รูปพระพุทธเจ้า

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย อุรุเวลา, 2 พฤษภาคม 2012.

  1. toseal

    toseal เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    274
    ค่าพลัง:
    +618
    เอาเป็นว่า ปฏิบัติเองเห็นเองดีกว่าครับ
     
  2. แจ๊กซ์69

    แจ๊กซ์69 ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ธันวาคม 2010
    โพสต์:
    3,142
    ค่าพลัง:
    +1,962
    แล้วจะยังไงล่ะ ก็พูดเรื่องรูปก็มันไม่ใช่ ยังไงๆๆๆทำไมคนทั่วไป และชนที่สำเร็จตั้งแต่ระดับต้นและสูงสุด ทำไมเค้าต้องสนใจเรื่องประพุทธรูปต้องรูปคล้ายๆกันทำไมเอา รูปเงาะป่าหรือรูปอื่นๆมากราบไหว้กันแทนล่ะ แล้วใันยังไงๆๆ

    เอารูปพระพุทธรูปที่ไหนก็ได้ยังเหมือนกว่าในรูป จขกท.มาให้ดูเลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 พฤษภาคม 2012
  3. chandayot

    chandayot เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,458
    ค่าพลัง:
    +2,234
    ตอนที่เป็นพระศาสดาแล้ว ท่าไว้ผมยาว หรือโกนศรีษะครับ
    --ผมเถียงกับเพื่อนเชื้อสายแขก เขาว่า"คนที่เป็นคนออกกก ไม่จำเป็นต้องทำตามกฏ และเท่าทีค้นคว้ามา ท่านเกล้ามวยผมครับ ในรูปของพระพุทธรูปจะเห็นชัดครับ
    --นานมาแล้วที่วัดปากน้ำ สมัยหลวงพ่อสดยังอยู่ ตอนเวียนเทียนวิสาขะ จะเห็นดวงจันทร์มีสองดวง อีกดวงจะมีรูปพระอินเดียไว้ผมยาว ไว้หนวดเครา ก็คือพระพุทธองค์นั่นเอง
    --ภาพที่สอง บางคนว่าถ่ายภาพได้จากอากาศ แต่จริงๆแล้วเป็นภาพวาดด้วยสีน้ำมัน ขนาดใหญ่(ภาพกว้างกว่านี้) และวาดได้สวยงามมากครับ
     
  4. บุรุษไร้เงา

    บุรุษไร้เงา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มกราคม 2007
    โพสต์:
    8,426
    ค่าพลัง:
    +35,040
    อีกวิธีครับถ้าจะพิสูจน์ด้วยตัวเอง...ถ้ากิเลสเบาบางลง..ท่านจะโปรดเองครับ..
    ตอนนี้ถือว่าเป็นเฉพาะบุคคลไปก่อนครัับ
     
