WBR>ศึกษาธรรมะกับใคร จึงจะได้ผลดีที่สุด
    ท่านตอบว่าจงศึกษาธรรมะจากตั<WBR>วเอง ดูจิตใจตัวเองดีที่สุด





    27) เชือกขาดเป็นอย่างไร

    เมื่อได้อ่านประสบการณ์ของท่<WBR>านที่กล่าวว่า
    ในช่วงสุดท้ายมีความรู้สึกเหมื<WBR>อนเชือกขาดจากกันนั้น เข้าใจได้ยาก
    ท่านได้อธิบายเพิ่มเติมว่า
    "คำพูดเป็นเพียงการสมมุติว่าเสี<WBR>ยงนั้น ๆ หมายถึงอะไร
    มันไม่มีคำพูดที่จะอธิบายภาวะดั<WBR>งกล่าว
    ถ้าเราเอาสีขาวกับสีดำซึ่งห่<WBR>างกันเพียง 1 เซนติเมตร ค่อย ๆ ผสมให้กลืนกัน
    ตรงกลางเราเรียกสีเทาใช่ไหม แต่ถ้าหากสองสีนี้ห่างกัน 10 เมตร
    แล้วให้สีทั้งสองค่อย ๆ กลืนกัน จะให้อธิบายว่า จุด ๆ
    หนึ่งระหว่างนั้นเรียกว่าสีอะไร มันไม่มีคำพูดจะกล่าวให้เข้าใจ
    ต้องรู้เห็นเอง
    "เคยเห็นเมฆหน้าฝนไหม เนื่องดูคล้ายเป็นรูปเงาต่าง ๆ
    แต่ถ้าเรานั่งเครื่องบินเข้<WBR>าไปอยู่ในก้อนเมฆนั้น ๆ
    เราไม่เห็นอย่างที่เห็นก่อนเข้<WBR>ามาดอก ภาวะดังกล่าวไม่มีคำพูดที่จะอธิ<WBR>บาย
    มันอยู่เหนือตัวหนังสือ
    การประมาณคาดคะเนหรือความเข้<WBR>าใจไปเองว่าจะเป็นอย่างโน้นอย่<WBR>างนี้
    ต้องรู้เองเห็นเอง"





    28) ผู้ที่เข้าใจท่านพูด

    เคยถามท่านถึงจำนวนผู้ที่เข้<WBR>าใจหลังจากที่ได้แสดงธรรมะ
    หรืออบรมว่ามีสักเท่าใด ท่านตอบว่า
    "คงจะได้สัก 10-15% เรื่องนี้เป็นธรรมดา คนที่พร้อมจึงจะเข้าใจได้
    คนส่วนใหญ่ยังติดทางทำบุญ"





    29) พระกราบโยม

    ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า เมื่อท่านไปประเทศลาว
    ได้รับนิมนต์ไปสวดต่ออายุให้แม่<WBR>ของชาวบ้าน หลวงพ่อไม่สวด
    เขาภาพเขาจึงไม่ถวายจตุปัจจัย
    แต่หลวงพ่อได้ชี้แจงเรื่องการต่<WBR>ออายุพ่อแม่ว่า ต้องพระทำดีต่อพ่อแม่
    ไม่ใช่เพียงแต่มีการสวดมนต์แล้<WBR>วหวังจะให้พ่อแม่มีอายุยืน และได้พาลูก ๆ
    กราบพ่อแม่เป็นครั้งแรกตามท่าน
    ชาวบ้านที่อยู่ในเหตุการณ์ก็ฮื<WBR>อฮากันว่าผิดประเพณี ไม่เคยเห็นพระกราบโยม
    ซึ่งหลวงพ่อกล่าวว่า
    "ที่อาตมาพาลูกกราบแม่<WBR>ตามอาตมานั้น อาตมาไม่ได้กราบโยม
    แต่อาตมากราบตัวเอง ที่สามารถสั่งสอนคนให้เข้าใจได้<WBR>ว่า
    การต่ออายุที่แท้จริงนั้นเป็<WBR>นอย่างไร"





    30) วิปัสสนาแล้วเป็นบ้า ?

    ได้เรียนถามท่านว่า การนั่งวิปัสสนาทำให้คนเป็นบ้า
    ตามที่มีจิตแพทย์บางคนกล่าว จริงหรือ ท่านตอบว่า
    "คนที่ไม่รู้จักจิตใจตัวเองนั่<WBR>นแหละคือคนบ้า
    การนั่งวิปัสสนาเป็นการศึกษาให้<WBR>รู้จักจิตใจตัวเอง
    ถ้านั่งแล้วเป็นบ้าไม่ใช่วิปั<WBR>สสนา"





    31) นิพพาน

    ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า เคยถามโยมผู้ที่เคยอธิษฐานหลั<WBR>งการทำบุญว่า
    ขอให้อานิสงส์ การทำบุญทำให้เขาเข้าถึงนิ<WBR>พพานในอนาคตกาลด้วยนั้น ว่า
    "โยมเข้าใจว่าจะไปถึงนิพพานเมื่<WBR>อใด"
    ชาวบ้านตอบว่า" เมื่อตายไปแล้ว"
    ท่านถามต่อว่า" อยากไปถึงนิพพานจริง ๆ หรือ"
    ชาวบ้านก็ตอบว่า" อยากไปถึงจริง ๆ"
    ท่านจึงพูดว่า "ถ้าเช่นนั้นโยมควรตายเร็ว ๆ จะได้ไปถึงนิพพานไว ๆ"
    ชาวบ้านตอบด้วยความงงว่า" ยังไม่อยากตาย
    ท่านจึงชี้แจงให้ฟังวา" นิพพานก็อยากไป แต่ทำไมไม่อยากตายเร็ว นี่โยมเข้าใจผิดแล้ว
    พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้คนไปนิ<WBR>พพานเมื่อตายแล้ว แต่สอนคนเป็น ๆ
    ให้ไปถึงนิพพานขณะที่มีชีวิตอยู<WBR>่





