คนเปิดกรรม ตอนที่สอง สื่อ กรรมฐาน พระเถระผู้สำเร็จ ( สอน กรรมฐาน )

ในห้อง 'ดูดวง และ ทำนายฝัน' ตั้งกระทู้โดย baiiboom, 5 กันยายน 2009.

  1. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385
    คนเปิดกรรม ตอนที่สอง สื่อ กรรมฐาน พระเถระผู้สำเร็จ ( สอน กรรมฐาน ) <O></O>


    <HR align=center width="100%" color=white noShade SIZE=1>




    คนเปิดกรรม ตอน สื่อกรรมฐาน พระผู้สำเร็จ สอนกรรมฐาน<V:p


    คำเตือน
    บทความและที่มาที่ไปต่างๆ ผู้เขียนไม่ได้ศึกษาถึงที่มาที่ไป และ
    ข้ออ้างอิง และมิได้คิดจะบิดเบือน สิ่งที่ชนรุ่นก่อน ที่ได้เคยเล่าสืบ
    ทอดกันมา หรือล่วงเกินท่านผู้รู้ที่รู้ต่างจากตัวข้าพระเจ้า สิ่งที่จะ
    กล่าว เป็นความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนทั้งสิ้น
    <O></O>
    โปรดใช้สติของท่านผู้อ่าน ตรองถึงเหตุผลต่างๆที่จะเล่าต่อไปนี้
    <O></O>
    มาแล้วครับ คนเปิดกรรมตอน ที่หนึ่ง ในตอนนี้จะเล่าเรื่อง อภิญญา
    ความเหนือธรรมชาติ ความเร้นลับ ในสิ่งมองไม่เห็น และการเปิดกรรม ด้วยตนเองอภิญญาเหนือธรรมชาติ บางท่านก็ได้มาจากการเจริญกรรมฐาน บ้าง
    ติดตนมาตั่งแต่จำความได้ แล้วแต่กรณี และบุญที่ท่านนั้นๆสร้างมา บ้างก็ ไขว่คว้าที่จะได้มา แต่สิ่งที่เป็นบรรทัดฐาน ในก้าวแรกของ ผู้ที่ค้นหาก็คือ การกรรมฐานสวดมนต์ภาวนา ท่านทำได้ ก็จะเกิด นิมิตและอภิญญา ตามที่กล่าว

    รู้อะไรก็ไม่เท่า รู้ด้วยตัวเอง

    ขั้นชั้น ของอภิญญา
    ขั้นชั้นอภิญญา แบ่งได้คร่าวๆ ดังนี้

    1. โทรจิต
    2. นิมิต
    3.ถอดจิต
    ก่อนอื่นที่ท่านที่ จะฝึกอภิญญา ให้ได้รับรู้กรรมของตน และกรรมของผู้อื่นและสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ก่อนอื่นต้องศึกษาเรื่องระดับจิตก่อนครับ

    โทรจิตคือความนึกคิดที่ต่างจากบุคคลธรรมดา เปรียบเทียบโทรจิต กับ
    ปัจจุบันคล้ายโทรศัพท์มือถือ ที่เราใช้พบพาสื่อสารไปได้ทุกๆที่โดย
    โทรศัพท์ ใช้การกดเบอร์ปลายทางที่เราต้องการสนทนาและติดต่อ โทรจิตก็คล้ายกันแต่การติดต่อนั้น ติดต่อโดยใช้จิตการติดต่อ จิตต้องนิ่งสมาธิกรรมฐานต้องให้ได้จะสื่อได้มิได้ ก็ขึ้นอยู่ ที่จิตจะสงบลงขนาดใด

    นิมิตความฝันบางท่านอาจจะไม่ทราบว่า นิมิต กับ ความฝัน
    แตกต่างกันอย่างไร ดูแล้วมีความหมายคล้ายๆกัน นิมิต คือความฝัน ความฝัน คือนิมิตจริงหรือ เรามาตรองและเปรียบเทียบกัน
    นิมิต คืออาการสงบของจิต เวลาพักผ่อนนอนหลับ ท่านที่ยังไม่ได้ปฏิบัติ
    กรรมฐาน จิตของท่านยังไม่นิ่งพอ หลับไปความรู้สึกนึกคิด กลับกลายเป็นมโนภาพที่ตนครุ่นคิดจึงเก็บมาฝัน ส่วนนิมิตกล่าวได้ว่าเป็น การสงบของจิตในระดับหนึ่ง ถึงได้นิมิตถึงในสิ่งที่เป็นไป บางท่านก็ติดต่อทางโลกวิญญาณได้แล้วแต่จะเป็นบารมีของท่านนั้นๆ สรุปคือนิมิตแตกต่างจากความฝัน ที่จิตที่นิ่งสงบเป็นสมาธิ