  5. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๕
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก
    เศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล เป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสกแล้ว
    ทรงถือบาตรและจีวร เสด็จเข้าไปบิณฑบาตยังพระนครสาวัตถี ก็สมัยนั้นแล อัคคิกภารทวาชพราหมณ์
    ก่อไฟแล้วตกแต่งของที่ควรบูชา อยู่ในนิเวศน์ ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาค
    เสด็จเที่ยวบิณฑบาตตามลำดับตรอก ในพระนครสาวัตถี เสด็จเข้าไปยังนิเวศน์ของอัคคิก
    ภารทวาชพราหมณ์ อัคคิกภารทวาชพราหมณ์ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเสด็จมาแต่ไกลทีเดียวครั้น
    แล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า หยุดอยู่ที่นั่นแหละคนโล้น หยุดอยู่ที่นั่นแหละสมณะ หยุด
    อยู่ที่นั่นแหละคนถ่อย ฯ
    เมื่ออัคคิกภารทวาชพราหมณ์กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามว่า ดูกร
    พราหมณ์ ก็ท่านรู้จักคนถ่อย หรือธรรมเป็นเครื่องกระทำให้เป็นคนถ่อยหรือ ฯ
    อ. ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าไม่รู้จักคนถ่อยหรือธรรมเป็นเครื่องกระทำให้เป็นคนถ่อย
    ดีละ ขอท่านพระโคดมจงแสดงธรรมตามที่ข้าพเจ้าจะพึงรู้จักคนถ่อยหรือธรรมเป็นเครื่องกระทำให้
    เป็นคนถ่อยเถิด ฯ
    พ. ดูกรพราหมณ์ ถ้าอย่างนั้น ท่านจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวอัคคิการทวาช
    พราหมณ์
    ทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระคาถาประพันธ์นี้ว่า
    [๓๐๖] ๑. คนมักโกรธ ผูกโกรธ ลบหลู่อย่างเลว มีทิฐิวิบัติ และมีมายา
    พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย
    ๒. คนผู้เบียดเบียนสัตว์ที่เกิดหนเดียว แม้หรือเกิดสองหนไม่มี
    ความเอ็นดูในสัตว์ พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๓. คนเบียดเบียน เที่ยวปล้น มีชื่อเสียงว่า ฆ่าชาวบ้านและชาว
    นิคม พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๔. คนลักทรัพย์ที่ผู้อื่นหวงแหน ไม่ได้อนุญาตให้ ในบ้านหรือในป่า
    พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๕. คนที่กู้หนี้มาใช้แล้วกล่าวว่า หาได้เป็นหนี้ท่านไม่ หนีไปเสีย
    พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๖. คนฆ่าคนเดินทาง ชิงเอาสิ่งของ เพราะอยากได้สิ่งของพึงรู้ว่า
    เป็นคนถ่อย ฯ
    ๗. คนถูกเขาถามเป็นพยาน แล้วกล่าวคำเท็จ เพราะเหตุแห่งตนก็ดี
    เพราะเหตุแห่งผู้อื่นก็ดี เพราะเหตุแห่งทรัพย์ก็ดี พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๘. คนผู้ประพฤติล่วงเกิน ในภริยาของญาติก็ตาม ของเพื่อนก็ตาม
    ด้วยข่มขืนหรือด้วยการร่วมรักกัน พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๙. คนผู้สามารถ แต่ไม่เลี้ยงมารดาหรือบิดาผู้แก่เฒ่าผ่านวัยหนุ่มสาว
    ไปแล้ว พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ๑๐. คนผู้ทุบตีด่าว่ามารดาบิดา พี่ชายพี่สาว พ่อตาแม่ยายแม่ผัวหรือ
    พ่อผัว พึงรู้ว่าเป็นคนถ่อย ฯ
    ฯลฯ

    ----
    พระพุทธเจ้าปลงผมครับ
     
  6. hmu111

    hmu111 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2012
    โพสต์:
    324
    ค่าพลัง:
    +391
  7. เด็กแวนซ์

    เด็กแวนซ์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    206
    ค่าพลัง:
    +35
    เรื่องนี้จบไปตั้งนานแล้ว และ ดร. คนที่กระจายข่าวนี้ก็ออกมาขอโทษไปแล้ว 2ปีแล้วมั้ง

    มาใหม่เซราะกราวแท้
     
  8. Kinglondon

    Kinglondon Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กันยายน 2010
    โพสต์:
    141
    ค่าพลัง:
    +70
    รูปแรกน่าจะบุคคลิค ละหม้ายท่านตั๊กม่อที่เดินทางจากอินเดียไปจีนมากกว่าครับ
    เพราะท่านตั๊กม่อไว้หนวดเคราและใส่ตุ่มหู
     
  9. iivv

    iivv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    71
    ค่าพลัง:
    +201
    เซาะกราวแปลว่า โลโซ หรือ คนบ้านนอก คนไม่ทันสมัย ล้าหลัง