    32) อธิษฐาน

    ข้าพเจ้าเคยถามท่านว่า ตอนพระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ
    หลังจากได้ฉันอาหารของนางสุชาดา แล้วได้ลอยถาด ปรากฏว่าลอยทวนกระแสน้ำ
    ซึ่งดูผิดธรรมชาติ ท่านมีความเห็นอย่างไร ท่านชี้แจงว่า
    "ของทุกอย่างย่อมลอยตามกระแสน้ำ
    เรื่องนี้เป็นการทวนกระแสความคิ<WBR>ดที่มีอยู่เป็นอยู่
    เวลาเราคิดย้อนกลับขึ้นไปบ้าง ก็จะรู้ความจริงว่าเป็นอย่างไร"





    33) ทุกข์

    เคยมีคนถามท่านว่า ทุกข์คืออะไร
    ท่านได้เอาของใส่มือให้กำไว้แล้<WBR>วคว่ำมือลงและแบมือ
    ท่านได้ชี้ไปที่ของซึ่งหล่<WBR>นจากมือไปสู่พื้นว่า
    "นี่คือทุกข์"
    ผู้ถามก็เข้าใจทันทีว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่เราสร้างสมมติ<WBR>ขึ้นและยึดถือไว้
    ปล่อยวางได้ ท่านไว้กล่าวถึงผู้ที่เข้<WBR>าใจโดยเร็วนี้ว่า
    "เป็นผู้มีปัญญา"





    34) บวช-สึก

    เมื่อข้าพเจ้าได้ผ่าตั<WBR>ดกระเพาะอาหารท่านออกเกือบหมด
    และได้แนะนำให้ท่านฉั<WBR>นอาหารจำนวนน้อย แต่บ่อย ๆ ท่านเคยปรารภว่า
    ท่านปฏิบัติเช่นนี้ วินัยหย่อน จะมีคำครหาได้ อยากไปขอสึก
    เพราะท่านจะเป็นพระหรือไม่ ก็ไม่ต่างกัน จิตใจของท่านไม่เปลี่ยนแปลงแล้ว





    35) รู้จักหลวงพ่อเทียนไหม ?

    ท่านเคยเล่าให้ฟังเมื่อตอนที่ท่<WBR>านกำลังคอยรับการฉายรังสีที่<WBR>โรงพยาบาลรามาธิบดี
    มีคนถามท่านว่า "หลวงพ่อรู้จักหลวงพ่อเทียนไหม"
    ท่านตอบว่า "พอรู้จักบ้าง"
    หลังจากที่ได้พูดคุยเรื่<WBR>องธรรมะกับท่านแล้ว คนนั้นก็สงสัยจึงถามอีกว่า
    "ท่านคือหลวงพ่อเทียนใช่ไหม"
    "หลวงพ่อจึงตอบว่า "ใช่"





    36) คนตายทำประโยชน์ได้น้อย

    ท่านได้พูดถึงการศึกษาปฏิบัติ<WBR>ธรรมะว่า ควรทำตอนชาตินี้ ไม่ควรคอยตอนตายแล้ว
    "คนตายแล้วทำประโยชน์ได้น้อย คนเป็นทำประโยชน์ได้มากกว่า"





    37) หินกับหญ้า

    ข้าพเจ้าเคยถามเรื่องการนั่<WBR>งสมาธิหรือกรรมฐานว่าเป็นอย่<WBR>างไร ท่านตอบว่า
    "การนั่งสมาธิมีมาก่อนสมัยพุ<WBR>ทธกาล ทำให้เกิดความสงบชั่วคราว
    เมื่อออกมาจากสมาธิก็ยังมี<WBR>ความโลภ โกรธ หลงอยู่ จิตใจไม่เปลี่ยน
    เปรียบเหมือนกับหินกับหญ้า แม้หญ้าจะฝ่อลง เมื่อหญ้าต้องแสงอาทิตย์
    หญ้าก็งอกขึ้นมาอีก ต่างกับวิปัสสนาที่ทำให้เกิดปั<WBR>ญญา
    จิตใจเปลี่ยนแปลงดีขึ้น"





    38) พระเครื่อง

    ก่อนที่จะทราบว่าท่านเป็นใคร
    ข้าพเจ้าได้พบท่านในขณะที่ข้<WBR>าพเจ้ากำลังสนใจพระเครื่องเป็<WBR>นอย่างยิ่ง
    ได้เอาพระนางพญาพิษณุโลกมาอวด
    เพื่อที่จะได้ถือโอกาสขอพระเครื<WBR>่องจากท่านโดยอวดว่า
    พระนางพญาพิษณุโลกนี้เป็<WBR>นพระเครื่องที่เก่าแก่สร้างมาตั<WBR>้ง 700 ปีแล้ว
    ท่านถามว่า
    "พระองค์นี้ทำจากอะไร"
    เมื่อข้าพเจ้าตอบว่า ทำจากเนื้อดินเผา แกร่งสีเนื้อมะขามเปียกมีแร่ต่<WBR>าง ๆ
    ปรากฏอยู่เต็ม ท่านตอบด้วยความสงบว่า
    "ดินนั้นเกิดมาพร้อมกันตั้งแต่<WBR>สร้างโลก
    พระองค์นี้ไม่ได้เก่าแกไปกว่าดิ<WBR>นที่เราเหยียบก่อนเข้ามาในบ้<WBR>านนี้หรอก"
    เพียงประโยคเดียวที่ทำให้ข้<WBR>าพเจ้าถอดพระเครื่องออกจากคอได้<WBR>อย่างมั่นใจที่สุด
    มีคนถามท่านว่าแขวนพระดีหรือไม่ ท่านตอบว่า
    ดี แต่มีสิ่งที่ดีกว่<WBR>าแขวนพระจะเอาไหม"
    ในโอกาสหนึ่งมีคนถามเรื่องเครื่<WBR>องรางของขลังของเขาว่ามีอานุ<WBR>ภาพตามที่เล่าลือหรือไม่
    ท่านถามว่า "คนทำตายหรือยัง"
    เมื่อตอบว่าคนที่ทำได้ตายแล้<WBR>วเพราะเป็นของมรดกตกทอดกันมา ท่านจึงตอบว่า
    "คนที่ทำยังตายเลย แล้วเราจะหวังสิ่งนี้ ช่วยไม่ให้เราตายได้อย่างไร"





