คุณธรรมและคุณสมบัติของผู้ที่มุ่งเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย ธัชกร, 7 กุมภาพันธ์ 2010.

  1. ธัชกร

    ธัชกร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    267
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,040
    [​IMG]



    [​IMG]



    พระสัมมาสัมพุทธเจ้า


    วารสารสิรินธรปริทรรศน์


    พระสัมมาสัมพุทธเจ้า : หลักการและการวิเคราะห์


    มานพ นักการเรียน อาจารย์ประจำ, ป.ธ.๖, ศน.ม.(พุทธศาสนาและปรัชญา)

    คัดลอกจาก http://www.src.ac.th/web/jurnal/issu3/buddha.htm
    บทนำ
    ในวัฒนธรรมของพระพุทธศาสนา พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพุทธะหรือพระพุทธเจ้าที่ได้รับความสนใจใคร่ศึกษาและปฏิบัติตามจากชาวพุทธมากที่สุด มีความรู้ คุณธรรมและความสามารถทางด้านต่างๆ เช่น การเผยแผ่ธรรม เป็นต้น เหนือกว่าพุทธะประเภทอื่นๆตามรูปศัพท์แล้ว คำว่า "พุทธะ" หรือ "พระพุทธเจ้า" หมายถึง ท่านผู้ตรัสรู้แล้ว แต่เรามักใช้ในความหมายแคบ โดยมุ่งเฉพาะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น แต่แท้จริงยังรวมถึงพุทธะหรือพระพุทธเจ้าอีก ๒ ประเภทด้วย
    พุทธะหรือพระพุทธเจ้า มี ๓ ประเภท คือ:-
    ๑. พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือท่านผู้ตรัสรู้เองและสอนผู้อื่นให้รู้ตาม
    ๒. พระปัจเจกพุทธเจ้า คือ ท่านผู้ตรัสรู้เฉพาะตนเอง สอนผู้อื่นได้เหมือนกันแต่ไม่อาจทำให้ผู้นั้นบรรลุตามได้ ถึงจะบรรลุได้ ก็ต้องอาศัยความถึงพร้อมของผู้นั้นเป็นหลัก อุบัติขึ้นในช่วงพุทธันดร ซึ่งช่วงนี้ไม่มีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอุบัติขึ้น
    ๓. พระอนุพุทธเจ้า เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระสาวกพุทธเจ้า คือ ท่านผู้ตรัสรู้ตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    พระโพธิสัตว์ : ผู้ที่มุ่งเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    ใครก็ตามจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จะต้องผ่านขั้นตอนของการเป็นพระโพธิสัตว์เสียก่อน ในพระพุทธศาสนาเถรวาท พระโพธิสัตว์ หมายถึง ผู้ปรารถนาให้ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาจากคำภาษาสันสกฤตว่า "โพธิสตฺตฺว" ตรงกับคำภาษาบาลีว่า "โพธิสตฺต" แปลว่า "ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ" ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า a Buddha- to- be , Enlightenment-being
    พระพุทธโฆสะ พระอรรถกถาจารย์ชาวอินเดีย ได้แบ่งพระโพธิสัตว์เป็น ๒ ประเภท คือ;-
    ๑. พระนิยตโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างแน่นอน โดยได้รับการพยากรณ์ว่าจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคต จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึ่ง ในชาติที่ได้รับการพยากรณ์ จะต้องมีคุณสมบัติและคุณธรรมพิเศษที่เรียกว่า ธรรมสโมธาน ครบทั้ง ๘ ประการ
    ๒. พระอนิยตโพธิสัตว์ คือพระโพธิสัตว์ผู้ยังไม่แน่ว่าจะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่ เพราะยังไม่ได้รับการพยากรณ์ว่าจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคต จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ใดพระองค์หนึ่ง เนื่องจากมีธรรมสโมธานไม่ครบ
    นอกจากนั้น พระนิยตโพธิสัตว์ ยังแบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ:-
    ๑. พระโพธิสัตว์ประเภทปัญญาธิกะ (ยิ่งด้วยปัญญา) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์ประเภทอุคฆฏิตัญญู คือ พระโพธิสัตว์ผู้มีปัญญาเป็นองค์ธรรมนำในการเริ่มบำเพ็ญบารมี ท่านจะบำเพ็ญบารมีอยู่ ๔ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป
    ๒. พระโพธิสัตว์ประเภทสัทธาธิกะ (ยิ่งด้วยศรัทธา) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์ประเภทวิปจิตัญญู คือ พระโพธิสัตว์ผู้มีศรัทธาเป็นองค์นำในการเริ่มบำเพ็ญบารมี ท่านจะบำเพ็ญบารมีอยู่ ๘ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป
    ๓. พระโพธิสัตว์ประเภทวิริยาธิกะ (ยิ่งด้วยวิริยะ) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์ประเภทเนยยะ คือพระโพธิสัตว์ผู้มีวิริยะเป็นองค์ธรรมนำในการเริ่มบำเพ็ญบารมี ท่านจะบำเพ็ญบารมีอยู่ ๑๖ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป
    ปรมัตถโชติกา <SUP></SUP> อรรถกถาของสุตตนิบาต ชี้แจงว่า พระนิยตโพธิสัตว์ หลังจากชาติที่ตั้งปณิธานเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ไม่ประกอบด้วยฐานะที่ไม่สมควร (อภัพฐานะ) ๑๘ ประการ คือ:-
    <TABLE style="BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px; WIDTH: 85%; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px" id=table1 class=MsoTableGrid border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="85%"><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑. ไม่เป็นคนบอดแต่กำเนิด


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๐.ไม่ทำอนันตริยกรรม ๕ อย่าง


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๒.ไม่เป็นคนหนวกแต่กำเนิด


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๑.ไม่เป็นคนโรคเรื้อน


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๓.ไม่เป็นคนบ้า


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๒.อัตภาพสุดท้ายไม่เวียนมาในกำเนิดเดรัจฉาน


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">.ไม่เป็นคนใบ้


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๓.ไม่มีอัตภาพใหญ่กว่าช้าง


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">.ไม่เป็นคนแคระ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๔.ไม่เกิดในขุปปิปาสิกเปรตและนิชฌามตัณหิกเปรต


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">.ไม่เกิดในชนชาติมิลักขะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๕.ไม่เกิดในจำพวกกาลัญชิกาสูรทั้งหลาย


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๗.ไม่เกิดในท้องของนางทาสี


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๖.ไม่เกิดในอเวจีนรก


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๘.ไม่เป็นคนที่มีความเห็นผิดที่แน่วแน่


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๗.ไม่เกิดในโลกันตริกนรก


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: #000000; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๙.ไม่เป็นคนกลับเพศ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 50%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="50%">๑๘.ไม่เป็นมารในสวรรค์ชั้นกามาวจร ไม่เกิดใน อสัญญีภพ ในรูปาวจรภูมิ ไม่เกิดในอันติมภพไม่ก้าวไปสู่จักรวาลอื่น