    ถอดจิตคือสมาธิจิตที่การรวมจิตที่สงบนิ่งสูง การที่จะถอดจิตได้นั้น ต้องมีจิตสมาธิที่สงบ ปฏิบัติกรรมฐานต้องได้ตามที่กล่าว การถอดจิตทำได้หลายวิธีผู้เขียนจะกล่าวโดยสังเขปดังนี้



    1. ถอดจิตโดยวิธี กรรมฐานนั่งสมา จิตสงบลงในขั้นสูง ก็จะสามารถถอด
    จิตไปตามที่ตนต้องการได้



    2. ถอดจิตโดย สติที่นิ่ง กำหนดลมหายใจ ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใดก็
    สามารถถอดจิตไปที่ๆต้องการได้ โดยรู้ทั้งสอง คือรู้รอบกาย และรู้ในที่ๆเราถอดจิตไป



    สรุป

    โทรจิต เป็นการสื่อในระดับต้นของ ผู้ปฏิบัติๆ จะสามาสื่อและรับรู้ ทางเสีย
    ภาพก็จะปรากฏตามความนึกคิดที่เรา ได้รับทางโทรจิต
    นิมิตเป็นการสื่อในระดับปานกลางของ ผู้ปฏิบัติๆจะสามารถ รับรู้ได้ทางภาพและเสียง โดยการที่สติสงบจิตนิ่ง ในเวลาหลับพักผ่อน คือจิตรู้ และตัวตนรู้ตามในเวลาตื่นถอดจิตเป็นการสื่อในระดับสูงของผู้ปฏิบัติๆ จะสามารับรู้ด้วยจิต สามารถมองเห็นทั้งภาพและเสีย ที่ไม่ใช่การที่ได้ยินหรือสื่อทางโทรจิตก่อน แล้วค่อยเห็นภาพ รับรู้ได้โดยที่ตนมีสติครบถ้วน ไม่ต้องหลับก็เห็นก็สามารถสื่อได้ การถอดจิตเป็น จิตขั้นสูงของการปฏิบัติ


    " ถือศีลสวดมนต์ภาวนา สติเกิด จิตสงบ บารมีสูงส่ง"
    ทราบถึงระดับขั้นอภิญญาของจิตแล้ว แต่เหนือสิ่งอื่นใดของการปฏิบัติ<?xml:namespace prefix = v /><v:shape id=_x0000_i1030 style="WIDTH: 14.25pt; HEIGHT: 14.25pt" alt="" type="#_x0000_t75"> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/smilies/tongue-smile.gif"></v:imagedata></v:shape>
    ให้ได้แนวทาง การเปิดกรรมของตัวเองได้คือ ต้องกำหนดตัวรู้ให้เกิดก่อน
    จะปฏิบัติกรรมฐาน ไม่ว่าคุณจะอยู่ในอิริยาบถใด นั้น ยืน เดิน นอน หิอิ่ม สุข ทุกข์ ก็กำหนดให้ตนเองรู้ ขอให้ทุกท่านมีความสุขในการปฏิบัติเจริญบารมี ทั้งทางโลกทางธรรมทุกท่าน



    เหตุการณ์พอสังเขป ของการผู้เขียน ก่อนจะสัมผัสญาณหลวงปู่อายุ 25 เข้า26 ปี โรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้เบียดเบียนเริ่มจาก โรคเบาหวาน ซึ่งผู้เขียนตรวจพบตั้งแต่อายุสิบกว่าปี แต่มิได้ควบคุมและติดตามการรักษา ปล่อยเลยจนถึงอายุที่กล่าว จากเบาหวาน ผู้เขียนได้ปล่อยให้น้ำตาลในเลือดขึ้นสูงตลอด จนร่างกายทรุดโทรม ต้องนอนโรงพยาบาล และตามมาด้วย โรคความดันสูง ไตวายเรื้อรัง ในขณะที่ผู้เขียนๆบันทึกนี้