    39) มงคล

    ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า ท่านเคยถูกนิมนต์ไปเพื่<WBR>อสวดมงคลในบ้านหลังหนึ่ง
    ท่านขอร้องให้เอากาละมั<WBR>งขนาดใหญ่ใส่น้ำ เพื่อจะทำน้ำมนต์แทนบาตร
    หลังจากท่านได้ทำให้แล้ว แทนที่จะพรมน้ำมนต์ให้
    ท่านกลับเอาน้ำมนต์ในกาละมั<WBR>งสาดไปทั่วบ้านแล้วบอกว่า
    "ช่วยกันเก็บช่วยกันถู อันนี้แหละเป็นมงคล
    การที่เราใช้น้ำมนต์ประพรมตั<WBR>วเรา อาจจะแพ้ลูกไม้ใบหญ้าที่ใส่ไว้<WBR>ในน้ำมนต์
    มีอาการผื่นคันขึ้นมา ต้องเปลืองเงินทองซื้อหยูกยารั<WBR>กษาอีก
    แล้วมันจะเป็นมงคลได้อย่างไร"





    40) ทำไมจึงแสวงหาธรรมะ

    ข้าพเจ้าเคยเรียนถามท่านว่า ท่านมีความบันดาลใจอย่างไรจึ<WBR>งแสวงหาธรรมะ
    ท่านตอบว่า ท่านเคยทำบุญทำทานมาตลอด ทอดกฐินอยู่เสมอ
    ครั้งสุดท้ายในงานทอดกฐิน ท่านได้มีปัญหาในเรื่องที่<WBR>จะทำบุญกับคนในบ้าน
    ท่านจึงคิดว่า ทั้ง ๆ ที่ท่านทำบุญให้ทานก็มากแล้ว
    ทำไมจึงยังมีความทุกข์เกิดขึ้<WBR>นได้อีก
    ท่านจึงตัดสินใจที่<WBR>จะแสวงหาธรรมะที่จะพ้นทุกข์ได้<WBR>ตั้งแต่บัดนั้น





    41) ทำไมจึงบวช

    ตามที่ทราบ ท่านได้รู้ธรรมะตั้งแต่เป็<WBR>นฆราวาส ทำไมท่านจึงบวชท่านตอบว่า
    "พระภิกษุ เป็นสมมุติสงฆ์ การบวชทำให้สอนคนได้ง่ายขึ้น





    42) กราบผ้าเหลือง

    ข้าพเจ้าเคยกล่าวกับท่านว่า เราเองไม่ทราบว่าพระองค์<WBR>ไหนจะเป็นพระแท้ หรือ
    เป็นเพียงกาฝากของศาสนา เพียงเห็นผู้ที่โกนศีรษะ ห่มผ้าเหลืองก็กราบแล้ว
    ท่านให้ความเห็นว่า
    "ถ้าหากจะกราบเพียงผ้าเหลือง เวลาผ่านไปแถวเสาชิงช้า
    มิต้องกราบตามสถานที่ขายเครื่<WBR>องพระ ตั้งแต่หัวถนนจดท้ายถนนหรือ"





    43) การไม่กินเนื้อสัตว์

    เคยเรียนถามท่านว่า
    การไม่กินเนื้อสัตว์ทำให้การปฏิ<WBR>บัติธรรมะดีขึ้นหรือไม่ ท่านตอบว่า
    "การที่จะรู้ หรือปฏิบัติธรรมะ ไม่ได้ขึ้นกับการกินอะไรหรือไม่<WBR>กินอะไร
    ดูอย่างเจ้าชายสิทธัตถะ ซึ่งอย่าว่าแค่เนื้อเลย
    แม้กระทั่งอดข้าวอดน้ำจนเกื<WBR>อบตาย ก็ยังไม่รู้ธรรมะ
    เรื่องนี้เป็นเรื่องของปัญญา"





    44) ศาลพระภูมิ

    เมื่อข้าพเจ้าได้ถามถึงเรื่<WBR>องเจ้าที่ ศาลพระภูมิว่ามีอิทธิฤทธิ์
    ให้คุณให้โทษแก่เจ้าของบ้าน จริงหรือไม่ ท่านตอบว่า
    "จงคิดดู ถ้าเจ้าที่นั้นมีอิทธิฤทธิ์จริ<WBR>งแล้ว
    ทำไมจึงไม่เนรมิตบ้านอยู่เอง เนรมิตอาหารกินเอง
    ทำไมจึงต้องคอยให้คนสร้างให้ หรือคอยอาหารเซ่นไหว้ซึ่งน้อยนิ<WBR>ดเดียว
    จะกินอิ่มหรือ"





    45) ทำงานอย่างมีสติ

    หลวงพ่อกล่าวอยู่เสมอว่า
    "คนเรามีหน้าที่ ที่จะต้องทำในสังคมที่ตนอยู่ เป็นธรรมดา
    การปฏิบัติหน้าที่โดยมีสติ จะได้ผลงานที่สมบูรณ์"