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    คุณธรรมและคุณสมบัติของผู้ที่มุ่งเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    จากการศึกษาคัมภีร์พระพุทธศาสนา สามารถประมวลได้ว่า ผู้ที่มุ่งเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (คือขณะเป็นพระโพธิสัตว์) จะต้องประกอบด้วยคุณธรรมและคุณสมบัติ ดังนี้:-
    ๑. บารมี คือคุณความดีที่ควรบำเพ็ญมี ๑๐ อย่าง คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ (การออกจากกาม คือบวช) ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา และอุเบกขา
    ๒. โพธิปักขิยธรรมคือธรรมที่เป็นฝักฝ่ายหรือเกื้อกูลแก่การตรัสรู้ มี ๗ หมวด แต่เมื่อแยกเป็นหัวข้อย่อยแล้วรวมได้ ๓๗ หัวข้อ ประกอบด้วยสติปัฏฐาน ๔, สัมมัปปธาน ๔, อิทธิบาท ๔, อินทรีย์ ๕, พละ ๕, โพชฌงค์ ๗ และมรรคมีองค์ ๘
    ทั้งบารมี ๑๐ และโพธิปักขิยธรรม ๓๗ รวมเรียกว่า พุทธการกธรรม คือธรรมที่กระทำให้เป็นพุทธะ
    ๓. ธรรมสโมธาน คือการรวมกันขององค์ธรรม ๘ ประการ ในชาติที่จะได้รับการพยากรณ์เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือชาติแรกแห่งพระนิยตโพธิสัตว์ จะต้องมีธรรมสโมธานครบทั้ง ๘ ประการ<SUP></SUP> คือ:-
    ๑.มนุสฺสตฺตํ คือเป็นมนุษย์เท่านั้น
    ๒.ลิงฺคสมฺปตฺติ คือถึงพร้อมด้วยเพศ มุ่งเฉพาะเพศชายเท่านั้น
    ๓.เหตุ คือมีเหตุให้บรรลุพระอรหันต์ได้ แต่ไม่ยินดีเพียงแค่นี้
    .สตฺถารทสฺสนํ คือเห็นพระศาสดาองค์ใดองค์หนึ่งซึ่งยังมีพระชนม์อยู่
    .ปพฺพชฺชา คือบวชเป็นบรรพชิต
    .คุณสมฺปตฺติ คือมีคุณธรรม อันได้แก่ อภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘
    .อธิกาโร คือมีการกระทำอันยิ่งถึงขั้นสละชีวิตของตนเองเพื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง
    ๘.ฉนฺทตา คือมีความปรารถนาแรงกล้า แม้จะเผชิญต่ออุปสรรคนานัปประการ ก็ไม่ท้อถอย
    ๔. พุทธภูมิ คือพื้นจิตใจแห่งพุทธะ ๔ ประการ<SUP></SUP>ในชาติดังกล่าว ต้องประกอบด้วยพุทธภูมิ ๔ ประการ ประกอบด้วย อุตสาหะคือความเพียร, อุมมังคะคือปัญญา, อวัฏฐานะคืออธิษฐาน (ความมั่นคงเด็ดเดี่ยว แน่วแน่ในทางดำเนินและจุดมุ่งหมายของตน) และหิตจริยาคือการเจริญเมตตา
    ๕. อัธยาศัย(นิสัยใจคอ) ๖ ประการ<SUP></SUP>ในชาตินั้น ต้องประกอบด้วยอัธยาศัย ๖ ประการ ได้แก่ อัธยาศัยเพื่อเนกขัมมะ, อัธยาศัยเพื่อปวิเวก, อัธยาศัยเพื่อความไม่โลภ, อัธยาศัยเพื่อความไม่โกรธ, อัธยาศัยเพื่อความไม่หลง และอัธยาศัยเพื่อความสลัดออก

    จำนวนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    คัมภีร์พุทธวงศ์ <SUP></SUP> แห่งขุททกนิกาย เสนอพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ ๒๕ พระองค์ โดยนับแต่พระองค์แรกที่พระโคตมะได้ทรงพบและทรงได้รับการพยากรณ์ว่าจะได้สำเร็จเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (รวมทั้งพระโคตมะเองด้วย) คือ:-
    <TABLE style="BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px; WIDTH: 80%; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px" id=table2 class=MsoTableGrid border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%"><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑.พระทีปังกร


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๙.พระนารทะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๗.พระติสสะ


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒.พระโกนาคมนะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๐.พระปทุมุตตระ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๘.พระปุสสะ


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๓.พระมังคละ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๑.พระสุเมธะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๙.พระวิปัสสี


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๔.พระสุมนะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๒.พระสุชาตะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒๐.พระสิขี


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๕.พระเรวตะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๓.พระปิยะทัสสี


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒๑.พระเวสสภู


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๖.พระโสภิตะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๔.พระอัตถทัสสี


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒๒.พระกกุสันธะ


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๗.พระอโนมทัสสี


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๕.พระธัมมทัสสี


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒๓.พระโกนาคมนะ


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๘.พระปทุมะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๑๖.พระสิทธัตถะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒๔.พระกัสสปะ


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>๒๕.พระโคตมะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 142.05pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=189>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    อาฏานาฏิยปริตร เสนอพระนามของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ ๒๘ พระองค์ โดยเพิ่มจากคัมภีร์พุทธวงศ์อีก ๓ พระองค์ก่อนพระทีปังกร คือพระตัณหังกร พระเมธังกร และพระสรณังกร พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ใกล้กาลปัจจุบันที่สุดและคัมภีร์กล่าวถึงบ่อยๆ คือ พระวิปัสสี พระสิขี พระเวสสภู พระกกุสันธะ พระโกนาคมนะ พระกัสสปะ และพระโคตมะ
    บทสวดมนต์สมฺพุทฺเธ กล่าวถึงจำนวนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมแล้ว ๓,๕๘๔,๑๙๒ พระองค์
    ส่วนอาฏานาฏิยปริตร ระบุจำนวนขององค์พระสัมมาพุทธเจ้าไว้หลายร้อยโกฏิ( เอเตจญฺเญ จ สมฺพุทฺธา อเนกสตโกฏิโย .)
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคต ขณะนี้เป็นพระโพธิสัตว์ ต่อจากพระโคตมะ มี ๑๐ พระองค์ <SUP></SUP> คือ :-
    <TABLE style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 80%; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" id=table3 class=MsoTableGrid border=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%"><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: windowtext; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.32%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๑.พระเมตไตย (คือพระเมตไตรย)


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๔.พระอภิภู


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๗.สุภพราหมณ์


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: windowtext; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.32%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๒.พระรามผู้สูงสุด


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๕.เทวดาชื่อทีฆโสณี


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๘.โตเทยยพราหมณ์


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: windowtext; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.32%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๓.พระเจ้าปเสนทิโกศล


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๖.จังกีพราหมณ์


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๙.ช้างนาฬาคิรี


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: windowtext; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.32%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">๑๐. ช้างปาลิเลยยกะ


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">


    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: windowtext; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 33.34%; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: windowtext; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width="33%">


    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    พระนามของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคตทั้งหมด ยกเว้นพระเมตไตรยไม่ปรากฏเด่นชัดในฝ่ายเถรวาท แม้แต่คำว่า พระเมตไตรยหรือพระเมตไตย ก็พบเพียงไม่กี่แห่งในตำราภาษาบาลี อาทิเช่นในพระไตรปิฎก คือจักกวัตติสูตร สีหนาทสูตร และพุทธวงศ์ และในอรรถกถา อาทิเช่น สุมังคลวิลาสินี มธุรัตถวิลาสินี สารัตถปกาสินี อัฏฐสาลินี

    ในทัศนะส่วนตัวแล้ว ผู้เขียนไม่ได้ติดใจพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่ามีอยู่จำนวนเท่าไร หรือว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในอนาคตมีพระนามว่าอะไรบ้าง แต่ขอเสนอเป็นหลักการว่า ผู้ใดก็ตามปฏิบัติตามเงื่อนไขของการเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือบำเพ็ญพุทธการกธรรม และในชาติที่จะได้รับการพยากรณ์ ประกอบด้วยธรรมสโมธาน ๘ ประการ พุทธภูมิ ๔ ประการ และอัธยาศัย ๖ ประการ ผู้นั้นสามารถเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้
    ดังนั้น จึงอาจจะมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นร้อย เป็นล้าน หรือเป็นโกฏิพระองค์ ไม่จำเป็นต้องยืมแนวคิดมาจากฝ่ายมหายานแต่อย่างใด ทั้ง ๒ นิกายสามารถมีทัศนะตรงลงรอยกันได้