    <O></O>ไตวายเรื้อรังนั้นเป็นระยะเกือบสุดท้าย หัวใจโต ตาข้างซ้ายมองแทบไม่เห็น ต้องตัดขาเหนือระดับใต้เข่าทั้งสองข้าง ด้วยอาการข้างเคียงจากโรงเบาหวาน การรักษาในโรงพยาบาลเป็นมาอย่างต่อเนื่องจวบจนขณะนี้อายุเข้า30 ปีก็ยังต้องเข้านอนโรงพยาบาล เพื่อรักษาตัวบ่อยๆอย่างต่ำเดือนละครั้ง ครั้งหนึ่ง สามวันหนึ่งอาทิตย์ แล้วแต่อาการ บางคราวเป็นหนักๆนอนโรงพยาบาลเป็นเดือน เลยก็มี จนโรงพยาบาลที่เข้ารักษาไม่ว่าหมอ หรือพยาบาลเห็นหน้าเรา ก็จะทราบถึงอาการของโรค



    ที่เราเป็นเรียกได้ว่าเห็นชื่อก็จำหน้าได้เลย จนในขณะนี้ต้องเปลี่ยนชื่อเอาเคล็ดเพื่อที่ไม่ต้องเจ็บป่วยบ่อยๆ การเขียนบันทึกนี้ก็ยังไม่วายเขียนที่ โรงพยาบาล เข้ารอบนี้เป็นโรคที่กำลังระบาดทั่วบ้าน ทั่วโลกคือไข้หวัด2009 รักษาตัวที่โรงพยาบาลครั้งนี้ เป็นรอบที่สี่ เข้าพรรษามาไม่ถึงหนึ่งเดือน เข้านอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลสี่รอบ ขอเล่า
    <O></O>
    ย้อนกลับไปอีกสักหน่อย อายุ25 ถึง30 ปี การรักษาตัวในโรงพยาบาล เป็นอย่างต่อเนื่อง เป็นหนักๆจนต้องเข้าห้องผ่าตัด นอนห้องICU และCCU ก็หลายครั้ง แต่เหตุการณ์ต่างๆก็ผ่านมาได้ อยากจะตายแต่ก็ไม่ตาย หนักๆเข้าเกิดรักตัวกลัวการจบชีวิตจึงหันหน้าเข้าปฏิบัติ สวดมนต์ ภาวน า เฉกเช่นดังที่เคยได้กระทำมาเมื่อครั้งแต่เยาว์วัยเรียกได้ว่า บทสวดมนต์บทไหนหรือพระสูตไดก็สวดแทบจะทุกบท สวดไปก็ ป่นขอชีวิตไป


    สวดได้แทบจะไม่ต้องเปิดบทสวด ปฏิบัติถึงประมาณที่กล่าว สติจึงเกิด
    พอที่จะทราบถึงโรคภัยที่เราเป็นนั้นเป็นโรคกรรม เจ้ากรรมนายเวร ตามทันและ พอจะทราบว่าตัวเราเมื่ออดีตชาติ เกิดเป็นอะไร ทำกรรมใคร ไว้บ้าง และกรรมที่เกิดขึ้นกับเราทั้งหมดนั้น เป็นกรรม ที่เราทำ เป็นการกระทำของเรา จึงกลับคืนมาสนองเราทั้งหมด ได้รับรู้ถึง นิมิตดังกล่าว จึงต้องหมั่นทำความดี แผ่เมตตาเฉพาะเจาะจงให้กับเจ้ากรรมนายเวร


    ก่อนสิ่งใด เพื่อที่จะให้เขาให้อภัยอโหสิกรรม และละจากการเอาคืนเฉก
    เช่นดังเราที่เคยทำเขาไว้ ภาวนามอบร่างกายทั้ง กายเนื้อ กายทิพย์ ที่เหลือต่อพระพุทธพระธรรม พระสงค์ เพื่อนเป็นเครื่องสักการะ บูชา ต่อองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าร่างกายยังไม่สิ้นก็ จะทำแต่ความดี เผยแพร่ต่อยอด พระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนชีวิตจะหาไม่ กล่าวได้ว่าการปฏิบัติในครั้งนี้ คือ"ไม่เห็นทุกข์ ไม้เห็นธรรม"<O></O>"อย่าให้ทุกข์เกิด จึงเข้าหาธรรม"
    <O></O>
    บทความ และที่มาที่ไปต่างๆ ผู้เขียนไม่ได้ศึกษาถึงที่มาที่ไป และข้ออ้างอิง และมิได้คิดจะบิดเบือนสิ่งที่ชนรุ่นก่อน ที่ได้เคยเล่าสืบทอดกันมา เป็นความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนทั้งสิ้น ผู้เขียนขอกล่าวถึงเหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้รับรู้ โดยใช้คำว่าโทรจิต โปรดใช้สติของท่านผู้อ่าน ตรองถึงเหตุผลต่างๆที่จะเล่าต่อไปนี้ฝึกจิต กำหนดจิต ปลงขัน " ชำระกรรมให้เบาบาง"การปลงขัน ที่ผู้เขียนจะถ่ายทอดเล่าให้ท่านผู้อ่าน ได้อ่าน ผู้เขียน <O></O>รับการสื่อทางโทรจิตในการสอน จากหลวงปู่โดย