    อุรุเวลา
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Dec 2011
    ข้อความ: 1,371
    พลังการให้คะแนน: 163






    เซาะกราว เป็นภาษาเขมรขนานแท้เลยทีเดียว

    เซาะ นึกภาพ ใ้ช้มีด ใช้เสียม เซาะ ขุด เจาะ

    ground=กราวด์ แปลว่าพื้นดิน

    คิดดู เอามีด เอาจอบ เอาเสียม ไปเซาะดินที่ต่ำอยู่แล้ว

    แล้วเซาะลงไปอีก ท่านทั้งหลายลองคิดดู ว่า มันจะ

    โลโซ บ้านนอก ล้าหลัง ไม่ทันสมัย

    บ้านน๊อก บ้านนอก ขนาดไหน ลองคิดดูท่านผู้ชม
     
  10. 7starshido

    7starshido สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +7
    พระไตรปีฎกเกิดจากการชำระโดยสงฆ์สาวก เชื่อได้100% หรือว่าจะไม่ได้ดัดแปลแต่งเติม

    เจ้าชายสิทธัตถะทรงปลงผม ปลงผม ไม่ได้หมายความถึงโกน สมัยโน้นในวรรณะกษัตริย์ไม่ตัดผมแต่เกล้าผมมวยจนตาย การปลงผมเท่ากับตัดขาดจากวรรณกษัตริย์

    หลังจากนั้นสิทธัตถะ (ไม่เรียกเจ้าชายเพราะขาดจากวรรรกษัตริย์แล้ว)ก็ไปสมัครเป็นศิษย์ดาบส 2 ท่าน ดาบส ก็คือ โยคี ฤาษี มุณีก็ใช่ ดังนั้น สิทธัตถะจึงเป็น ดาบส โยคี ฤาษี มุณี

    หลังจากที่สิทธัตถะดาบส เรียนกับอาจารย์ทั้ง 2 ท่านจนเจนจบ ก็ลาอาจารย์ไปแสวงหาต่อ แต่ไม่ได้ลาออก และท่านคงไม่ทำเช่นนั้น จากนั้นก็ไปบำเพ็ญทุกรกิริยา หันมายึดทางสายกลางจนตรัสรู้ ก็ไม่มีตอนไหนบอกว่าท่านโกนผมจนโล้น

    ด้วยเหตนี้ ทางอินเดียถึงเรียกสิทธัตถะดาบส ว่า ศากายมุณี

    yimm
     
  11. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    ในพระไตรปิฏกมีแต่งเพิ่มครับ ผู้ที่ศึกษาจะรู้ได้ครับว่าส่วนไหนแต่งเพิ่ม เช่น คำว่า "ศากายมุณี" ไม่มีในพระไตรปิฏกครับ
     
