ฌานที่ ๕ มีจริงหรือ ?

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Phanudet, 22 ตุลาคม 2010.

  1. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    [​IMG]



    บางครั้งหลายท่านที่เคยศึกษาและสนใจในด้านการปฏิบัติ......อาจเคยได้ยิน.......ส่วนใหญ่เมื่อกล่าวถึงรูปฌาน ก็มี ๔ คือ ฌาน ๑ ถึง ๔......<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    น้อยคนนักที่จะเคยได้ยินว่า รูปฌานที่๕.......และอาจมีความข้องใจในครูบาอาจารย์หรือกัลญาณมิตรธรรมพูดถึงฌานที่๕......หรือพูดถึงสมาบัติ ๙......
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    วันนี้เรามาทำความเข้าใจ.....และศึกษากันว่ารูปฌานเขานับกันอย่างไร......และมีองค์ธรรมอย่างไรเพื่อการปฏิบัติ.....และความเข้าใจที่ถูกทาง......
     
  2. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    ในการแบ่งลำดับฌานนั้น.....มีการแบ่งไว้แบบสองอย่าง....คือ แบบ ฌานปัญจกนัย ตามแบบอภิธรรม และ ฌานจตุกนัย ตามแบบพระสุตันตปิฏก....เรามาดูข้อมูลอ้างอิงถึงการอธิบายและองค์ธรรมของณานกันครับ......

    ยกจาก... เอกสารประกอบการศึกษา พระอภิธรรมทางไปรษณีย์ ชุดที่ ๓ ตอนที่๒ เรื่องประเภทของจิต อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.......ได้อธิบายไว้ดังนี้.......



    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width=700><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[​IMG] </TD></TR><TR><TD>



    </TD></TR><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตามนัยแห่งพระอภิธรรม[/FONT] [FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]จำแนกประเภทของฌานไว้ ๕ ฌาน เรียกชื่อว่า[/FONT][FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC] ฌานปัญจกนัย ฌานทั้ง ๕ นี้ได้แก่[/FONT]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD width="17%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปฐมฌาน[/FONT]</TD><TD width="20%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๕[/FONT]</TD><TD width="7%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ [/FONT]</TD><TD width="9%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิตก[/FONT]</TD><TD width="11%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิจาร[/FONT]</TD><TD width="8%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปีติ [/FONT]</TD><TD width="12%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD width="16%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทุติยฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๔[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิจาร[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปีติ[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตติยฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๓[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปีติ[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]จตุตถฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๒[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปัญจมฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๒[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อุเบกขา [/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>

    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD><TABLE border=2 cellSpacing=0 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffece3>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]แต่ตามนัยแห่งพระสุตตันตปิฎก คือตามแนวแห่งพระสูตร จำแนกประเภทแห่งฌานออกเป็นฌาน ๔ เรียกว่า ฌานจตุกนัย ดังนี้[/FONT]</TD></TR><TR><TD bgColor=#ffffff height=*>
    <TABLE border=0 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%"><TBODY><TR><TD width="19%">[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปฐมฌาน[/FONT]</TD><TD width="18%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๕[/FONT]</TD><TD width="8%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]คือ [/FONT]</TD><TD width="9%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิตก[/FONT]</TD><TD width="11%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิจาร[/FONT]</TD><TD width="9%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปีติ [/FONT]</TD><TD width="13%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD width="13%" align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทุติยฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๔[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]วิจาร[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปีติ[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ตติยฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๓[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปีติ[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]สุข[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR><TR bgColor=#f6f6f6><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]จตุตถฌาน[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]มีองค์ฌาน ๒[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]"[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]-[/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]อุเบกขา [/FONT]</TD><TD align=middle>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เอกัคคตา[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    </TD></TR></TBODY></TABLE></B>