    เกิดจากความเจ็บป่วย ของผู้เขียนที่จะเล่าต่อไปนี้การเจ็บครั้งที่สาม ในช่วงเข้าพรรษาปี 2552 มีอาการหนักขึ้นตามลำดับ เจ็บป่วยทุกทรมาน มีอาการเหนื่อย หายใจติดขัดหลายรอบ นอนไม่ได้กระสับกระส่าย ไข้ก็ไม่มี แต่มีอาการร้อนในตัว ใจหนึ่งก็อยากไปโรงพยาบาล แต่ใจหนึ่งก็เห็นว่าไปรักษาพึ่งจะกลับมา รักษามาสามรอบแล้ว จึงแข็งใจ เอาทางธรรมรักษา วันที่สื่อโทรจิต
    <O></O><O></O>
    ถึงหลวงปู่นั้น ผู้เขียนนอนไม่หลับ ด้วยความเจ็บป่วย จนรุ่งเช้ า จิตก็ภาวนากำหนดลมหายใจ และนึกถึงหลวงปู่ ผู้เขียนไม่เคยได้ไปกราบไหว้ ท่านเลยสักครั้งรู้จักท่านได้ เพราะมี ผู้ที่นำหนังสือเกี่ยวกับประวัติหลวงปู่มาให้ได้อ่าน และบอกกับผู้เขียนว่าหลวงปู่ท่านใจดีเรามีอะไร ให้นึกถึงท่าน เวลาทำสมาธิให้ ตั่งจิตถึงท่านๆจะมาสอนในจิตผู้เขียนจึงทำสมาธิและกำหนดจิตถึงหลวงปู่ จิตนิ่งไม่ถึงห้านาที่ หลวงปูท่านมาให้รับรู้ทางเสียง หรือที่ผู้เขียนกล่าวบ่อยๆ คือ โทรจิต หลวงปู่สอนการทำสมาธิตามที่กล่าว ดังผู้เขียนจะสดับให้ได้อ่าน ตามขั้นตอน


    ต่อไปนี้
    <O></O>
    หลวงปู่" จิตอยู่ที่ลมหายใจนะลูกนะ สูดสมเข้าให้เต็มที่ แล้วค่อยๆผ่อนออกเบา
    สบาย พิจารนาลมหายใจอยู่ที่หน้าอก หรือปอด สูดสมหายใจยาวๆเข้า ผ่อนออก
    เบาสบาย จิตรวมที่ลมหายใจ อยากให้จิตออกนอกจิตนะลูก จิตไม่นิ่ง ก็ดึงจิต
    กลับมาอยู่ที่ลมหายใจ นะลูกนะ กำหนดจิตอยู่ในอาอับอิริยา ที่ลมหายใจ หายใจเข้าให้เต็มปอด ผ่อนออกเบาสบาย กำหนออยู่เช่นนั้น จนจิตนิ่งถึงระดับเบาสบายในตัวตน หลงปู่" กำหนดต่อนะลูกนะ พิจารนาถึงดอกบัวสีขาว อยู่ด้านหน้าเราใน
    <O></O>
    ระดับสายตา เห็นแล้วก็ เห็นหนอนะลูก นั้นคือดอกบัวที่จิตเรากำหนดขึ้นมา เห็น
    หนอน เห็นหนอ ดอกบัวนี้เป็นจิตที่เรากำหนด เป็นดอกบัวที่ขาวสะอาดเป็นตัวตน
    เป็นร่างกายของเรา ดอกบัวนี้เปรียบดังเครื่องสักการบูชา พระพุทธเจ้านะลูก เห็น
    หนอ ดอดบัวสีขาวสะอาด พิจารนาดอกบัว กำหนดจิตเรา แพ่งจิตไปที่ดอกบัว
    นะลูก ดอกบัวที่ขาวสะอาดตอนนี้มีแสงแห่งดวงจิตของเราอยู่ด้วยแล้วนะลูก แสงสีทอง ที่อยู่รอบบัวที่นั้นเป็นแสงแห่งดวงจิตของเรา ที่อยู่ในสมาธินะลูก ดอกบัวจะสวยงามดูเปล่งแสงทองแห่งธรรมได้ ก็เกิดจากจิตเราที่มีพุทธทานุภาพแห่งพระพุทธคุณนะลูก