    <TABLE id=table4 border=1 width="100%" bgColor=#eae4d7><TBODY><TR><TD>เชิงอรรถ
    ๑.สุตฺต.อ. ๑/๔๖-๔๗.
    ๒.สุตฺต.อ. ๑/๔๕.
    .สุตฺต.อ.๑/๔๗.
    .สุตฺต.อ. ๑/๔๗.
    .ขุ.พุทฺธ. ๓๓/๔๖๖-๕๗๖.
    .โสตตฺถกี (โสตัตถกีมหานิทาน),หน้า ๙๖.
    .โสตตฺถกี, หน้า ๒๔-๒๘.
    .องฺ.เอก.๒๐/๒๗๙



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2010
  2. ธัชกร

    ธัชกร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    267
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,040
    พุทธการกธรรม ธรรมที่จะทำให้เป็นพระพุทธเจ้า

    [​IMG]



    อัฏฐธรรมสโมธาน

    ความถึงพร้อมด้วยธรรม ๘ ประการ
    พระโพธิ์สัตว์คือ ผู้ตั้งความปรารถนาที่จะเป็นพระพุทธเจ้า ความปรารถนานี้จะสำเร็จหรือไม่นั้น สิ่งหนึ่งที่จะบอกได้ คือ การได้รับพุทธพยากรณ์ ในชาติที่พระโพธิ์สัตว์จะได้รับพุทธพยากรณ์ (ครั้งแรก) นั้น นอกจากจะต้องบำเพ็ญบารมีมามากพอแล้ว ในชาตินั้นยังจะต้องถึงพร้อมด้วยธรรม ๘ ประการคือ
    . เกิดเป็นมนุษย์
    . เกิดเป็นชาย
    . สามารถสำเร็จเป็นพระอรหันต์ได้ในชาตินั้น
    . ได้พบพระพุทธเจ้า
    . ได้ออกบวช
    . สมบูรณ์ด้วยสมาบัติ ๘ อภิญญา ๕
    . ยอมสละชีวิตตนเพื่อพระพุทธเจ้าได้
    . มีฉันทะ วิริยะ อุตสาหะ แสวงหาอย่างใหญ่ เพื่อประโยชน์แก่พุทธการกธรรมทั้งหลาย
    พุทธการกธรรม

    พระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ หลังจากที่ได้รับพุทธพยากรณ์ ครั้งแรกว่า ท่านจะได้เป็นพระพุทธเจ้าแน่แท้ในอนาคต แล้วก็จะพิจารณา พุทธการธรรม (ธรรมที่ทำให้เป็นพระพุทธเจ้า) ซึ่งพระโพธิ์สัตว์องค์ก่อนๆ ได้บำเพ็ญมาแล้ว ว่ามีอะไรบ้าง และจะต้องบำเพ็ญหรือปฏิบัติต่อข้อธรรมแต่ละข้ออย่างไร
    พระโพธิ์สัตว์จะพิจารณาพุทธการกธรรมทีละข้อ ๆ เมื่อพิจารณาจบแต่ละข้อ ก็จะหาต่อไปว่า ยังมีธรรมข้ออื่นที่ต้องบำเพ็ญอีกหรือไม่ ถ้าพบว่ายังมีอีก ก็จะพิจารณาต่อไปอีก จนครบทั้งหมด ๑๐ ข้อ ซึ่งก็คือ บารมี ๑๐ หรือ ทศบารมี นั่นเอง
    พุทธการธรรมที่พระโพธิสัตว์พิจารณา และเห็นว่าเป็นธรรมที่ต้องบำเพ็ญเพื่อความเป็นพระพุทธเจ้า มีดังนี้
    ๑. ทานบารมี ในข้อนี้พระโพธิ์สัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญทานบารมี เหมือนอย่าง หม้อน้ำที่มีน้ำเต็มแล้วคว่ำลง หม้อน้ำนี้ย่อมคายน้ำออกจนหมดสิ้นฉันใด เราก็พึงให้ทานแก่ยาจก โดยไม่มีส่วนเหลือฉันนั้น
    ๒. ศีลบารมี ในข้อนี้พระโพธิสัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญศีลบารมี เหมือนอย่าง จามรี ชื่อว่าจามรีย่อมไม่อาลัยแม้ชีวิต รักษาพวงหางของตนฉันใด เราก็พึงรักษาศีล โดยไม่อาลัยแม้ชีวิตฉันนั้น
    ๓. เนกขัมมบารมี ในข้อนี้พระโพธิสัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไปเราพึงบำเพ็ญเนกขัมมบารมี เหมือนอย่าง นักโทษ ที่ถูกขังและได้รับทุกข์ทรมานในเรือนจำเป็นเวลานาน เขาผู้นั้นย่อมไม่อยากอยู่ในเรือนจำ ต้องการพ้นออกไปฉันใด เราก็พึงเห็นภพทั้งปวงเป็นเสมือนเรือนจำ อยากพ้นไปจากภพทั้งปวงด้วยการมุ่งสู่เนกขัมมะฉันนั้น
    . ปัญญาบารมี ในข้อนี้พระโพธิสัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญปัญญาบารมี เหมือนอย่าง พระภิกษุ พระภิกษุเมื่อออกบิณฑบาตโดยไม่เลือกตระกูลว่าจะมีฐานะสูง ต่ำ หรือปานกลาง ย่อมได้อาหารเพียงพอแก่อัตภาพฉันใด เราก็พึงเข้าไปหาบัณฑิตทุกท่าน เพื่อถามปัญหาฉันนั้น
    ๕. วิริยะบารมี ในข้อนี้พระโพธิสัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญวิริยะบารมี เหมือนอย่าง พญาราชสีห์ ชื่อว่าพญาราชสีห์ย่อมมีความเพียร ไม่ย่อหย่อนในอิริยาบถทุกเมื่อฉันใด เราก็พึงมีความเพียรอันมั่นคงในภพทั้งปวงฉันนั้น
    ๖. ขันติบารมี ในข้อนี้พระโพธิ์สัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญขันติบารมี เหมือนอย่าง แผ่นดิน ชื่อว่าแผ่นดินย่อมทนได้ต่อสิ่งของที่มีผู้ทิ้งลงไป ไม่ว่าจะสะอาดหรือสกปรกฉันใด เราก็พึงเป็นผู้อดทนต่อการยกย่องและการดูหมิ่นของคนทั้งปวงได้ฉันนั้น
    ๗. สัจจบารมี ในข้อนี้พระโพธิ์สัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญสัจจบารมีเหมือนอย่าง ดาวประกายพรึก ชื่อว่าดาวประกายพรึกย่อมไม่หลีกออกไปทางอื่น โคจรอยู่เฉพาะในทางของตนฉันใด เราก็พึงไม่ก้าวล่วงจากวิถีในสัจจะ พูดแต่ความจริงฉันนั้น
    ๘. อธิษฐานบารมี ในข้อนี้พระโพธิ์สัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไปเราพึงบำเพ็ญอธิฐานบารมี เหมือนอย่าง ภูผาหิน ชื่อว่า ภูผาหินย่อมตั้งมั่นอยู่ได้ ไม่หวั่นไหวด้วยแรงลมฉันใด เราก็จงเป็นผู้ตั้งมั่นไม่คลอนแคลนในอธิฐานบารมีฉันนั้น
    ๙. เมตตาบารมี ในข้อนี้พระโพธิ์สัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไป เราพึงบำเพ็ญบารมี เหมือนอย่าง น้ำ ชื่อว่าน้ำย่อมทำให้รู้สึกและชำระฝุ่นผงทั้งแก่คนดีและคนไม่ดีเสมอกันฉันใด เราก็พึงแผ่เมตตาทั้งแก่คนที่ทำประโยชน์และคนที่ไม่ได้ทำประโยชน์เสมอกันฉันนั้น
    ๑๐. อุเบกขาบารมี ในข้อนี้พระโพธิสัตว์จะตั้งใจว่า นับแต่นี้ไปเราพึงบำเพ็ญอุเบกขาบารมี เหมือนอย่าง แผ่นดิน ชื่อว่าแผ่นดินย่อมวางเฉย ไม่รู้สึกยินดียินร้ายต่อสิ่งของที่มีผู้ทิ้งลงไป ไม่ว่าจะสะอาดหรือไม่สะอาดฉันใด เราก็พึงเป็นผู้วางเฉย มีใจเสมอกันทั้งในความสุขและความทุกข์ฉันนั้น
    เมื่อพิจารณาจนเห็นพุทธการกธรรมทั้ง ๑๐ ข้อนี้แล้ว พระโพธิสัตว์ก็รู้ว่าธรรมทั้งหลายที่พระโพธิสัตว์องค์ก่อนๆ ได้บำเพ็ญ มาแล้ว เพื่อความเป็นพระพุทธเจ้ามีเพียงเท่านี้ ไม่มีข้ออื่นอีก และธรรมเหล่านี้ ก็ไม่ได้มีอยู่แม้ในอากาศหรือในทิศใดๆ เลย
    "แต่ว่าตั้งอยู่ในใจของเราเท่านั้น เราพึงตั้งใจมั่นในบารมีเหล่านี้ทั้งหมด""
    พระโพธิ์สัตว์จะพิจารณาพุทธการกธรรมทั้ง ๑๐ ข้อนี้ทั้งอนุโลมและปฏิโลม คือจากต้นไปยังปลาย และจากปลายย้อนกลับมายังต้น เมื่อพระโพธิสัตว์พิจารณาอยู่อย่างนี้อยู่หลายรอบ แผ่นดินก็ไหว เกิดเสียงกัมปนาท
    มนุษย์และเทวดาที่อยู่ในที่นั้น ต่างพากันมาบูชาพระโพธิสัตว์ด้วยดอกไม้ และของหอม เป็นต้น กล่าวสดุดีพระโพธิ์สัตว์ว่า "วันนี้ท่านปรารถนา ความปรารถนาอันยิ่งใหญ่ ขอความปรารถนานั้นจงสำเร็จแก่ท่าน"
    มหาวิโลกนะ