    46) ติดสมาธิ

    ท่านเคยกล่าวเตือนว่า
    "การที่ติดอยู่กับรู<WBR>ปแบบของสมาธิ จะเป็นวิธีใดก็ตาม
    เหมือนกับการนั่งเรือข้ามฟาก แล้วไม่ยอมขึ้นจากเรือ ทั้ง ๆ
    ที่เรือถึงฝั่งตรงกันข้ามแล้ว เพราะยังหลงสนใจในตัวเรือ เครื่องเรืออยู่"
     
  10. ธรรมมณี

    ธรรมมณี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,044
    ค่าพลัง:
    +14,027
    อ้างอิง:
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%"><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-RIGHT: 1px inset" class=alt2>ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Dhammanee [​IMG]
    หม่องพี่ ขอโมทนากับหม่องน้องในการสื่อธรรมะมาให้พวกเราได้อ่านกัน ว่าแต่ คำว่า จบและตามด้วยตัวเลขน่ะ หม่องน้องใบ้หวยเรอ หม่องพี่ กัวท่านพ่อด่าอ่ะ ไปซื้อหวย 55555<!-- google_ad_section_end -->

    ขำๆ ค่ะ พี่ ดชน. ตอนแรกที่เกษเห็น ก็อ่านเหมือนพี่ ดชน.ค่ะ แต่พอมาเห็นสองท่านที่เขียนเหมือนกัน เกษก็เลยถึงบางอ้อ....ค่ะ จบ.11 หมายถึง จิตบุญดวงที่ 11 ค่ะ ท่านผู้ช๊มมมม อิๆ ใช่มั้ยค่ะ คุณวิทย์??
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    55555 เฉียบแหลมเจง ๆ งั้นไม่เอาละ จบ 11 นี่ รอของ จบ น้องเกษดีฟ่า เมื่อไหร่ดีน๊าาาาาาาา<!-- google_ad_section_end -->

    สงสัยเธอจะจองดวงจิตบุญที่ 39 มั้ง
    ผมก็นึกอยู่เหมือนกันว่า หม่องวิทย์ จบ11 หมายถึงอะไร
    5555... ชาวจิตเกาะพระ ชาวจิตบุญมีรุ่นด้วย
    คิดได้ไงเนี๊ย! หม่องดัชว่าไงหล่ะเราเนี๊ย


    555666 (พี่ดัชจะเอาไปแทงหวยอีกมั้ยเนี่ย) พี่ภูรู้จายหนูอีกแล้ว อิๆ
    39 เลขสวยนะเนี่ย ว่าแล้วน่ะ สงสัยจะได้จริงแล้วมั่งเนี่ย เป็นจิตบุญดวงที่สำมะคัญซะด้วย ไม่งั้นบ้านรากแก่นคลอดไม่ได้แน่ๆ (เพราะอายุครรภ์ยังไม่ครบค๊าา..แหม..เปรียบเทียบซ๊าาาา)


    <!-- google_ad_section_end -->
     
  11. ธรรมมณี

    ธรรมมณี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,044
    ค่าพลัง:
    +14,027
    สาธุ ขออภิมหาโมทนาบุญกับจิตบุญดวงที่ 25,26 และ 27 ค่ะ สาธุ๊:cool:
     
  12. ภูภู

    ภูภู เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    3,042
    ค่าพลัง:
    +56,089


    โมทนาสาธุ กับธรรมาทานนี้ดีมากๆ ผมเองก็ยังไม่เคยพบเจอหลวงพ่อเทียนฯ
    เท่าที่อ่านธรรมะของท่านนั้น ท่านไม่ใช่พระอริยสงฆ์ธรรมดาแน่
    ธรรมดา ที่ไม่ธรรมดาจริงๆ

    ขอขอบพระคุณมากๆ ที่นำธรรมะมาฝากคนในกระทู้นี้กัน
    มีประโยชน์มากมายมหาศาล แต่ใครจะได้รับได้มากน้อยก็จะขึ้นอยู่ที่ สติปัญญาของแต่ละคน

    กระผมขอกราบหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ด้วยเศียร ด้วยเกล้าฯ

    พวกเราอ่านให้จบกันนะ เพราะมีประโยชน์มามหาศาลทีเดียว
    ต่อไปนี้พวกเราก็คงจะทราบกันดีแล้วนะว่า
    บุญคืออะไร ธรรมะคืออะไร อยู่ที่ไหน ทำอย่างไรถึงจะได้สิ่งเหล่านั้นกัน
    และก็คงจะทราบกันดีนะว่า ที่แท้จิตของเรานั้น ต้องการเปลือก หรือว่าแก่นสารธรรมกันแน่
    ขอให้ผู้เจริญในศีล ในธรรมควรพิจารณาธรรมกันให้ดีๆเถิด

    และต่อไปนี้ก็คงจะเลิกสงสัยกันนะว่า ทำไมคนส่วนใหญ่มักมีแค่ความทุกข์กันมาก เพราะพวกเราไม่สนใจจิตของตนเอง มัวแต่ไปสนใจจิตคนอื่นๆ
    นั่นเอง

    วันหน้านำธรรมะมาฝากอีกนะครับ
    ขอขอบพระคุณอีกครั้งนึง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 มิถุนายน 2012
  13. ภูภู

    ภูภู เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    3,042
    ค่าพลัง:
    +56,089


    555...หญิงเหมี่ยว
    ก็ชายหง่าว(หรือชายเง่า?) กัวแล้วๆ
    อย่าตีหนูเลย หนูแก่แร๊ววว เก็บหนูไว้สร้างบ้านจิตบุญดีกว่านะ...555