    กำหนดให้ได้ดังกล่าว อยู่กับจิตดังกล่าว จนเกิดความเบาสบายอิ่มเอิบ และ
    ปิติในบุญ ดังที่กล่าวนี้เป็นขั้นตอนของการฝึกจิตให้นิ่ง ขั้นแรกเมื่อจิตนิ่งแล้วหลวงปู่ท่านสอนต่อในขั้นต่อไปสมาธิกรรมฐานขั้นที่สอง พิจารนาร่างสังข์ขาน ปรังธาตุ ในตัวตนเพื่อคลาย อาการเจ็บป่วย เบาสบายอิ่มเอิบและ ปิติแล้วนะลูก ในขณะนี้ดวงจิตเป็นพลังบุญ เรากำหนด จึงเกิดพุทธทานุภาพนะลูก เบาสบาย พิจารนาอากับกิริยาอาการที่เป็นอยู่ พลังแห่งบุญนะลูก ตอนนี้จิตเราอยู่ที่ดอกบัวแล้ว จิตก็พิจารนาเห็นหนอ เห็นร่างกายที่อยู่ด้านหน้าจิต รูปกายสังข์ขานนี้นะลูก



    ไม่ใช่ของเราหนอ ร่างสังข์ขานหนอ มีแต่ของเน่าเหม็นสกปรก ไม่เป็นท่า เมื่อจิตประกอบคู่กับร่างกาย จึงทำให้เกิดหนอ เกิดตัวเราหนอ สิ่งสะอาดที่สุดคือจิตหนอ ตอนนี้จิตอยู่ที่ดอกบัว พิจารนาไปนะลูก สังข์ขานหนอประกอบด้วยธาตุทั้งสี่หนอ มีธาตุดิน คือเนื้อ หนัง ตับ ไต เครื่องในต่างๆ ในตัวเรา เห็นหนอนะลูกนะ ธาตุดินคือเนื้อหนังในร่างกายของตัวเรา ไม่เที่ยง คือดินก็ต้องย่อยสลายศูนย์หาย ตามกาลเวลา หมดกรรมไป ร่ายกายก็คือดินเห็น หนอ



    ธาตุดิน คือร่างกายเนื้อหนังเราหนอ เห็นหนอร่างกายเราประกอบด้วยธาตุน้ำหนอ น้ำคือธาตุถัดจากดิน ที่อยู่ในร่างกายเราหนอ เราปริโภคดื่มกินน้ำนี้หนอ เมื่อธาตุน้ำประกอบในร่างกายเราแล้วนั้น ก็เปลี่ยนสภาพหนอ เป็นน้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำหนอง น้ำดี น้ำเสรส ฯลฯ หนอ เป็นของเน่าเหม็นหนอ ร่างกายดับกลับ
    กลายเป็นธาตุเดิมตามเวลาหนอ ร่างสังข์ขานหนอ ไม่เที่ยง เกิดดับศูนย์สลายตามกาลเวลา สังข์ขานหนอประกอบด้วยธาตุลมหนอ ธาตุลมคืออากาศ ที่เรา


    สุดลมหายใจเข้าไปหนอ ธาตุลมคืออากาศที่อยู่ทั่วร่างกายเราหนอ ดับสลายผ่านมาแล้วก็ดับไปตามกฎธรรมชาติหนอ สังข์ขานหนอ ประกอบด้วยธาตุ ไฟหนอ ธาตุไฟ คือความอบอุ่นที่เราได้รับหนอ ความอบอุ่นนี้มาจากธรรมชาติสร้างมาหนอ ร่างกาย สังข์ขานหนอประกอบด้วยธาตุ ดิน น้ำ ลม ไฟหนอ และมีดวงจิตหนอ ที่สะอาดขับเคลื่อนให้ร่างกาย มนุษย์อยู่ได้หนอ ทุกสิ่งในร่างกายเกิดจากธรรมชาติสร้างขึ้นหนอ