    มหาวิโลกนะ "การตรวจดูอันยิ่งใหญ่" ข้อตรวจสอบพิจารณาที่สำคัญ หมายถึง สิ่งที่พระโพธิสัตว์ทรงพิจารณาตรวจดู ก่อนจะตัดสินพระทัยประทานปฏิญาณรับอาราธนาของเทพยดาทั้งหลาย ว่าจะจุติจากดุสิตเทวโลก ไปบังเกิดในพระชาติสุดท้ายที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า มี ๕ อย่าง (นิยมเรียกว่า ปัญจมหาวิโลกนะ) คือ
    ๑. กาล คือ อายุกาลของมนุษย์จะต้องอยู่ระหว่าง ๑๐๐ ถึง ๑ แสนปี (ไม่สั้นกว่าร้อยปี ไม่ยาวเกินแสนปี)
    ๒. ทีปะ คือ ทวีป จะอุบัติแต่ในชมพูทวีป
    ๓. เทสะ คือประเทศ หมายถึงดินแดน จะอุบัติในมัธยมประเทศและทรงกำหนดเมืองกบิลพัสดุ์เป็นที่พึงเกิด
    ๔. กุละ คือ ตะกูล จะอุบัติเฉพาะในขัตติยสกุล หรือในพราหมณสกุล และทรงกำหนดว่า เวลานั้นโลกสมมติว่าตระกูลกษัตริย์ประเสริฐกว่าตระกูลพราหมณ์ จึงจะอุบัติในตระกูลกษัตริย์ โดยทรงเลือกพระเจ้าสุทโธทนะเป็นพุทธบิดา
    . ชเนตติอายุปริจเฉท คือ มารดา และกำหนดอายุของมารดา มารดาจะต้องมีศีลห้าบริสุทธิ์ ไม่โลเลในบุรุษ ไม่เป็นนักดื่มสุรา ได้บำเพ็ญบารมีมาตลอดแสนกัลป์ ทรงกำหนดได้พระนางมหามายา และทรงทราบว่าพระนางจะมีพระชนม์อยู่เกิน ๑๐ เดือน ไปได้ ๗ วัน
    (สรุปตามแนวอรรถกถาชาดก)
    (จากหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า ๒๒๓ - ๒๒๔)
    * หมายเหตุ พุทธบิดาและพุทธมารดาในข้อ ๔ และข้อ ๕ หมายถึงพุทธบิดาและพุทธมารดาของพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ถ้าเป็นของพระพุทธเจ้าองค์อื่น จะมีชื่อและตระกูลต่างกัน
    มหาสุบิน

    มหาสุบิน ความฝันอันยิ่งใหญ่ ความฝันครั้งสำคัญ หมายถึง ความฝัน ๕ เรื่อง (ปัญจมหาสุบิน) ของพระโพธิสัตว์ ก่อนจะได้ตรัสรู้เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า (พระอรรถกถาจารย์ระบุว่า ทรงพระสุบินในคืนก่อนตรัสรู้ คือ ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๖ ) ดังตรัสไว้ในคัมภีร์อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต พระสุตตันตปิฏก ใจความว่า
    ๑. เสด็จบรรทม โดยมีมหาปฐพีนี้เป็นพระแท่นไสยาสน์ ขุนเขาหิมวันต์เป็นเขนย พระหัตถ์ซ้ายเหยียดหยั่งลงในมหาสมุทรด้านปัจฉิมทิศ พระบาททั้งสองเหยียดหยั่งลงในมหาสมุทรด้านทักษิณ (ข้อนี้เป็นบุพนิมิตหมายถึง การได้ตรัสรู้สัมมาสัมโพธิญาณ อันไม่มีสิ่งใดยิ่งใหญ่กว่า
    ๒. มีหญ้าคางอกขึ้นจากนาภีของพระองค์สูงขึ้นจดท้องฟ้า(หมายถึง การที่ได้ตรัสรู้อารยอัฏฏาคิกมรรค แล้วทรงประกาศออกไปถึงมวลมนุษย์และหมูเทพ)
    ๓. หมู่หนอนตัวขาวศีรษะดำพากันไต่ขึ้นมาจากพระบาทคลุมเต็มถึงชานุมณฑล(หมายถึง การที่คนนุ่งขาวชาวคฤหัสถ์มากมายพากันถึงตถาคตเป็นสรณะตลอดชีวิต)๔. นกทั้งหลายสี่จำพวกมีสีต่างๆ กัน บินมาแต่ทิศทั้งสี่ แล้วมาหมอบจับที่เบื้องพระบาท กลับกลายเป็นสีขาวไปหมดสิ้น
    (หมายถึง การที่ชนทั้งสี่วรรณะมาออกบวชรวมกันในพระธรรมวินัย และได้ประจักษ์แจ้งวิมุตติธรรม)
    . เสด็จดำเนินไปมาบนภูเขาคูถลูกใหญ่ แต่ไม่ทรงแปดเปื้อนด้วยคูถ (หมายถึง การทรงเจริญลาภในปัจจัยสี่พรั่งพร้อม แต่ไม่ทรงลุ่มหลง ติดพัน ทรงบริโภคด้วยพระปัญญาที่ดำรงจิตปลอดโปร่งอิสระ)
    (จากหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า ๒๒๕ - ๒๒๖)
    พุทธกิจประจำวัน ๕