    </TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เหตุที่ทุติยฌาน ตามนัยแห่งพระอภิธรรม ละวิตกได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งต่างจากทุติยฌาน ตามนัย แห่งพระสุตตันตปิฎก ที่ละวิตกและวิจารได้พร้อมๆ กัน เป็นเพราะว่า การละวิตก และวิจารได้ในเวลาเดียวกัน สามารถกระทำได้เฉพาะ ผู้ปฏิบัติที่เป็นติกขบุคคล (ผู้รู้เร็ว) เท่านั้น[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]เหตุนี้ทางพระสูตร จึงแสดงว่า รูปฌานมี ๔ อรูปฌานมี ๔ รวมเป็นฌาน ๘ และเมื่อกล่าวโดยการเข้าฌานสมาบัติ จะเรียกว่า สมาบัติ ๘[/FONT]</TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ทางพระอภิธรรม แสดงว่า รูปฌานมี ๕ อรูปฌานมี ๔ รวมเป็น ฌาน ๙ หรือ สมาบัติ ๙[/FONT]</TD></TR><TR><TD></TD></TR><TR><TD>[FONT=BrowalliaUPC, CordiaUPC, AngsanaUPC]ปฐมฌานจะเกิดขึ้นได้ จะต้องมีองค์ฌานคือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ครบทั้ง ๕ เพื่อข่มนิวรณ์ทั้ง ๕ ให้สงบราบคาบ แต่หลังจาก ที่เข้าปฐมฌานได้อย่างชำนิชำนาญแล้ว นิวรณ์ทั้ง ๕ ที่เคยเป็นปฏิปักษ์กับฌานจิต ก็จะอ่อนกำลังลง จนไม่สามารถเข้าแทรกแซงได้ เพราะถูกข่มไว้ ด้วยอำนาจของปฐมฌานจิต เมื่อมาถึงตอนนี้ หากผู้ปฏิบัติต้องการได้ฌานที่สูงขึ้นไป ก็จะต้องละองค์ฌานเบื้องต่ำ อันได้แก่ วิตก วิจาร ปีติ สุข ตามลำดับ ฌานจิตก็จะเลื่อนสูงขึ้น ตามลำดับเช่นกัน[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE><O:p</O:p</B>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2010
  3. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    [​IMG]


    จากการศึกษาแล้ว..อาจกล่าวสรุปได้ว่า.....ไม่ว่าการแบ่งแบบ อภิธรรม หรือ สุตัน ก็ดี.....

    ในณานลำดับสุดท้ายของรูปฌาน...ก็ต้องมีสถาวะคือ อุเบกขา กับ เอกัคคตา อยู่ดี.....
     
  4. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    [​IMG]


    อ้างอิงเพิ่มเติมกับผู้ที่ต้องการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป......


    ในส่วนที่เราจะเห็นได้ในส่วนของพระสูตรที่มีการแบ่งแบบ ณานจตุกนัย.....


    ยกจาก...บางส่วนจาก พระไตรปิฏก ฉบับ ปฏิบัติ โดย ธรรมรักษา......เรื่อง สติปัฏฐานสูตร......


    .....สัมมาสมาธิเป็นไฉน ? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายในเป็นธรรมผุดขึ้น เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรสเริญว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข เธอบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อน ๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นแหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ อันนี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ .....

    เป็นต้น...


    _______________________________________________________




    [​IMG]



    ส่วนในส่วนของการแบ่งแบบ ณานปัญจกนัย นั้น มีหลักฐานในพระอภิธรรมปิฏก ดังนี้...

    อ้างจาก พระไตรปิฏก ฉบับ สำหรับประชาชน มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปภัมภ์ หน้า ๖๕๓ ว่าด้วยเรื่อง จิตฝ่ายกุศล....ดังนี้..


    ฝ่ายกุศล


    ๒. จิตที่เป็นกุศลหรือกุศลจิต แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ตามภูมิชั้นที่ ต่ำและสูง คือ :-
    ( ๑ ) กามาวจร คือจิตที่ท่องเที่ยวไปในกาม ที่เป็นฝ่ายกุศล<SUP></SUP>มี ๘
    ( ๒ ) รูปาวจร คือจิตที่ท่องเที่ยวไปในรูปที่เป็นฝ่ายกุศล ( หมายถึงจิตที่ได้ ฌาน คือฌานที่เพ่งรูปเป็นอารมณ์ ) มี ๕
    ( ๓ ) อรูปาวจร คือจิตที่ท่องเที่ยวไปในอรูปที่เป็นฝ่ายกุศล ( หมายถึงจิตที่ ได้อรูปฌาน คือฌานที่เพ่งนาม หรือสิ่งที่ไม่มีรูปเป็นอารมณ์ ) มี ๔.
    ( ๔ ) โลกุตตระ คือจิตที่พ้นจากโลก ( หมายถึงจิตที่เป็นมรรค ๔ ) มี ๔. รวมเป็นจิตที่เป็นฝ่ายกุศล หรือฝ่ายดี ๔ ประเภทใหญ่ แบ่งเป็น ๒๑ ชนิด.

    ___________________

    '๑' . ที่ใช้คำว่า เป็นฝ่ายกุศลกำกับเพื่อไม่ให้หลงหัวข้อ เพราะในที่นี้กล่าวเฉพาะกุศลหรือฝ่ายดีเท่านั้น ยังมี ฝ่ายที่เป็นกลาง ๆ หรืออัพยากฤตที่แบ่งออกเป็นกามาวจร, รูปาวจร, อรูปาวจร และโลกุตตระเช่นกัน ​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 ตุลาคม 2010
  5. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    หวังว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย....สำหรับผู้ที่ชอบด้านการศึกษา.....ตลอดจนทั้งผู้ที่ปฏิบัติเพื่อเช็คกำลังและลำดับสมาธิที่ตนเองปฏิบัติได้.....