    ก็กายนอนไปแล้วน่ะ แต่ทำไงได้หล่ะ ก็จิตมันพาตื่นมาทำงานต่อ ทำตัวเป็นชายเอาแต่นอนมากไม่ได้ เพราะไหนจะไปมาม่า ไวไว ยำยำอีก
    ก็จิตมันเบื่องานทางโลกง่ะ ผมนึกถึงน้องหม่องดัชเลยว่า เห็นทางโลกแล้วจะอ๊วก!
    แต่ผมเห็นยิ่งกว่าจะอ๊วก คือจิตมันไสหัวออกห่างกับทางโลก ก็เลยเป็นที่มาก็ต้องเข้าหากระทู้
    มาเก็บตกธรรมะ มาดูพระที่ลูกหว้าที่ขยันนำมาให้ดูชมกันน่ะ

    พวกเราอย่าลืม ค้นหาธรรมะภายในกาย ภายในจิตของตนให้พบไวไวนะ
    เพราะถ้ายิ่งใครพบแล้ว ธรรมของตนเองนั้น มันมีค่ายิ่งกว่าเงินทอง หรือเพชรซาอุฯเสียอีก
    นั่นก็คือ เพชรพระนิพพาน หรือสติปัญญาอันเฉียบแหลม

    วันนี้ว่าจะจัดธรรมะที่มันผุดออกมาจากกลางจิตมาให้อ่านกันสักหน่อย ก็ต้องเลยพับเสื่อเก็บไว้ก่อน เพราะมาเจอธรรมะของหลวงพ่อเทียนฯ พรุ่งนี้ก่อน
    วันนี้ไม่อยากทำงาน อยากอยู่ อยากถูกห้อมล้อมไปด้วยขุนเขาธรรมะ
    เพราะมันอิ่มอก อิ่มใจดี

    เอ๊ะทำไมจิตวิ่งไปหาลูกทิวลิป...ว่าไงลูก?
    ไม่ได้ทวง ถามถึงเฉยๆ

    มิสเตอร์ภู..
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 20 มิถุนายน 2012
  14. jprabs

    jprabs เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +1,229
    คำสั่งสอนจากสมเด็จองค์ปฐม ชุดที่ ๓
    [​IMG]


    รักษาอารมณ์จิตไว้ให้ดี ประคองใจไว้เป็นสำคัญ
    อย่าไปฝืนกรรมของใคร แล้วอย่าพยายามแก้ไขคนอื่น
    ให้แก้ไขใจตนเองนี่แหล่ะ จึงจะถูกต้องตามหลักการ
    ของพระพุทธศาสนา จุดนี้มีความจำเป็นต้องพูดซ้ำ
    เพราะพวกเจ้าส่วนใหญ่มักจะไปแก้ไขบุคคลอื่น
    ผิดหลักธรรมอย่างมาก ไปทำอย่างนั้นก็เท่ากับเป็นการ
    เพิ่มกิเลสให้กับจิตของตนเอง จักต้องพยายามตั้งสติให้มั่น
    ถือธุระไม่ใช่ให้มากๆ ไม่ใช่หน้าที่ให้ปล่อยวางทันที
    ยกเว้นมีความเกี่ยวข้องด้วยกรรมต่อกัน
    ก็พึงกระทำกันแต่เพียงเป็นหน้าที่เท่านั้น สำหรับทางจิตใจ
    พยายามไม่เกี่ยวข้องกับใคร ปล่อยวางเพื่อความผ่องใส
    ของจิตให้มากที่สุด กฏของกรรมใดๆ เข้ามาถึง
    ก็ถือว่าชดใช้กรรมเก่าให้เขาไป อย่าไปต่อกรรม
    ในเมื่อปรารถนาจะไปนิพพาน แม้จักทำได้ยากก็ต้องทำให้ได้

    พวกโทสะจริต พยายามฝึกจิตให้เยือกเย็น
    แล้วพึงพิจารณาโทษของโทสะให้มาก
    พยายามทรงอารมณ์จิตให้อยู่ในคำภาวนาให้มาก
    หลังจากรู้ลม รู้ภาพพระแล้ว ก็จักมีอารมณ์เย็นขึ้น
    อย่าลืมว่าจิตต้องเย็นสงบก่อน จึงค่อยพิจารณาทุกข์
    อันเกิดจากโทสะนั้น จิตยิ่งเย็นก็ยิ่งเห็นทุกอย่าง
    ได้ชัดขึ้นเท่านั้น และอย่าลืมว่า พุทโธ อัปมาโณ
    คุณของพระพุทธเจ้าหาประมาณมิได้
    คนฉลาดไม่มีใครทิ้งพระพุทธเจ้า พระอรหันต์
    ท่านยังไม่ทิ้ง แล้วพวกเจ้าเป็นใคร ให้คิดเอาเอง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2012
  15. natthapatpun

    natthapatpun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,124
    ค่าพลัง:
    +25,214
    ฮ่าๆ พี่ภูไปเอามาจากไหนเนี่ย
    ชาวหง่าวหมายถึง ชายเหงา ชายง่อม(ว้าเหว่)
    ไม่ใช่ ชายเง่า หรือ ชายง่าว
    แต่เห็นหญิงเหมี่ยวทีไรนึกถึงแมวขี้เซาทุกที --'
     
  16. ่jarunee

    ่jarunee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +1,917
    [FONT=&quot]ธรรมโอวาทเพื่อพระนิพพาน หลวงพ่อพระราชพรหมยาน[/FONT]
    [FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]๑. ขอลูกรักจงรักษากายไว้ด้วยดี[/FONT][FONT=&quot]
    อย่าเอากายไปฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม
    และจงรักษาวาจาไว้ให้ดี อย่าพูดปดมดเท็จที่ไม่ตรงความจริง
    อย่าพูดคำหยาบหรือด่าคนอื่น อย่าใช้วาจาเป็นเครื่องทำลายความสามัคคี
    คือ ยุให้คนแตกร้าวกัน อย่าใช้วาจาเหลวไหลไร้ประโยชน์[/FONT]
    [FONT=&quot]