    พุทธกิจที่พระพุทธเจ้าทรงบำเพ็ญเป็นประจำในแต่ละวันมี ๕ อย่างคือ
    ๑. ปุพฺพณฺเห ปิณฺฑปาตญฺจ เวลาเช้าเสด็จบิณฑบาต
    . สายณฺเห ธมฺมเทสนํ เวลาเย็นทรงแสดงธรรม
    . ปโทเส ภิกฺขุโอวาทํ เวลาค่ำประทานโอวาทแต่เหล่าภิกษุ
    . อฑฺฒรตฺเต เทวปณฺหนํ เที่ยงคืนทรงตอบปัญหาเทวดา
    . ปจฺจุสฺเสว คเตกาเล ภพฺพาภพฺเพ วิโลกนํ จวนสว่างทรงตรวจพิจาณาสัตว์ที่สามารถ และที่ยังไม่สามารถบรรลุธรรม อันควรจะเสด็จไปโปรดหรือไม่
    สรุปท้ายว่า เอเต ปญฺจวิเธ กิจฺเจ วิโสเธติ มุนิปุงฺคโว พระพุทธเจ้าองค์พระมุนีผู้ประเสริฐทรงยังกิจ ๕ ประการนี้ให้หมดจด
    (จากหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า ๑๘๙ - ๑๙๐)
    พุทธจริยา

    พระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้า การบำเพ็ญประโยชน์ของพระพุทธเจ้ามี ๓ คือ
    . โลกัตถจริยา การบำเพ็ญประโยชน์แก่โลก
    ๒. ญาตัตถจิรยา การบำเพ็ญประโยชน์แก่พระญาติ
    ๓. พุทธัตถจริยา การบำเพ็ญประโยชน์โดยฐานเป็นพระพุทธเจ้า
    (จากหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของพระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตโต) หน้า ๑๙๑)
    คำอธิบายเพิ่มเติม
    โลกัตถจริยา พระพุทธจริยาเพื่อประโยชน์แก่โลก ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลก คือ ทรงอาศัยพระมหากรุณา เสด็จไปประกาศพระศาสนา เพื่อประโยชน์สุขแก่มหาชนในถิ่นฐานแว่นแคว้นต่างๆ เป็นอันมาก และประดิษฐานพระศาสนาไว้ เพื่อประโยชน์สุขแก่ชุมชนภายหลังตลอดกาลนาน (หน้า ๒๖๐)
    ญาตัตถจริยา พระพุทธจริยาเพื่อประโยชน์แก่พระญาติ ทรงประพฤติประโยชน์แก่พระญาติ เช่น ทรงอนุญาตให้พระญาติที่เป็นเดียรถีย์เข้ามาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาส ๔ เดือนก่อน เหมือนเดียรถีย์อื่น และเสด็จไปห้ามพระญาติที่วิวาทกันด้วยเรื่องน้ำ เป็นต้น (หน้า ๖๒)
    พุทธัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่สัตว์โลก โดยฐานเป็นพระพุทธเจ้า เช่น ทรงแสดงธรรมแก่เวไนยสัตว์ และบัญญัติวินัยขึ้นบริหารหมู่คณะ ทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืน มาตราบเท่าทุกวันนี้ (หน้า ๑๙๔)
    พุทธปรินิพาน ๓
    การปรินิพานของพระพุทธเจ้าอาจนับว่ามี ๓ อย่างคือ
    . กิเลสปรินิพาน หมายถึง การดับสิ้นแห่งกิเลสในคราวที่ทรงตรัสรู้ ณ โพธิบัลลังก์
    . ขันธปรินิพพาน หมายถึง การดับสิ้นแห่งขันธ์ในคราวที่ทรงปรินิพพานที่เมืองกุสินารา
    ๓. ธาตุปรินิพพาน หมายถึง การดับสิ้นแห่งพระธาตุทั้งหลายของพระพุทธเจ้า ซึ่งจะมีขึ้นในคราวที่ ศาสนาสูญสิ้น
    พระธาตุทั้งหลายของพระพุทธเจ้าที่อยู่ในที่ต่างๆ ไม่ว่าจะในนาคพิภพ หรือบนพรหมโลก เป็นต้น จะมารวมกันและไปสู่โพธิบัลลังก์ เมื่อไปถึง ก็จะเปล่งฉัพพรรณรังสีออกมา แผ่ไปตลอดหมื่นโลกธาตุ
    เทวดาทั้งหลายจักประชุมกันแล้วกล่าวว่า "นี้เป็นการได้เห็นครั้งสุดท้ายของเราทั้งหลายในบัดนี้" จากนั้น เตโชธาตุในบรรดาพระธาตุเหล่านั้น ก็จักลุกโพลงเผาพระธาตุจนหมดสิ้น ไม่เหลือแม้เท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด นับแต่นี้ไป ชื่อว่า "ศาสนาได้อันตรธานแล้ว"
    **********************************
    คัดลอกจาก: ธรรมะเพื่อชีวิตเล่มที่ ๓๒ ฉบับวันวิสาขบูชา ๒๕๔๕