    หมดเวลาก็ต้องคืนให้เขาเพราะเรายืมเขามาหนอ ทุกสิ่งในโลกล้วนเกิดดับหนอ สิ่งที่ยังอยู่หนอ คือดวงจิต รู้หนอ หมั่นทำกรรมดี ภาวนาสวดมนต์ กำหนดกรรมฐานหนอ ที่เป็นทางหลุดพ้น ร่างกายดับหนอ เหลือดวงจิตหนอ ที่สะอาด ได้ไปเกิดจุติตามกรรมที่ได้กระทำมา การเข้าสมาธิกรรมฐานที่กล่าวนั้น เป็นระดับขั้นที่สองคือ ปรับธาตุในตัวตน เจ็บป่วยด้วยโรคใดก็ ปรับธาตุให้เข้าที่ ให้สมดุลต่อร่ายกาย
    <O></O>
    จบเรื่องเล่า การสื่อถึงหลวงปู่ สาวกพระพุทธเจ้าที่สำเร็จ ขั้นนิพาน ทาง จ.พิจิตร" ด้วยจิตผู้เขียนนี้ขอระลึกถึง" คุณพระพุทธเจ้า พระธรรมคำสอน พระสงค์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า และหลวงปู่ที่เปิดสติสอนสมาธิกรรมฐาน ให้กับข้าพระเจ้าให้ได้มาเผยแพร่ให้ท่านผู้อ่านได้รับรู้ในครั้งนี้ ขอให้ท่านผู้อ่านมีสติปัญญาในการ ปฏิบัติธรรม กรรมฐาน เจริญทั้งทางธรรมและทางโลก สาธุ




    เรืองตะวัน
    <O></O>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 ธันวาคม 2009
  2. มนต์ชัยIM

    มนต์ชัยIM เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +473
    ขอเป็นกำลังใจให้การปฏิบัติธรรมนะครับ และขอให้ผลบุญที่ท่านได้กระืำทำนั้น จงนำพาให้ท่านพ้นจากทุกข์สังขารทั้งปวงด้วยเถิด...
     
  3. janey2009

    janey2009 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    109
    ค่าพลัง:
    +141
    อนุโมนาด้วยคะ
     
  4. PARAVISA

    PARAVISA เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    35
    ค่าพลัง:
    +123
    อนุโมทนาบุญกับเรื่องราวดี ๆ ที่นำมาเผยแผ่ ขอให้บอลพ้นจากโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ค่ะ
     
  5. a little angel

    a little angel เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +207
    ขออนุโมทนา สาธุ กับคุณเรืองตะวันและครูอาจารย์ที่มาโปรดสอนค่ะ ขอบคุณที่นำธรรมะการปฎิบัตกรรมฐานมาเปิดแพร่อย่างเข้าใจได้ง่ายค่ะ
     
  6. พรรณกานต์

    พรรณกานต์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มกราคม 2009
    โพสต์:
    117
    ค่าพลัง:
    +231
    ขออนุโมทนาบุญค่ะ ขอบคุณสำหรับการนำสิ่งดี ๆ มาเผยแผ่ค่ะ
     
  7. สายฝนฉ่ำเย็น

    สายฝนฉ่ำเย็น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    1,474
    ค่าพลัง:
    +7,070
    อนุโมทนา สาธุ ด้วยทุกประการค่ะ ขอบคุณค่ะสำหรับข้อความดีๆ ที่ได้สื่อถึงกัน
     
  8. คนดีคนนี้

    คนดีคนนี้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    85
    ค่าพลัง:
    +269
    ขออนุโมทนากับน้องบอลคะ
    พี่ไปกราบหลวงปู่บ่อยๆ ( พี่อยู่พิจิตร ) แต่ก็ไม่ทราบว่าเป็นหลวงปู่องค์เดียวกันหรือป่าว
    แต่หลวงปู่ที่พี่ไปกราบ คือ หลวงปู่จันทรา . หลวงปู่อ่ำ
    หลวงปู่ทั้งสองเป็นพระอรหันต์ ที่ได้มาโปรด เป็นบุญอย่างหาที่สุดไม่ได้ที่ได้มีโอกาสได้มาใส่บาตรท่าน
    ขอให้เจ้ากรรมนายเวรของน้องอโหสิกรรมให้ในเร็ววันนี้นะคะ
    บุญรักษาคะ
     