    ด้านใจจงรักษาใจไว้ด้วยดี
    คือ ไม่อยากได้ของๆใครที่เขาไม่เต็มใจให้
    ไม่โกรธแค้นอาฆาต พยาบาทใคร
    ไม่เมาใจจนเห็นผิด คิดว่าตัวเป็นคนประเสริฐ


    อารมณ์เท่านี้เป็นพื้นฐานที่จะให้เข้าถึงพระนิพพาน
    เมื่อรักษากายใจได้ดังนี้แล้ว ต่อไปใจจะสะอาดขึ้นทีละน้อย
    จนไม่ต้องระวังทั้งกาย วาจา ใจ จะทรงไว้แต่ความดีอย่างเดียว
    ในที่สุดก็ถึงนิพพาน


    ๒. ลูกรักทั้งหลาย จงจำไว้ว่าท่านกับเรามีสภาวะเหมือนกัน คือ
    มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น
    มีความเปลี่ยนไปในท่ามกลาง
    และก็มีการสลายตัวไปในที่สุด


    ท่านกับเราก็เสมอกัน เสมอกันโดยไตรลักษณ์ คือ
    อนิจจังหาความเที่ยงไม่ได้
    ทุกขัง เมื่อมีความเป็นอยู่ต้องทำมาหากินทางอาชีพ ทำการงานเลี้ยงชีพ
    สุขบ้างทุกข์บ้าง ไปตามสภาพของคนที่มีชีวิต
    ในที่สุดชีวิตก็สลายตัวไป


    จงจำไว้อย่ายึดมั่นถือมั่นในร่างกายจนเกินไป
    อย่ายึดถือในทรัพย์สินมากเกินไป

    จงจำไว้ว่า เราจะต้องตาย
    ถ้าเรายังไม่ดีพอ ตายแล้วเราก็ต้องเกิดอีก เกิดแล้วเราก็มีทุกข์
    เกิดเป็นคนมีทุกข์อย่างคน เกิดเป็นสัตว์มีทุกข์อย่างสัตว์
    เกิดเป็นอสุรกายเป็นทุกข์อย่างอสุรกาย เกิดเป็นเปรตเป็นทุกข์อย่างเปรต
    เกิดเป็นสัตว์นรกเป็นทุกข์อย่างสัตว์นรก


    เกิดเป็นเทวดาสุขอย่างเทวดา เกิดเป็นพรหมสุขอย่างพรหม
    แต่สุขไม่นาน ผลที่สุดก็ละความสุขนั้นมาหาความทุกข์
    สู้ไปพระนิพพานไม่ได้ นิพพานมีความสุขที่เป็นเอกันตบรมสุข
    เป็นความสุขที่ยอดเยี่ยม



    [/FONT]
    [FONT=&quot]สาธุ สาธุ สาธุ

    กราบนอบน้อมโมทนาสาธุการคะ
    [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2012
  17. NOKMAM

    NOKMAM เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    300
    ค่าพลัง:
    +6,157
    ธรรมโอวาทของ พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร

    ร่างกายมีสภาพแต่จะต้องตกไปในกระแสของความเสื่อมถ่ายเดียว
    แต่ส่วน "จิต" จะไม่ตกไปอย่างนั้น

    จะต้องไหลไปสู่ความเจริญได้ตามกำลังของมัน
    ถ้าใครมีกำลังแรงมากก็ไปได้ไกล


    ถ้าใครไปติดอยู่ในเกิด เขาก็จะต้องเกิด
    ใครไปติดอยู่ในแก่ เขาก็จะต้องแก่
    ใครไปติดอยู่ในเจ็บ เขาก็จะต้องเจ็บ
    ใครไปติดอยู่ในตาย เขาก็จะต้องตาย
    ถ้าใครไม่ไปติดอยู่ในเกิด ไม่ติดอยู่ในแก่

    ไม่ติดอยู่ในเจ็บ และไม่ติดอยู่ในตาย
    เขาก็จะต้องไปอยู่ในที่ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ และไม่ตาย


    เรียกว่า มองเห็นก้อน "อริยทรัพย์" แล้ว คือ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ
    ผู้นั้นก็จะไม่ต้องกลัวจน ถึงร่างกายเราจะแก่ จิตของเราไม่แก่
    มันจะเจ็บก็เจ็บไป ตายก็ตายไป แต่จิตของเราไม่เจ็บ จิตของเราไม่ตาย
    พระอรหันต์นั้นใครจะตีให้หัวแตก แต่จิตของท่านก็อาจไม่เจ็บด้วย

    "จิต" เมื่อมันสุมคลุกเคล้ากับโลก ก็จะต้องมีการกระทบ
    เมื่อกระทบแล้วก็จะหวั่นกลอกกลิ้งไปกลิ้งมา
    เหมือนก้อนหินกลมๆ ที่มันอยู่รวมกันมากๆ ก็จะกลิ้งไปกลิ้งมาอย่างเดียวกัน
    ดังนั้นใครจะดีจะชั่ว เราไม่เก็บมาคิดให้เกิดความชอบความชัง
    ปล่อยไปให้หมด เป็นเรื่องของเขา

    นิวรณ์ เป็นตัวโรค ๕ ตัว ซึ่งเกาะกินจิตใจคนให้ผอมและหิวกระหาย
    ถ้าใครมี "สมาธิ" เข้าไปถึงจิตก็จะฆ่าตัวโรคทั้ง ๕ นี้ให้พินาศไปได้
    ผู้นั้นก็จะต้องอิ่มกาย อิ่มใจ เป็นผู้ไม่หิว ไม่อยาก ไม่ยาก ไม่จน
    ไม่ต้องไปขอความดีจากคนอื่น