  12. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๕
    [๓๕๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำสุนทริกา แคว้นโกศลชนบท
    ก็สมัยนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ครั้นบูชาไฟ บำเรอการบูชาไฟอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำสุนทริกา
    ครั้งนั้นแลสุนทริกภารทวาชพราหมณ์ครั้นบูชาไฟบำเรอไฟแล้วลุกขึ้นจากอาสนะ เหลียวดูทิศทั้งสี่โดยรอบ
    ด้วยคิดว่า ใครหนอแล ควรบริโภคเข้าปายาสที่เหลือนี้ สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ได้เห็น
    พระผู้มีพระภาคประทับนั่งทรงคลุมพระกายตลอดพระเศียรอยู่ที่โคนไม้แห่งหนึ่ง จึงถือเอาข้าว
    ปายาสที่เหลือด้วยมือซ้าย ถือเต้าน้ำด้วยมือข้างขวา เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
    ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคได้ทรงเปิดพระเศียรออก เพราะเสียงฝีเท้าของสุนทริกภารทวาช
    พราหมณ์ ครั้งนั้น สุนทริกภารทวาชพราหมณ์คิดว่า ท่านผู้นี้เป็นคนโล้นๆดังนี้แล้ว ปรารถนา
    จะกลับจากที่นั้น ลำดับนั้น สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ดำริว่า แม้พราหมณ์บางพวกในโลกนี้ก็
    เป็นคนโล้น ผิฉะนั้นเราพึงเข้าไปถามถึงชาติ ทีนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ได้เข้าไปเฝ้า
    พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ท่านมีชาติอย่างไร ฯ
    ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบสุนทริกภารทวาชพราหมณ์ด้วยพระคาถาว่า
    [๓๕๙] เราไม่ใช่พราหมณ์ ไม่ใช่ราชโอรส ไม่ใช่แพศย์หรือใครๆเรากำหนด
    รู้โคตรของปุถุชนแล้ว ไม่มีความกังวล เที่ยวไปด้วยปัญญาในโลก เรา
    นุ่งห่ม (ไตรจีวร) สังฆาฏิ ไม่มีเรือน ปลงผมแล้ว มีตนดับความ
    เร่าร้อนแล้ว ไม่คลุกคลีกับด้วยมนุษย์ (มาณพ) ทั้งหลายในโลกนี้
    เที่ยวไปอยู่ ท่านถามถึงปัญหาเกี่ยวด้วยโคตรอันไม่สมควรกะเรา
    ดูกรพราหมณ์ผู้เจริญ พวกพราหมณ์ย่อมถามกับพวกพราหมณ์ด้วยกันว่า
    ท่านเป็นพราหมณ์หรือหนอ ถ้าว่าท่านกล่าวว่าเราเป็นพราหมณ์แต่ท่าน
    กล่าวกะเราผู้มิใช่พราหมณ์ เพราะเหตุนั้น เราขอถามสาวิตรีซึ่งมีบท ๓
    มีอักขระ ๒๔ กะท่าน ฯ

    ฯลฯ
     
  13. wangwang

    wangwang เมตตาคุณณัง อะระหังเมตตา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    406
    ค่าพลัง:
    +629
    ผมเห็นด้วยครับที่พระพุทธองค์ทรงปลงพระเกศาจนพระเศียรโล้น จากพระไตรปิฎกตอนที่
    ท่านปู่ชีวกนำพระเจ้าอชาติศัตรูเข้าเฝ้าพระพุทธองค์มีเหตุที่แสดงว่าพระพุทธองค์พระเศียร
    โล้นเหมือนเหล่าสาวก ทำให้พระเจ้าอชาติศัตรูไม่ทราบว่าองค์ไหนคือพระพุทธองค์ จนท่าน
    ปู่ชีวกต้องทูลให้ทราบ แต่ที่เห็นพระพุทธรูปมีมวยผมหรือมีพระเกตุ น่าจะเกิดจากจินตนา
    การของปติมากรผู้สร้างตามยุคตามสมัย เพื่อให้แตกต่างจากรูปพระสาวก และแสดงถึงความ
    เป็นสัพพัญญูที่อยู่เหนือโลก
     
  14. 7starshido

    7starshido สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    48
    ค่าพลัง:
    +7
    ถูกต้องแล้วครับไม่มีแน่นอน เพราะทางอินเดียสมัยก่อนเรียกตามสถานภาพความเป็นจริง

    สัตธัทถะ ท่านบรรลุในขณะที่ท่านเป็นมุณี (โยคี ดาบส ฤาษี) ท่านไม่ใช่สงฆ์ ท่านไม่โกนผมแน่นอน

    และในพุทธประวัติก็ไม่มีบอกด้วยว่าท่านโกนผม

    หลายเรื่องราว ต้องพิจารณาใหรอบคอบ อย่างพระพุทธรูปเองสมัยก่อนก็ไม่ได้นุ่งห่มจีวรฯแบบที่เห็นในปัจจุบัน หลักฐานก็คือพระพุทธรูปที่ค้นพบในอัฟกานิสถาน