    ทั้งนี้ยังมีส่วนที่สามารถนำมาอ้างอิงต่อได้อีกหลายส่วน.....คงจะต้องปล่อยให้ท่านที่ต้องการศึกษาเพิ่มเติม..ศึกษาเองนะครับ.....

    เจริญในธรรมกันทุกท่าน......
     
  6. ปลายแสง

    ปลายแสง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 ตุลาคม 2010
    โพสต์:
    11
    ค่าพลัง:
    +70
    ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆค่ะ เพิ่งเริ่มนั่งสมาธิค่ะ แม่บอกให้ศึกษาให้ดีค่ะว่าเค้าปฏิบัติกันยังไง แต่ดิฉันทั้งนอนและนั่ง นอนก็ทำสมาธิ นั่งบนรถก็ทำ นอนตะแครงก็ทำ ไม่เคยกำหนดลมให้ใจเข้าออกเลย แต่รู้สึกเองว่าตัวเองได้สมาธิ คงไม่ผิดใช่ไหมค่ะ สำคัญที่สุดที่จิตเราใช่ไหมค่ะ ไม่ใช่ที่ท่าทางหรือสถานที่ ที่คิดอยู่ไม่ทราบว่าถูกรึเปล่าช่วยแนะนำด้วยค่ะ
     
  7. อวตาร.

    อวตาร. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    411
    ค่าพลัง:
    +633
    คู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน ----> หน้า 30

    จิตเข้าสู่ระดับฌาน
    เมื่อปฏิภาคนิมิตเกิดขึ้นแล้ว จิตก็เข้าระดับฌาน อารมณ์ของฌานในกสิณทั้ง ๑๐
    อย่างนั้นมีอารมณ์ดังนี้ ฌานในกสิณนี้ท่านเรียกว่าฌาน ๔ บ้าง ฌาน ๕ บ้าง เพื่อเป็นการ
    ป้องกันการเข้าใจผิด ขออธิบายฌาน ๔ และ ฌาน ๕ ให้เข้าใจเสียก่อน

    ฌาน ๔
    ฌาน ๔ ท่านเรียกว่า จตุตถฌาน ท่านถืออารมณ์อย่างนี้
    ๑. ปฐมฌานมีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
    ๒. ทุติยฌานมีองค์ ๓ คือ ละวิตกและวิจารเสียได้ คงดำรงอยู่ในองค์ ๓ คือ ปีติ
    สุข เอกัคคตา
    ๓. ตติยฌานมีองค์ ๒ คือ ละวิตก วิจาร ปีติ เสียได้ ดำรงอยู่ในสุขกับเอกัคคตา
    ๔.จตุตถฌานมีองค์ ๒ คือ ละวิตก วิจาร ปีติ สุข เสียได้ คงทรงอยู่ในเอกัคคตา
    กับเพิ่มอุเบกขาเข้ามาอีก ๑
    ฌาน ๔ หรือที่เรียกว่ากสิณทั้งหมดทรงได้ถึง ๔ ท่านจัดไว้อย่างนี้ สำหรับในที่บางแห่ง
    ท่านว่ากสิณทั้งหมดทรงได้ถึงฌาน ๕ ท่านจัดของท่านดังต่อไปนี้