    เมื่อพูดถึงเรื่องธรรมดา ๆ ของคนทั่วไป จะมี ๓ ก. กับ ๑ ธ คือ กาม กิน กลัว และธรรมะ (ธรรมสัญญา) แต่ถ้าจะกล่าวถึงธรรมดาของพระพุทธเจ้าตามที่แสดงไว้ในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนานั้น ย่อมไม่ใช่เรื่องธรรมดาสำหรับเรา ๆ ท่าน ๆ
    เพราะกว่าจะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ ต้องสร้างบารมีถึง ๒๐ อสงไขยแสนกัปในกรณีที่เป็นปัญญาธิกะสัมมาสัมพุทธอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสมณโคดมของเรา แต่ถ้าเป็นสัทธาธิกะสัมมาสัมพุทธ หรือวิริยาธิกะสัมมาสัมพุทธ จะต้องสร้างบารมีเป็น ๔๐ และ ๘๐ อสงไขยแสนกัปตามลำดับ
    ท่านได้กล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายที่อุบัติมาแล้ว และที่จะอุบัติอีกในอนาคต มีมากกว่าเม็ดทรายในมหาสุมทร อย่างไรก็ดี ในที่นี้จะขอนำพระนามพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์มาแสดง โดยที่พระนาม ๕ พระองค์สุดท้ายคือ พระนามของพระพุทธเจ้าในภัททกัปนี้ ซึ่งเรียกว่า พระเจ้า ๕ พระองค์ นั่นเอง
    พระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์
    <TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #ffffdb; BORDER-TOP: #993300 1.5pt solid; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>อสุญญกัป
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #ffffdb; BORDER-TOP: #993300 1.5pt solid; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>พระนาม
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #ffffdb; BORDER-TOP: #993300 1.5pt solid; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>กัปที่
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #ffffdb; BORDER-TOP: #993300 1.5pt solid; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สุญญกัป
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สารมัณฑกัป ๔
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑. พระตัณหังกร
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒. พระเมธังกร
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๓. พระสรณังกร
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๔. พระทีปังกร
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 170.45pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227 colSpan=2>เริ่มพุทธพยากรณ์
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>อสงขัยที่ ๑
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สารกัป ๑*
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๕. พระโกณฑัญญะ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>อสงขัยที่ ๒
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สารมัณฑกัป ๔
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๖. พระมังคะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๗. พระสุมนะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๘. พระเรวตะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๙. พระโสภิตะ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>อสงขัยที่ ๓
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>วรกัป ๓
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๐. พระอโนมทัสสี
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๑. พระปทุมะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๒. พระนารทะ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>อสงขัยที่ ๔
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สารกัป ๑
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๓. พระปทุมุตตระ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๑๐,๐๐๐
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๗๐,๐๐๐ กัป
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>มัณณฑกัป ๒
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๔. พระสุเมธะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๓๐,๐๐๐
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๕. พระสุชาตะ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๒๘,๒๐๐ กัป
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>วรกัป ๓
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๖. พระปิยทัสสี
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>,๘๐๐
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๗. พระอัตถทัสสี
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๘. พระธรรมทัสสี
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>,๗๐๖ กัป
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สารกัป ๑
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๑๙. พระสิทธัตถะ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๙๔
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๑ กัป
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>มัณฑกัป ๒
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227> ๒๐. พระติสสะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๙๒
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๑. พระผุสสะ
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>อันตรกัป
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>สารกัป ๑
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๒. พระวิปัสสี
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๙๑
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๕๙ กัป
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>มัณฑกัป ๒
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๓. พระสิขี
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๓๑
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๔. พระเวสสภู
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BACKGROUND: #e6e6e6; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>๒๙ กัป
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>ภัททกัป ๕
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๕. พระกกุสันธะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๖. พระโกนาคมนะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๗. พระกัสสปะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๘. พระโคตมะ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 6cm; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=227>๒๙. พระศรีอริยเมตไตย
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.2pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #993300 1.5pt solid; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-LEFT: 5.4pt; WIDTH: 85.25pt; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=114>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    * สุญญกัปเป็นกัปที่ไม่มีพระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นเลย ในระหว่างสุญญกัปนั้น มีมหากัปหลาย ๆ มหากัป นับไม่ถ้วน เรียกว่า ๑ อสงไขยกัป
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แต่ละพระองค์ในอดีตที่ผ่านมา หรือที่จะอุบัติมีขึ้นในอนาคต ล้วนแต่จะต้องเป็นไป ๓๐ อย่าง เรียกว่า พุทธธรรมดา ๓๐ ทัศ คือ
    พุทธธรรมดา ๓๐ ทัศ
    ๑. พระโพธิสัตว์ผู้มีภพสุดท้าย มีสัมปชัญญะรู้ตัวลงสู่พระครรภ์พระมารดา
    ๒. ขณะอยู่ในครรภ์ทรงนั่งขัดสมาธิ หันพระพักตร์ออกไปทางเบื้องหน้าพระมารดา
    ๓. ขณะประสูติพระมารดาย่อมยืนประสูติ
    ๔. ทรงประสูติในป่า ไม่ประสูติในราชนิเวศน์
    ๕. เมื่อประสูติ จะยืนบนแผ่นทองที่เทวดามารองรับ หันหน้าไปทางทิศอุดร เสด็จย่างพระบาท ๗ ก้าว ตรวจดูทิศทั้ง ๔ แล้วทรงเปล่งสีหนาทว่า "เราเป็นผู้เลิศในโลก เราเป็นผู้เจริญที่สุดในโลก เราเป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย ความเกิดใหม่ย่อมไม่มี"
    ๖. วันใดที่พระโอรสสมภพ จะทรงเห็นเทวทูต ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย บรรพชิต และวันนั้นจะเสด็จออกสู่มหาภิเนษกรมณ์
    ๗. ทรงนุ่งห่มผ้ากาสาวพัตร์ ถือเสมือเป็นธงชัยแห่งพระอรหันต์ แล้วบำเพ็ญเพียรอย่างน้อย ๗ วัน จึงบรรลุ
    ๘. ทรงเสวยข้าวมธุปายาสในเช้าวันที่จะตรัสรู้
    ๙. ทรงใช้สันถัตหญ้า (หญ้าคา) อธิษฐานเป็นบัลลังก์ บำเพ็ญเพียรทางจิตเพื่อตรัสรู้
    ๑๐. ทรงใช้อานาปานสติกัมมัฏฐาน เป็นเครื่องพิจารณาลมอัสสาสะปัสสาสะ
    ๑๑. ทรงใช้บารมี ๓๐ ทัศ ขจัดพระยามารและเสนามาร
    ๑๒. ทรงบรรลุบุพเพนิวาสานุสติญาณ ทิพพโสตญาณ และทิพพจักขุญาณ ก่อนตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ๑๓. เมื่อได้ตรัสรู้แล้ว ทรงยับยั้งอยู่ใกล้บริเวณโพธิบัลลังก์ ๗ แห่ง แห่งละ ๗ วัน
    ๑๔. ท้าวสหัมบดีพรหมลงมาทูลอาราธนาให้ทรงแสดงธรรม
    ๑๕. ทรงแสดงธรรมจักรกัปปวัตนสูตรที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน
    ๑๖. ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ในวันเพ็ญเดือน ๓ มาฆฤกษ์
    ๑๗. ทรงประทับอยู่ประจำ ณ ที่พระวิหารเชตวัน
    ๑๘. ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์ใกล้ประตูกรุงสาวัตถี
    ๑๙. ทรงแสดงอภิธรรมโปรดพุทธมารดาบนดาวดึงส์สถาน
    ๒๐. เสด็จลงจากชั้นดาวดึงส์โดยบันไดแก้วใกล้ประตูเมืองสังกัสสนคร
    ๒๑. ทรงเข้าผลสมาบัติเป็นเนืองนิจทุกราตรี
    ๒๒. ทรงตรวจดูเวไนยชนผู้มีวาสนาบารมีวันละ ๒ เวลา คือ เช้าและบ่าย
    ๒๓. เมื่อมีเรื่องเกิดขึ้น จึงทรงบัญญัติสิกขาบท
    ๒๔. เมื่อเหตุต้นเรื่องเกิดขึ้น จึงตรัสชาดก
    ๒๕. ทรงแสดงเรื่องราวพุทธวงศ์ในที่ประชุมแห่งพระญาติ
    ๒๖. เมื่อมีอาคันตุกะมาสู่สำนักของพระพุทธองค์ ก็จะให้การปราศรัยต้อนรับ
    ๒๗. เมื่อพระพุทธองค์ได้รับนิมนต์ให้จำพรรษา ณ ที่ใด ก่อนจากไป ก็จะต้องบอกผู้รับนิมนต์นั้นก่อนเสมอ
    ๒๘. พระพุทธเจ้าย่อมทำกิจ ๕ อย่าง คือ ๑.ปุเรภัตตกิจ ๒.ปัจฉาภัตตกิจ ๓.ปฐมยามกิจ ๔. มัชฌิมยามกิจ ๕.ปัจฉิมยามกิจ ทุกวันมิได้ขาด
    ๒๙. เสวยรสมังสะในวันปรินิพพาน
    ๓๐. ทรงเข้าสมาบัติยี่สิบสี่แสนโกฏิครั้ง แล้วจึงปรินิพพาน
    (อรรถกถาพระสุตตันตปิฎก พุทธวงศ์ ปฐมปาราชิกวรรณนา)
    --------------------------------------
    คัดลอกจาก:ธรรมะเพื่อชีวิต
    เล่มที่ ๓๙ ฉบับวันมาฆบูชา ๒๕๔๗
     