    ผลที่ได้ คือ
    ๑) ทำให้ตัวเองเป็นผู้เจริญด้วย "อริยทรัพย์"
    ๒)
    ถ้าพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ก็จะต้องพอพระทัยมาก
    เหมือนพ่อแม่ที่มีลูกเป็นคนร่ำรวย ตั้งเนื้อตั้งตัวได้เอง
    ท่านก็หมดความเป็นห่วงใย นอนตาหลับได้

    สรุปแล้ว
    "โลกียทรัพย์" เป็นเครื่องบำรุงกาย
    "อริยทรัพย์" เป็นเครื่องบำรุงกำลังใจ


    จึงขอให้พากันน้อมนำธรรมะข้อนี้ไปปฏิบัติ
    เพื่อฝึกตน ขัดเกลากาย วาจา ใจของตน
    ให้เป็นความดีงาม บริสุทธิ์ เพื่อจะได้ถึงซึ่งอริยทรัพย์
    อันเป็นทางนำมาแห่งความสุขเป็นอย่างยอด คือ
    พระนิพพาน



     
  18. ่jarunee

    ่jarunee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    118
    ค่าพลัง:
    +1,917
    [FONT=&quot]วิธีกราบพระให้ถูกต้อง[/FONT]

    [FONT=&quot]กราบครั้งที่หนึ่ง[/FONT][FONT=&quot]นั่นก็คือ เวลาที่เรากราบพระทุกครั้งนี่ หรือไหว้พระทุกครั้ง[/FONT]
    [FONT=&quot]จิตจะต้องเห็นพระพุทธเจ้าอยู่เป็นปรกติ แล้วกล่าวว่า[/FONT]

    [FONT=&quot]อะระหัง สัมมาสัมพุทธโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ[/FONT]

    [FONT=&quot]นั่นหมายถึงว่า[/FONT][FONT=&quot]เรากราบพระพุทธเจ้า[/FONT][FONT=&quot]ถ้าเวลา จิตที่กราบ[/FONT]
    [FONT=&quot]ความจริงเราอาจนั่งอยู่หน้าพระพุทธรูป หรือว่าที่เรากราบไม่มีพระพุทธรูปก็ตาม[/FONT]
    [FONT=&quot]แต่ว่าจิตของเราถ้าได้[/FONT][FONT=&quot]มโนมยิทธิ[/FONT][FONT=&quot]ต้องส่งจิตขึ้นไปที่นิพพาน[/FONT]
    [FONT=&quot]แล้วกราบลงไปต่อหน้าพระพักตร์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า[/FONT]
    [FONT=&quot]อย่างนี้เขาเรียกว่า[/FONT][FONT=&quot]กราบถึงพระ[/FONT]

    [FONT=&quot]กราบครั้งที่สอง[/FONT][FONT=&quot]ที่เรียกกันว่า[/FONT][FONT=&quot]กราบพระธรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]ที่เป็นคำสอนของ[/FONT][FONT=&quot]หลวงพ่อปาน[/FONT][FONT=&quot]ก็ดี อาจารย์อีกทั้ง ๑๐ องค์ของอาตมาก็ดี[/FONT]
    [FONT=&quot]สอนเหมือนกัน เพราะอีก ๑๐ องค์ เป็นพระอรหันต์ หลวงพ่อปานเป็นพระโพธิสัตว์[/FONT]

    [FONT=&quot]ท่านบอกว่า[/FONT][FONT=&quot]เวลากราบพระธรรม ให้จิตคิดกำหนดไว้ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อกราบลงไปแล้วเห็นเป็น [/FONT][FONT=&quot]ดอกมะลิแก้ว[/FONT]
    [FONT=&quot]ไหลออกจากพระโอษฐ์ของพระองค์ลงมาบนเศียรเกล้าของเรา[/FONT]

    [FONT=&quot]พระธรรมให้ตั้งเป็นนิมิต ให้เหมือนกับ[/FONT][FONT=&quot]ดอกมะลิแก้ว[/FONT][FONT=&quot]ที่ใสสะอาด[/FONT]
    [FONT=&quot]มีความแพรวพราว ไหลออกจากพระโอษฐ์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า[/FONT]
    [FONT=&quot]ลงบนเศียรของเรา[/FONT]

    [FONT=&quot]แล้วเวลา[/FONT][FONT=&quot]กราบพระอริยสงฆ์[/FONT]
    [FONT=&quot]ตอนนี้พระพุทธเจ้าเสด็จอยู่ที่ไหน ที่นั่นย่อมไม่ว่างจากพระอริยสงฆ์[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลาที่กราบลงไปครั้งที่สาม[/FONT]
    [FONT=&quot]ก็ตั้งใจเห็นพระอริยสงฆ์ ซึ่งมี[/FONT][FONT=&quot]พระโมคคัลลาน์ พระสารีบุตร[/FONT][FONT=&quot]เป็นต้น[/FONT]

    [FONT=&quot]กราบครั้งที่สาม ก็คิดว่าเรากราบลงไปข้างหน้าท่านทั้งสอง หรือพระองค์ใดองค์หนึ่งก็ได้[/FONT]

    [FONT=&quot]ถ้าบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททำเป็นปรกติ เป็นกิจประจำวัน[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลากราบพระทีไรเห็นสภาพแบบนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]หรือนึกถึงพระขึ้นมาเมื่อไหร่ก็เห็นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทันที[/FONT]
    [FONT=&quot]โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระรูปพระโฉม[/FONT]
    [FONT=&quot]ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เราเห็นที่นิพพาน[/FONT]
    [FONT=&quot]ให้มันจับใจเราอยู่เสมอเป็นปรกติ[/FONT]