    ฌาน ๕
    ๑. ปฐมฌานมีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
    ๒. ทุติยฌานมีองค์ ๔ คือ ละวิตกเสียได้ คงทรง วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
    ๓. ตติยฌานมีองค์ ๓ คือ ละวิตก วิจาร เสียได้ คงทรง ปีติ สุข เอกัคคตา
    ๔.จตุตถฌานมีองค์ ๒ คือ ละวิตก วิจาร ปีติ เสียได้ คงทรงสุขกับเอกัคคตา
    ๕. ฌาน ๕ หรือที่เรียกว่า ปัญจมฌาน มีองค์สองเหมือนกันคือ ละวิตก วิจาร ปีติ
    สุขเสียได้ คงทรงอยู่ในเอกัคคตา และเพิ่มอุเบกขาเข้ามาอีก ๑
    เมื่อพิจารณาดูแล้ว ฌาน ๔ กับฌาน ๕ ก็มีสภาพอารมณ์เหมือนกัน ผิดกันนิดหน่อยที่
    ฌาน ๒ ละองค์เดียว ฌาน ๓ ละ ๒ องค์ ฌาน ๔ ละ ๓ องค์ มาถึงฌาน ๕ ก็มีสภาพเหมือน
    ฌาน ๔ ตามนัยนั่นเอง อารมณ์มีอาการเหมือนกันในตอนสุดท้าย อารมณ์อย่างนี้ ท่านแยก
    เรียกเป็นฌาน ๔ ฌาน ๕ เพื่ออะไรไม่เข้าใจเหมือนกัน กสิณนี้ถ้าท่านผู้ปฏิบัติทำให้ถึงฌาน
    ๔ หรือฌาน ๕ ซึ่งมีอารมณ์เป็นเอกัคคตารมณ์ และอุเบกขารมณ์ไม่ได้ ก็เท่ากับท่านผู้นั้น
    ไม่ได้เจริญในกสิณนั้นเอง เมื่อได้แล้วก็ต้องฝึกการเข้าฌานออกฌานให้คล่องแคล่ว กำหนด
    เวลาเข้า เวลาออกให้ได้ตามกำหนด จนเกิดความชำนาญ เมื่อเข้าเมื่อไร ออกเมื่อไรได้ตาม
    ใจนึก การเข้า ฌานต้องคล่องไม่ใช่เนิ่นช้าเสียเวลาแม้ครึ่งนาที พอคิดว่าเราจะเข้าฌานละก็
    เข้าได้ทันที ต้องยึดฌาน ๔ หรือฌาน ๕ คือเอาฌานที่สุดเป็นสำคัญ เมื่อเข้าฌานคล่องแล้ว
    ต้องฝึกนิรมิตตามอำนาจกสิณให้ได้คล่องแคล่วว่องไว จึงจะชื่อว่าได้กสิณกองนั้น ๆ ถ้ายังทำ
    ไม่ได้ถึง ไม่ควรย้ายไปปฏิบัติในกสิณกองอื่น การทำอย่างนั้นแทนที่จะได้ผลเร็ว กลับเสียผล
    คือของเก่าไม่ทันได้ ทำใหม่เก่าก็จะหาย ใหม่ก็จะไม่ปรากฏผล ถ้าชำนาญช่ำชองคล่องแคล่ว
    ในการนิรมิตอธิษฐานแล้วเพียงกองเดียว กองอื่นทำไม่ยากเลย เพราะอารมณ์ในการ
    ฝึกเหมือนกันต่างแต่สีเท่านั้น จะเสียเวลาฝึกกองต่อๆ ไป ไม่เกินกองละ ๗ วัน หรือ ๑๕ วัน
    เป็นอย่างสูง จะนิรมิตอธิษฐานได้สมตามที่ตั้งใจของนักปฏิบัติ จงอย่าใจร้อน พยายามฝึกฝน
    จนกว่าจะได้ผลสูงสุดเสียก่อนจึงค่อยย้ายกองต่อไป

    �Ե��������дѺ�ҹ
     
  8. หาธรรม

    หาธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,164
    ค่าพลัง:
    +3,739
    สาธุ

    ในอภิธรรมจะแบ่งตามนั้นแหละครับ รูปฌาน ๕

    เอามาลงนี่ดีเหมือนกันจะได้ความรู้กันมากขึ้น
     
  9. Mr.Boy_jakkrit

    Mr.Boy_jakkrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    2,063
    ค่าพลัง:
    +2,676
    เห็นชอบแล้วครับ การสนทนาธรรมหรือเสวนาธรรมนั้น
    เหมาะสมที่สุดสำหรับการยกหัวข้ออภิธรรมมากล้าวอ้างอิง
    และเป็นกุศลจิตที่จะนำมากล่าว แต่ก็ควรระมัดระวังในการใช้มาอ้างอิง
    เพราะบางท่านอาจจะนำมาอ้างเพื่อเป็นการแย้งอีกฝ่ายเรียกฝ่ายอกุศล

    ที่นำมานี้ทำได้ดีแล้วทำได้ชอบแล้วครับ บุคคลอื่นๆหรือแม้แต่ผมเองก็จะได้ถือโอกาศศึกษาด้วยเช่นกันครับ

    อนุโมทนาจิตอันเป็นกุศลด้วยครับ สาธุ
     
  10. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,646
    ถ้าเป็นการระลึกได้ในสถาวะนั้นๆ...ตอนเวลาปฏิบัติ......ก็ถือว่าถูกครับ.....

    คือสติรู้อริยาบทต่างๆ....เพื่อไม่ให้กระจายไปที่อื่นฟุ้งไปในเรื่องอื่น...ให้รับรู้ภาวะความเป็นจริงแห่งกายในขณะนั้นๆ...(อริยาบถบรรพ ในสติปัฏฐานสูตร)

    ถูกครับสำคัญที่จิตนะ.....แต่คนที่จะรู้ได้ว่าจิตเป็นอย่างไร..รู้ชัด....จริงๆแล้ว...ก็ไม่ใช่อะไรที่ง่ายมากนักนะ.........
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 ตุลาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...