  9. noolegza

    noolegza เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    1,032
    ค่าพลัง:
    +3,844
    อ่านแล้วขนลุกเลยครับ รู้สึกปิติด้วยเลย หลวงปู่ท่านมีเมตตามากๆเลยคับ อนุโมทนาด้วยครับ
     
  10. โอมธนกฤต

    โอมธนกฤต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2009
    โพสต์:
    606
    ค่าพลัง:
    +3,984
    ขออนุญาตินะครับ
    คนเปิดกรรม ตอนที่สอง สื่อ กรรมฐาน พระเถระผู้สำเร็จ ( สอน กรรมฐาน )
    --------------------------------------------------------------------------------
    เหตุการณ์พอสังเขป ของการผู้เขียน ก่อนจะสัมผัสญาณหลวงปู่
    อายุ 25 เข้า 26 ปี โรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้เบียดเบียนเริ่มจาก โรคเบาหวาน ซึ่งผู้เขียน
    ตรวจพบตั้งแต่อายุสิบกว่าปี แต่มิได้ควบคุมและติดตามการรักษา ปล่อยเลยมาจนถึงอายุที่กล่าว
    จากเบาหวาน ผู้เขียนได้ปล่อยให้น้ำตาลในเลือดขึ้นสูงตลอด จนร่างกายทรุดโทรม
    ต้องนอนโรงพยาบาล และตามมาด้วย โรคความดันสูง ไตวายเรื้อรัง ในขณะที่ผู้เขียนๆบันทึกนี้
    ไตวายเรื้อรังนั้นเป็นระยะเกือบสุดท้าย หัวใจโต ตา ข้างซ้ายมองแทบไม่เห็น ต้องตัดขาเหนือ
    ระดับใต้เข่าทั้งสองข้าง ด้วยอาการข้างเคียงจาก โรงเบาหวาน การรักษาในโรงพยาบาลเป็นมา
    อย่างต่อเนื่องจวบจนขณะนี้อายุเข้า 30ปี ก็ยังต้องเข้านอนโรงพยาบาล เพื่อรักษาตัวบ่อยๆ
    อย่างต่ำเดือนละครั้ง ครั้งหนึ่ง สามวัน หนึ่งอาทิตย์ แล้วแต่อาการ บางคราวเป็นหนักๆนอน
    โรงพยาบาลเป็นเดือน เลยก็มี จนโรงพยาบาลที่เข้ารักษาไม่ว่าหมอ หรือพยาบาลเห็นหน้าเรา
    ก็จะทราบถึงอาการของโรค ที่เราเป็นเรียกได้ว่าเห็นชื่อก็จำหน้าได้เลย จนในขณะนี้ต้องเปลี่ยน
    ชื่อเอาเคล็ดเพื่อที่ไม่ต้องเจ็บป่วยบ่อยๆ การเขียนบันทึกนี้ก็ยังไม่วายเขียนที่ โรงพยาบาล
    เข้ารอบนี้เป็นโรค ที่กำลังระบาดทั่วบ้าน ทั่วโลกคือไข้หวัด 2009 รักษาตัวที่โรงพยาบาล
    ครั้งนี้ เป็นรอบที่สี่ เข้าพรรษามาไม่ถึงหนึ่งเดือน เข้านอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลสี่รอบ
    ขอเล่าย้อนกลับไปอีกสักหน่อย อายุ 25ปี ถึง 30ปี การรักษาตัวในโรงพยาบาล เป็นอย่าง
    ต่อเนื่อง เป็นหนักๆจนต้องเข้าห้องผ่าตัด นอนห้อง ICU และ CCU ก็หลายครั้ง แต่
    เหตุการณ์ต่างๆก็ผ่านมาได้ อยากจะตายแต่ก็ไม่ตาย หนักๆเข้าเกิดรักตัวกลัวการจบชีวิต
    จึงหันหน้าเข้าปฏิบัติ สวดมนต์ ภาวน า เฉกเช่นดังที่เคยได้กระทำมาเมื่อครั้งแต่เยาว์วัย
    เรียกได้ว่า บทสวดมนต์บทไหนหรือพระสูตไดก็สวดแทบจะทุกบท สวดไปก็ ป่นขอชีวิตไป
    สวดได้แทบจะไม่ต้องเปิดบทสวด ปฏิบัติถึงประมาณที่กล่าว สติจึงเกิด พอที่จะทราบถึงโรคภัย
    ที่เราเป็นนั้นเป็นโรคกรรม เจ้ากรรมนายเวร ตามทันและ พอจะทราบว่าตัวเราเมื่ออดีตชาติ
    เกิดเป็นอะไร ทำกรรมใคร ไว้บ้าง และกรรมที่เกิดขึ้นกับเราทั้งหมดนั้น เป็นกรรม ที่เราทำ
    เป็นการกระทำของเรา จึงกลับคืนมาสนองเราทั้งหมด ได้รับรู้ถึง นิมิตดังกล่าว จึงต้องหมั่น
    ทำความดี แผ่เมตตาเฉพาะเจาะจงให้กับเจ้ากรรมนายเวรก่อนสิ่งใด เพื่อที่จะให้เขาให้อภัย
    อโหสิกรรม และละจากการเอาคืนเฉกเช่นดังเราที่เคยทำเขาไว้ ภาวนามอบร่างกายทั้ง กายเนื้อ
    กายทิพย์ ที่เหลือต่อ
    พระพุทธพระธรรม พระสงค์ เพื่อนเป็นเครื่องสักการะ บูชา ต่อองค์สมเด็จพระพุทธเจ้า
    ร่างกายยังไม่สิ้นก็ จะทำแต่ความดี เผยแพร่ต่อยอด พระพุทธศาสนาต่อไป จวบจนชีวิตจะหาไม่
    กล่าวได้ว่าการปฏิบัติในครั้งนี้ คือ
    "ไม่เห็นทุกข์ ไม้เห็นธรรม"
    "อย่าให้ทุกข์เกิด จึงเข้าหาธรรม"
    บทความ และที่มาที่ไปต่างๆ ผู้เขียนไม่ได้ศึกษาถึงที่มาที่ไป และข้ออ้างอิง และมิได้คิดจะบิดเบือน
    สิ่งที่ชนรุ่นก่อน ที่ได้เคยเล่าสืบทอดกันมา เป็นความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนทั้งสิ้น ผู้เขียนขอกล่าวถึง
    เหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้รับรู้ โดยใช้คำว่าโทรจิต โปรดใช้สติของท่านผู้อ่าน ตรองถึงเหตุผลต่างๆที่จะ
    เล่าต่อไปนี้ฝึกจิต กำหนดจิต ปลงขัน "ชำระกรรมให้เบาบาง"การปลงขัน ที่ผู้เขียนจะถ่ายทอดเล่า
    ให้ท่านผู้อ่าน ได้อ่าน ผู้เขียนรับการสื่อทางโทรจิตในการสอนจากหลวงปู่ โดยเกิดจากความเจ็บป่วย
    ของผู้เขียนที่จะเล่าต่อไปนี้