    [FONT=&quot]รวมความว่า หายใจเป็นพระพุทธเจ้า แล้วก็ต้องมีจิตคิดไว้เสมอว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]เราไม่ต้องการอะไรทั้งหมด ตัดอารมณ์ย่อๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]องค์สมเด็จพระบรมสุคต คือพระพุทธเจ้าอยู่ที่ไหน[/FONT]
    [FONT=&quot]เวลาตายแล้วเราขอไปที่นั่น เราขอไปอยู่กับท่าน[/FONT]

    [FONT=&quot]ถ้าท่านมีอารมณ์คิดอย่างนี้ไว้เป็นปรกติ ถ้ามันตายเมื่อไร เราก็ไปนิพพานเมื่อนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ขอบรรดาญาติโยมพุทธบริษัททุกท่านทำตามนี้นะ[/FONT]

    [FONT=&quot]อารมณ์ที่สำคัญที่สุดที่จะต้องทำ และก็ส่วนที่มีความสำคัญอีกจุดหนึ่งก็คือ[/FONT]

    [FONT=&quot]เวลาก่อนหลับเราจะต้องส่งจิตไปนิพพานก่อน[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าตื่นขึ้นมาใหม่ๆ ยังไม่ต้องสนใจอะไรทั้งหมด ไปนิพพานก่อน ทำให้มันเป็นปรกติ[/FONT]

    [FONT=&quot]เวลาทำงานทำการ ถ้าอยู่ว่างคนเดียวไม่มีใครชวนคุย ว่างจากงานนิดหนึ่ง[/FONT]
    [FONT=&quot]หรือว่าเวลาทำงานอยู่ จิตจับอยู่ที่พระนิพพานเป็นอารมณ์[/FONT]
    [FONT=&quot]ถ้าทำได้อย่างนี้ทุกคนก็ไปนิพพานทุกคน[/FONT]




    <!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:RelyOnVML/> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]จากหนังสือธัมมวิโมกข์[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มิถุนายน 2012
  19. ภูภู

    ภูภู เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    3,042
    ค่าพลัง:
    +56,089
    อย่าเห็นตนเองดีกว่า หรือเลวกว่าคนอื่น


    เราไม่ใช่คนวิเศษ หรือพิเศษสำหรับใคร
    แต่ขอให้คนอื่นวิเศษ หรือพิเศษสำหรับตัวเรา

    เราต้องมองเห็น(เฉพาะ)คุณค่าความดี พยายามเห็นส่วนที่ดีของผู้อื่น
    และให้ความสำคัญของผู้อื่นเสมอๆ
    อย่าไปเห็นตนเองดีกว่าผู้อื่นกันเลย เพราะเรา และโลกใบนี้จะไม่มีทางสงบ

    คนเราจะต้องเห็นทุกข์ก่อน เรียนรู้เรื่องทุกข์ก่อน เราจึงจะไม่หลง หรือเราจึงไม่หลงไปกระทำความผิดกันซ้ำซาก
    สำหรับผู้ที่ยังไม่รู้จักตนเองดีพอ แต่มักไปเที่ยวรู้จักคนอื่นดีนั้น ก็นับว่า ยังหลงอยู่มาก
    คนไม่หลง ก็คือ คนที่เห็นตนเองเลวกว่าผู้อื่น มิใช่คนอื่นเลวกว่าเรา

    ผู้ปฎิบัติที่ดี ที่มีวินัย อย่าไปดูความดี ความชั่วของผู้อื่น ให้ดู หรือให้แก้ไขที่ตนเองว่า เรานั้น ความเลวยังหลงเหลืออยู่ไหม๊
    เพราะความดี ความเลวของคนๆนั้น เป็นหน้าที่ของกฎแห่งกรรม มิใช่หน้าที่ของเรา
    ที่จะไปตัดสินใครถูกหรือผิด

    ทุกความทุกข์ ทุกปัญหา ต่างก็ล้วนมีธรรมะแฝงอยู่แทบทั้งสิ้น
    แต่ถ้าพวกเราไม่มีปัญญา หรือความหยั่งรู้ จิตเราก็เลยมองเห็นแต่ ความไม่จริง
    ความทุกข์ ความเดือดร้อน ต่างก็ล้วนปัญหาทั้งนั้น ที่แท้ก็แค่ สมมุติทั้งนั้น
    เพียงแต่เรา(จิต)ไม่รู้เท่าทัน เพราะขาดสติ หรือสติมีแต่ไม่มีเพียงพอ

    เราอย่าปฎิเสธความทุกข์ที่คนอื่นให้มา
    เพราะว่าเราไปฝากความสุขกับคนอื่นเอง
    ความสุขที่แท้จริงของคนเรานั้นอยู่ที่ ความนิ่งสงบอยู่ภายในจิตของแต่ละบุคคล
    ต่างหาก

    มุมมองความสุข ความทุกข์ ในแนวมิสเตอร์ภู
    จงทำตัวเหมือนลูกศรหันหน้าเข้ามาหาตนเอง แต่อย่าหันออกไปหาคนอื่นๆเขา
    เพราะถ้าใครหันหัวลูกศรออกห่างจากตนเอง ยิ่งห่างมากเท่าไหร่ ก็เท่ากับห่างไกลจากความสุขกันเท่านั้น
    แต่ผู้ที่หันหัวลูกศรเข้าหาตนเองได้มากเท่าไหร่ ผู้นั้นก็จักต้องพบกับ บรมสุขมาก เท่านั้น

    กำลังจะสื่อว่า
    ให้พวกเราสนใจแต่จิตตนเองให้มากที่สุด​
     
  20. Wittayapon

    Wittayapon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    1,075
    ค่าพลัง:
    +19,233
    ใกล้แล้วนะว่าที่ จบ39
    พยายามนะ เอาใจช่วย
     

แชร์หน้านี้

Loading...