  3. Natthakorn

    Natthakorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,003
    ค่าพลัง:
    +7,078
    สาธุ
    อนุโมทนาบุญกับ ธรรมทานด้วยนะครับ
     
  4. Namushakamunibutsu

    Namushakamunibutsu เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,347
    ค่าพลัง:
    +2,618
    สาธุครับ นี้คือทางเดียวที่จะรื้อสัตว์ ขนสัตว์ออกจากความมายาลวงหลอก
     
  5. อัสติสะ

    อัสติสะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    184
    ค่าพลัง:
    +392
    ผู้หญิงที่มีกำลังใจ และบารมีพอควรแก่การดำเนินแห่งโพธิสัตว์
    การกำเนิดในชาติต่อไป ย่อมถือกำเนิดเป็นเพศชาย
    เพราะกำลังใจ และ กุศล และแรงปรารถนาเป็นสิ่งพลักดัน

    ผมว่าเท่าเทียม ยุติธรรมดีนะ ถ้าไม่รีบเร่งเกินเหตุเกินพอดี
     
  6. homo

    homo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    547
    ค่าพลัง:
    +2,594
    กฏข้อ ๑๘.ไม่เป็นมาร ในสวรรค์ชั้นกามาวจร ไม่เกิดใน อสัญญีภพ ในรูปาวจรภูมิ ไม่เกิดในอันติมภพไม่ก้าวไปสู่จักรวาลอื่น

    แต่ว่าพญามารองค์ปัจจุบัน ก็ถือว่าเป็นพระโพธิสัตว์ที่ได้รับการพยากรณ์แล้ว ไม่แน่ใจว่าพญามารจะบรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือพระปัจเจกพุทธเจ้ากันแน่ ใครรู้บ้างครับ

     
  7. neung48

    neung48 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    465
    ค่าพลัง:
    +457
    ยาวจัง ชักไม่อยากเป็นแล้วจิ
     
  8. อภิภู

    อภิภู Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    177
    ค่าพลัง:
    +82
    อ่านมาคร่าวๆ มาสะดุดตรงที่"ผู้หญิงเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้" แล้วผู้เขียนได้แสดงทัศนะส่วนตัว ซึ่งตรงนั้นผมว่าทัศนะส่วนตัวของผู้เขียนที่แสดงออกมา ไม่ถูกต้อง ถึงปัจจุบันผู้หญิงจะมีสิทธิเท่าเทียมกับผู้ชาย แต่ การเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ไม่ได้เป็นเรื่องของสิทธิ อันเป็นเรื่องแบบโลกๆ อันเป็นการให้เหตุผลแบบโลกๆในสายตาของปุถุชนทั่วไป แต่ผมขอสรุปตามความเข้าใจแบบเปรียบเทียบ เหมือนนกที่บินได้บนฟ้า กับปลาที่ว่ายในน้ำ ถ้าจะบอกว่าทั้งปลาและนก ต่างก็เป็นสัตว์โลกเหมือนกัน ปลาก็ควรจะมีสิทธิบินบนฟ้างั้นเหรอ หรือนกก็ควรจะมีสิทธิ ว่ายน้ำ หายใจในน้ำได้เหมือนปลาอย่างนั้นเหรอ ซึ่งคำตอบทุกคนก็คงจะรู้อยู่แล้วว่าทำไม ดังนั้น เรื่องที่ ผู้เขียนได้เสนอทัสนะคติ เรื่องสิทธิความเสมอภาคของหญิงและชาย มันจึงเป็นเรื่องที่เป็นทัศนะคติแบบโลๆ แต่ถ้ามองในเรื่องกรรมวิบากแล้ว การที่ผู้หญิงจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในชาติที่ตนเองเป็นอิตถีเพศนั้นย่อมเป็นไปไม่ได้ เว้นแต่หญิงนั้นจะได้ตั้งอฐิษฐานจิต แล้วบำเพ็ญบารมีมา แต่สุดท้ายก็ต้องกลายเป็นชาย เพื่อที่จะมาตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ดี
     
  9. deelek

    deelek เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    6,696
    ค่าพลัง:
    +16,255
    อนุโมทนา สาธุ ๆ กับท่านทั้งหลายที่ได้ร่วมเผยแพร่พระธรรมด้วยครับ
    นิพพานัง ปัจจโย โหตุ
    นิพพานัง ปรมัง สุขขัง
     
  10. พชร (พสภัธ)

    พชร (พสภัธ) ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    5,746
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +49,866
    10ปากว่าไม่เท่าตาเห็น....ลองมาศึกษาของจริงๆที่เป็นแบบอย่างกันดีกว่า บังเอิญท่านนี้ยังมีชีวิตอยู่มาศึกษาแบบอย่างของพระโพธิสัตว์เทวดาองค์น้อยๆกันดีกว่า สาธุ ๆ ๆ

    ร่วมเป็นกำลังใจให้ "น้องกัน" คนเล็กหัวใจใหญ่ผู้ปรารถนาพระโพธิญาณ
     
  11. คือคนบาป

    คือคนบาป เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    35
    ค่าพลัง:
    +130
    อนุโมทนาสาธุครับ คงต้องพยายามศึกษาและสร้างกันไปจนกว่าจะถึงวันนั้น
     
  12. tong5959

    tong5959 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    2,056
    ค่าพลัง:
    +6,083
  13. จันทโค

    จันทโค เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    1,866
    ค่าพลัง:
    +35,603

    ที่กล่าวมาข้างบนนะครับ พระนิยตโพธิสัตว์ ยังแบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ:-
    ๑. พระโพธิสัตว์ประเภทปัญญาธิกะ (ยิ่งด้วยปัญญา) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์ประเภทอุคฆฏิตัญญู คือ พระโพธิสัตว์ผู้มีปัญญาเป็นองค์ธรรมนำในการเริ่มบำเพ็ญบารมี ท่านจะบำเพ็ญบารมีอยู่ ๔ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป
    ๒. พระโพธิสัตว์ประเภทสัทธาธิกะ (ยิ่งด้วยศรัทธา) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์ประเภทวิปจิตัญญู คือ พระโพธิสัตว์ผู้มีศรัทธาเป็นองค์นำในการเริ่มบำเพ็ญบารมี ท่านจะบำเพ็ญบารมีอยู่ ๘ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป
    ๓. พระโพธิสัตว์ประเภทวิริยาธิกะ (ยิ่งด้วยวิริยะ) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พระโพธิสัตว์ประเภทเนยยะ คือพระโพธิสัตว์ผู้มีวิริยะเป็นองค์ธรรมนำในการเริ่มบำเพ็ญบารมี ท่านจะบำเพ็ญบารมีอยู่ ๑๖ อสงไขย กับอีก ๑๐๐,๐๐๐ กัป
    เป็นช่วงที่ได้รับพยากรย์นะครับ

    1.ปัญญาธิกะ 20 อสงไขยกับเศษอีก 100,000 มหากัปป์ ( มโน = ๗ ,วาจา = ๙ , ได้รับพุทธพยากรณ์ = ๔ กับเศษอีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากัปป์ )
    2.สัทธาธิกะ 40 อสงไขยกับเศษอีก 100,000 มหากัปป์ ( มโน = ๑๔ ,วาจา = ๑๘ , ได้รับพุทธพยากรณ์ = ๘ กับเศษอีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากัปป์ )
    3.วิระยาธิกะ 80 อสงไขยกับเศษอีก 100,000 มหากัปป์ ( มโน = ๒๘ ,วาจา = ๓๖ , ได้รับพุทธพยากรณ์ = ๑๖ กับเศษอีก ๑๐๐,๐๐๐ มหากัปป์ )ครับ