    นั่นหมายถึงว่า "พระไตรปีฎกมีการแก้ไข เพิ่มเติม" อย่างมากมาย จากพระโอษฐ์จริงๆไม่น่ามากมายขนาดนั้น

    น่าจะมีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาเพื่อชำระพระไตรปีฏกนะ

    yimm
     
  15. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๒๕
    [๓๕๘] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำสุนทริกา แคว้นโกศลชนบท ก็สมัย
    นั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ครั้นบูชาไฟ บำเรอการบูชาไฟอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำสุนทริกา ครั้งนั้นแล
    สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ครั้นบูชาไฟบำเรอไฟแล้วลุกขึ้นจากอาสนะ เหลียวดูทิศทั้งสี่โดยรอบ
    ด้วยคิดว่า ใครหนอแล ควรบริโภคเข้าปายาสที่เหลือนี้ สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ได้เห็น
    พระผู้มีพระภาคประทับนั่งทรงคลุมพระกายตลอดพระเศียรอยู่ที่โคนไม้แห่งหนึ่ง จึงถือเอาข้าว
    ปายาสที่เหลือด้วยมือซ้าย ถือเต้าน้ำด้วยมือข้างขวา เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ
    ลำดับนั้นพระผู้มีพระภาคได้ทรงเปิดพระเศียรออก เพราะเสียงฝีเท้าของสุนทริกภารทวาช
    พราหมณ์ ครั้งนั้น สุนทริกภารทวาชพราหมณ์คิดว่า ท่านผู้นี้เป็นคนโล้นๆดังนี้แล้ว ปรารถนา
    จะกลับจากที่นั้น ลำดับนั้น สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ดำริว่าแม้พราหมณ์บางพวกในโลกนี้ก็
    เป็นคนโล้น ผิฉะนั้นเราพึงเข้าไปถามถึงชาติ ทีนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ได้เข้าไปเฝ้า
    พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ท่านมีชาติอย่างไร ฯ
    ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสตอบสุนทริกภารทวาชพราหมณ์ด้วยพระคาถาว่า
    [๓๕๙] เราไม่ใช่พราหมณ์ ไม่ใช่ราชโอรส ไม่ใช่แพศย์หรือใครๆเรากำหนด
    รู้โคตรของปุถุชนแล้ว ไม่มีความกังวล เที่ยวไปด้วยปัญญาในโลก เรา
    นุ่งห่ม (ไตรจีวร) สังฆาฏิ ไม่มีเรือน ปลงผมแล้ว มีตนดับความ
    เร่าร้อนแล้ว ไม่คลุกคลีกับด้วยมนุษย์ (มาณพ) ทั้งหลายในโลกนี้
    เที่ยวไปอยู่ ท่านถามถึงปัญหาเกี่ยวด้วยโคตรอันไม่สมควรกะเรา ดูกร
    พราหมณ์ผู้เจริญ พวกพราหมณ์ย่อมถามกับพวกพราหมณ์ด้วยกันว่า
    ท่านเป็นพราหมณ์หรือหนอ ถ้าว่าท่านกล่าวว่าเราเป็นพราหมณ์แต่ท่าน
    กล่าวกะเราผู้มิใช่พราหมณ์ เพราะเหตุนั้น เราขอถามสาวิตรีซึ่งมีบท ๓
    มีอักขระ ๒๔ กะท่าน ฯ
     
  16. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๕
    สุนทริกสูตรที่ ๙
    [๖๕๘] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำสุนทริกา ในโกศลชนบท ฯ
    ก็โดยสมัยนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ บูชาไฟ บำเรอการบูชาไฟอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำ
    สุนทริกา ฯ
    ลำดับนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ บูชาไฟ บำเรอการบูชาไฟแล้วลุกขึ้นจาก
    อาสนะ เหลียวดูทิศทั้ง ๔ โดยรอบ ด้วยคิดว่า ใครหนอควรบริโภคปายาสอันเหลือจากการ
    บูชานี้ ฯ
    [๖๕๙] สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ ได้เห็นพระผู้มีพระภาค ทรงคลุมอวัยวะพร้อมด้วย
    พระเศียร ประทับนั่งที่โคนต้นไม้ต้นหนึ่ง ครั้นแล้วถือข้าวปายาสที่เหลือจากการบูชาไฟด้วยมือ
    ซ้าย ถือเต้าน้ำด้วยมือขวา เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ฯ
    ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงเปิดพระเศียรด้วยเสียงเท้าของสุนทริกภารทวาชพราหมณ์
    ครั้งนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์กล่าวว่า นี้พระสมณะโล้นผู้เจริญ นี้พระสมณะโล้น
    ผู้เจริญ แล้วประสงค์จะกลับจากที่นั้นทีเดียว ฯ
    ลำดับนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ได้มีความดำริว่า พราหมณ์บาง พวกในโลกนี้
    เป็นผู้โล้นบ้างก็มี ถ้ากระไรเราพึงเข้าไปหาพระสมณะผู้โล้นนั้นแล้วถามถึงชาติ ฯ
    ลำดับนั้นแล สุนทริกภารทวาชพราหมณ์ เข้าไปหาพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ ครั้น
    แล้ว ได้ถามพระผู้มีพระภาคว่า ท่านเป็นชาติอะไร ฯ
    [๖๖๐] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ท่านอย่าถามถึงชาติ แต่จงถามถึงความประพฤติเถิด ไฟย่อมเกิดจาก
    ไม้แล บุคคลแม้เกิดในตระกูลต่ำเป็นมุนี มีความเพียรเป็นผู้รู้ทั่วถึงเหตุ
    ห้ามโทษเสียด้วยหิริ ฝึกตนแล้วด้วยสัจจะประกอบด้วยการปราบปราม
    ถึงที่สุดแห่งเวท มีพรหมจรรย์อันอยู่จบแล้ว ผู้ใดมียัญอันน้อมเข้าไป
    แล้ว บูชาพราหมณ์ผู้นั้น ผู้นั้นชื่อว่าย่อมบูชาพระทักขิไณยบุคคลโดย
    กาล ฯ
    ฯลฯ
     
  17. อุรุเวลา

    อุรุเวลา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    3,464
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,002
    อัคคิกภารทวาชพราหมณ์และสุนทริกภารทวาชพราหมณ์ ภายหลังออกบวชเป็นพระภิกษุในพระศาสนา ได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในพระศาสนา พระอรหันต์ท่านไม่พูดคำเพ้อเจ้อครับ
     
  18. sutanon

    sutanon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    1,553
    ค่าพลัง:
    +170
    ผมเคยเห็นกระทู้เก่าที่เค้าเอารูปแรกของคุณอุรุเวลามาลง
    แต่มันก็นานมาแล้ว

    เค้าสรุปกันไปแล้วว่าไม่ใช่นะครับ
    เห็นว่าเป็นชาวญี่ปุ่น ลัทธิอะไรสักอย่างผมจำไม่ได้

    ในกระทู้เก่านั้น เค้าได้ให้ความเห็นที่ตรงกับในพระไตรปิฎก
    กล่าวถึงพุทธลักษณะพระพุทธเจ้า ซึ่งมีพระสรีระที่งดงาม
    แม้ผู้ชายด้วยกันเห็นก็ยังอดที่จะมีใจให้ไม่ได้ ซึ่งนั่นเป็นเพราะบุญบารมี