    ธรรมของพระโพธิสัตว์ ( ประจำใจพระโพธิสัตว์อยู่เสมอทุกชาติ )
    ธรรมเหล่านี้สัมพันธ์กันตลอดเวลาไม่สามารถแยกออกจากกันได้เลย เพราะธรรมแต่ละข้อนั้นต่างอาศัยกันและกันเกิดขึ้น.....
    เมื่อพระโพธิสัตว์ให้ ทาน จุดมุ่งหมายในการให้ก็เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ผู้รับไม่มีคิดที่จะเป็นเหตุให้เกิดการเบียดเบียนผู้อื่น
    การไม่มีความคิดที่จะเบียดเบียนผู้อื่นทั้งกาย วาจา ใจ นี้จัดเป็น ศีล
    เมื่อเกิดความคิดในการให้ทาน จิตใจย่อมผ่องใสปราศจากนิวรณ์
    การที่จิตปราศจากนิวรณ์ จัดเป็น เนกขัมมะ
    แน่นอน ในการบำเพ็ญทานนั้น ย่อมตั้งใจใช้การพินิจพิจารณาเหตุผล เพื่อให้ทานเกิดประโยชน์มากที่สุด
    การพินิจพิจารณาเช่นนี้ จัดเป็น ปัญญา
    ความตระหนี่เป็นอุปสรรคสำคัญในการบำเพ็ญทาน พระโพธิสัตว์จำต้องพยายามละความตระหนี่ที่เกิดขึ้นขัดจังหวะอยู่ตลอดเวลา
    การพยายามละความตระหนี่เช่นนี้ จัดเป็น วิริยะ
    นอกจากพยายามละความตระหนี่ซึ่งเป็นบาปที่คอยขัดขวางไม่ให้การทำความดีก้าวหน้าแล้ว พระโพธิสัตว์จะต้องยอมทนทุกข์ทรมานจากการเสยสละ
    เพราะในบางครั้งสิ่งที่สละนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญมากหรือเสมอด้วยชีวิต แต่เมื่อเห็นว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้รับ ถึงตนเองจะต้องลำบากท่านก็ยอมสละให้ได้
    การยอมทุกข์ทรมานเพื่อให้ผู้อื่นเป็นสุขเช่นนี้ จัดเป็น ขันติ
    พระโพธิสัตว์ เมื่อตัดสินใจให้ทานแล้วก็ย่อมทำตามการตัดสินใจ หรือเมื่อพูดว่าจะให้อะไรแก่ใครแล้ว ท่านก็พร้อมจะให้เสมอ ไม่เคยกลับคำ
    การพูดหรือทำตรงตามการตัดสินใจนั้น จัดเป็น สัจจะ
    การทำอย่างที่พูดหรือตัดสินใจไปแล้วนั้น บางครั้งทำไปแล้ว อาจจะมีอุปสรรคเกิดขึ้นขัดขวางซึ่งทำใหเกิดความท้อถอยแต่พระโพธิสัตว์จะยึดมั่นอยู่ในสัจจะนั้น พยายามฝ่าฟันอุปสรรคเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้ให้ได้
    ความมั่นคงแน่วแน่เช่นนี้ จัดเป็น อธิฐาน
    การให้ของพระโพธิสัตว์ย่อมตั้งอยู่บนพื้นฐานของความปรารถนาดี และเป็นความปรารถนาดีชนิดที่เป็นอัปปมัญญา ไม่มีขอบเขตจำกัดไม่เลือกที่รักมักที่ชัง เป็นความปรารถนาดีที่แผ่ไปให้แม้กระทั้งศัตรู
    ความรักความปรารถนาดีอย่างกว้างขวางนี้ จัดเป็น เมตตา
    แน่นอนว่า ในการให้นั้น พระโพธิสัตว์ย่อมมิได้มุ่งหวังผลตอบแทนหรือเพื่อเกียรติยศชื่อเสียง ท่านสามารถบังคับใจให้อยุ่เหนือสิ่งตอบแทนทางวัตถุเหล่านี้ ทั้งนี้เป็นเพราะท่านรู้จักปล่อยวางประคับประคองใจให้เป็นกลาง
    การวางใจให้เป็นกลางได้เช่นนี้ จัดเป็น อุเบกขา
    จากเหตุผลดังกล่าวนี้ แสดงให้เห็นว่า ธรรมะเหล่านี้ย่อมสัมพันธ์กันอยู่เสมอ เพื่อเกื้อหนุนให้พระโพธิสัตว์ได้บรรลุถึงพระนิพพานอันเป็นจุดหมายปลายทาง ฉะนั้น จึงเรียกว่า " บารมี " แปลว่า " คุณธรรมเครื่องช่วยให้ถึงฝั่งคือพระนิพพาน
    แบ่งเป็น 3 ขั้น บารมีธรรมดา อุปบารมีและปรมัตถบารมี รวมเป็น บารมี 30 ทัศน์ ครับ<!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 มีนาคม 2010
  14. คือคนบาป

    คือคนบาป เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    35
    ค่าพลัง:
    +130
    อนุโมทนาสาธุครับ ธรรมอันใดซึ่งท่านทั้งหลายได้เรียนรู้แล้ว วิธีปฎิบัติตามแนวทางพุทธภูมิซึ่งท่านทั้งหลายได้เรียนรู้แล้วและได้ปฎิบัติมา ขอท่านทั้งหลายช่วยสั่งสอนแนะนำในธรรมเหล่านั้นและในวิธีปฎิบัติเหล่านั้นแก่ผมด้วย เพราะยังมีอีกมากที่ผมยังไม่รู้และยังเข้าไม่ถึง
     
  15. oamiamgod

    oamiamgod เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    241
    ค่าพลัง:
    +3,223
    เท่าที่ผมอ่านผมยังไม่เห็นคำว่า "ผู้หญิงเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้" เลยครับ

    ผมเจอแต่คำว่า
    คุณธรรมและคุณสมบัติของผู้ที่มุ่งเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    ๒.ลิงฺคสมฺปตฺติ คือถึงพร้อมด้วยเพศ มุ่งเฉพาะเพศชายเท่านั้น

    ซึ่งก็คือจะเป็นพระพุทธเจ้าได้ คุณต้องตั้งใจ มุ่งตรงเป็นผู้ชาย
    ถ้าใจยังรักในหญิงอยู่ก็เป็นไม่ได้

    ซึ่งความหมายก็คือแบบเดียวกับที่คุณว่า
    คือพอบารมีถึงแล้ว อธิฐานจิตให้เป็นชาย นั่นก็ทำได้

    เท่าที่ดูแล้ว เจ้าของบทความไม่ได้มีเจตนาที่จะดูหมิ่นดูแคลนผู้หญิงเลยนะครับ
     
  16. ธัชกร

    ธัชกร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    267
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +3,040


    ตอนแรกที่นํามาลง มีบทความเกี่ยวกับความคิดเห็นเรื่อง "ผู้หญิงเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้" โดยมีทัศนะของผู้วิเคราะห์อยู่ครับ

    ผมก็เห็นด้วยกับคุณอภิภู เลยตัดความคิดเห็นของผู้วิเคราะห์เสีย พยายามให้เหลือแต่หลักธรรมที่ค้นคว้ามาล้วนๆ เพราะหลักธรรมที่ผู้วิเคราะห์ได้ค้นคว้ามา ละเอียดและน่าสนใจพอสมควรครับ

    จึงขออภัยมา ณ ที่นี้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มีนาคม 2010

แชร์หน้านี้

Loading...