    ต่างจากใบหน้าที่คุณนำมา มันช่างห่างกันกับคำว่างดงาม


    m34.gif
     
  19. hangdong

    hangdong Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    29
    ค่าพลัง:
    +70
    ไม่ขอออกความเห็นเกี่ยวกับรูป แต่ขอร่วมแสดงความเห็นเรื่อง"เส้นพระเจ้า"ของพระพุทธองค์
    แม้บางท่านอาจไม่ค่อยเชื่ออรรถกถานัก แต่เมื่อได้อ่านแล้วก็น่าจะพอเห็นว่ามีเหตุมีผลอยู่
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]--> [FONT=&quot](คัดจาก อรรถกถา นิทานกถา[/FONT]
    [FONT=&quot]ว่าด้วย ทูเรนิทาน อวิทูเรนิทาน สันติเกนิทาน)[/FONT]

    [FONT=&quot]พระโพธิสัตว์เสด็จลงจากหลังม้า ประทับยืนที่เนินทรายอันเหมือนแผ่นเงิน[/FONT] [FONT=&quot]ตรัสเรียกนายฉันนะมาว่า ฉันนะผู้สหาย เธอจงพาเอาอาภรณ์และม้าของเราไป เราจักบวช ณ ที่นี้แหละ.[/FONT]
    [FONT=&quot]นายฉันนะกราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ แม้ข้าพระพุทธเจ้าก็จักบวชกับพระองค์ พระเจ้าข้า.[/FONT]
    [FONT=&quot]พระโพธิสัตว์ตรัสห้ามถึง ๓ ครั้งว่า เธอยังบวชไม่ได้[/FONT] [FONT=&quot]เธอจะต้องไป แล้วทรงมอบเครื่องอาภรณ์และม้ากัณฐกะให้ นายฉันทะรับไปแล้ว.[/FONT] [FONT=&quot]ทรงดำริว่า ผมทั้งหลายของเรานี้ ไม่สมควรแก่สมณะ ทรงดำริต่อไปว่า[/FONT] [FONT=&quot]ผู้อื่นที่สมควรจะตัดผมของพระโพธิสัตว์ ย่อมไม่มี.[/FONT] [FONT=&quot]เพราะเหตุนั้น เราจักตัดด้วยพระขรรค์นั้นด้วยตนเอง[/FONT] [FONT=&quot]จึงเอาพระหัตถ์ขวาจับพระขรรค์ เอาพระหัตถ์ซ้ายจับพระจุฬา (จุก)[/FONT] [FONT=&quot]พร้อมกับพระโมลี (มวยผม)[/FONT] [FONT=&quot]แล้วจึงตัดออกเส้นพระเกศาเหลือประมาณ ๒ องคุลี เวียนขวาแนมติดพระเศียร[/FONT] [FONT=&quot]พระเกศาได้มีประมาณเท่านั้น จนตลอดพระชนมชีพ.[/FONT] [FONT=&quot]และพระมัสสุ (หนวด) ก็ได้มีพอเหมาะพอควรกับพระเกศานั้น[/FONT] [FONT=&quot]ชื่อว่ากิจด้วยการปลงผมและหนวดมิได้มีอีกต่อไป.[/FONT] [FONT=&quot]พระโพธิสัตว์จับพระจุฬาพร้อมด้วยพระโมลี ทรงอธิษฐานว่า[/FONT] [FONT=&quot]ถ้าเราจักได้เป็นพระพุทธเจ้าไซร้ พระโมลีจงตั้งอยู่ในอากาศ.[/FONT] [FONT=&quot]ถ้าจักไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า จงตกลงบนภาคพื้น แล้วทรงโยนขึ้นไปในอากาศ[/FONT] [FONT=&quot]ม้วนพระจุฬามณีนั้นไปถึงที่ประมาณโยชน์หนึ่ง แล้วได้คงอยู่ในอากาศ.[/FONT] [FONT=&quot]ท้าวสักกเทวราชตรวจดูด้วยทิพยจักษุ จึงเอาผอบแก้วประมาณโยชน์หนึ่งรับไว้[/FONT] [FONT=&quot]นำไปประดิษฐานไว้ในพระเจดีย์[/FONT] [FONT=&quot]ชื่อว่าจุฬามณีในภพชั้นดาวดึงส์ เหมือนดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]อัครบุคคลผู้เลิศได้ตัดพระโมลี อันอบด้วยกลิ่นหอมอันประเสริฐแล้ว โยนขึ้นไปยังเวหา.[/FONT]
    [FONT=&quot]ท้าววาสวะผู้มีพระเนตรตั้งพัน เอาผอบทองอันประเสริฐทูนพระเศียรรับไว้แล้ว.[/FONT]
    <!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman";} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]
    [FONT=&quot][/FONT][/FONT]
     
  20. white sky

    white sky เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    38
    ค่าพลัง:
    +118
    รูปแรกดูคล้ายนักบวชฝ่ายมหายานครับ ดูจากหน้าตาแล้ว ก็เป็นชาวเอเชียตะวันออกหรือจีนญี่ปุ่นมองโกลอะไรทำนองนั้น เป็นไปได้ว่ารูปนี้อาจเป็นรูปของพระโพธิสัตว์ของมหายานท่านหนึ่งมากกว่าครับ

    และเป็นภาพที่น่าจะถูกเผยแพร่มาจากชาวตะวันตกอีกที(หรือปล่าว) จึงคิดว่าผู้เผยแพร่ไม่ได้มีความรู้ในเรื่องพุทธศาสนามากพอ อาจจะเข้าใจเป็นว่า พระโพธิสัตว์ก็คือพระพุทธเจ้า อะไรทำนองนี้

    ส่วนภาพ 2 รูปที่โพสมา เป็นรูปที่เหมือนจะถูกแต่งไปค่อนข้างมากจากต้นฉบับครับ มีอีกรูปหนึ่งที่น่าจะตรงต้นฉบับมากกว่าคือ ที่ผมโพสครับยังไม่เพี้ยนไป ต่างจากต้นฉบับตรงที่ไม่ใช่ภาพสี จะเห็นได้ว่าพระพักตร์ท่านงดงามมากครับ หรือพูดง่าย ๆ คือหล่อครับ หล่อแบบจับตาจับใจมากครับดูแล้วอยากดูอีกไม่มีเบื่อ คือพระพุทธเจ้าต้องมีคุณลักษณะนี้อยู่ครับ เพราะเพียบพร้อมไปด้วยบุญบารมีขั้นสูงสุดในทุกด้านแล้ว ใครเห็นครั้งแรกก็เกิดความรู้สึกรักใคร่ทันที และรูปนี้ดูตรงพุทธลักษณะมาก เหมือนผู้เขียนเขียนขึ้นจากนิมิตรแห่งอตีตังสญาณเลยทีเดียว ความพิเศษของภาพนี้อีกอย่างคือ พระพักตร์ท่านให้ความรู้สึกแห่งการ ตื่นรู้ และ เบิกบาน เรียบนิ่งเด็ดขาดจากกิเลส แต่ก็รู้สึกได้ถึงเมตตาแผ่ซ่านอย่างไม่มีประมาณ ซึ่งเป็นลักษณะที่เด่นแห่งพุทธศาสนาอย่างที่ไม่มีศาสนาใดเหมือน ความเข้าใจอย่างเปี่ยมล้นนี้ ผมคิดว่าผู้วาดภาพเผลอ ๆ อาจเป็นอริยะบุคคลท่านหนึ่งเลยทีเดียวก็เป็นได้ครับ

    ผมเห็นรูปนี้ครั้งแรก เกิดปีติท่วมท้น เมื่อนึกถึงพระพุทธเจ้า ภาพนี้ก็จะปรากฏขึ้นมาในหัวทุกครั้ง ลองคลิกเข้าไปดูกันนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • buddhaimage.jpg
      buddhaimage.jpg
      ขนาดไฟล์:
      39.3 KB
      เปิดดู:
      135
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 9 พฤษภาคม 2012

แชร์หน้านี้

Loading...