    การเจ็บครั้งที่สาม ในช่วงเข้าพรรษาปี 2552 มีอาการหนักขึ้นตามลำดับ เจ็บป่วยทุกทรมาน
    มีอาการเหนื่อย หายใจติดขัดหลายรอบ นอนไม่ได้กระสับกระส่าย ไข้ก็ไม่มี แต่มีอาการร้อนในตัว
    ใจหนึ่งก็อยากไปโรงพยาบาล แต่ใจหนึ่งก็เห็นว่าไปรักษาพึ่งจะกลับมารักษามาสามรอบแล้ว จึงแข็งใจ
    เอาทางธรรมรักษา วันที่สื่อโทรจิตถึงหลวงปู่นั้น ผู้เขียนนอนไม่หลับ ด้วยความเจ็บป่วย จนรุ่งเช้ า จิต
    ก็ภาวนากำหนดลมหายใจ และนึกถึงหลวงปู่
    ผู้เขียนไม่เคยได้ไปกราบไหว้ ท่านเลยสักครั้งรู้จักท่านได้ เพราะมี ผู้ที่นำหนังสือเกี่ยวกับประวัติ
    หลวงปู่มาให้ได้อ่าน และบอกกับผู้เขียนว่าหลวงปู่ท่านใจดีเรามีอะไร ให้นึกถึงท่านเวลาทำสมาธิให้
    ตั่งจิตถึงท่านๆจะมาสอนในจิต ผู้เขียนจึงทำสมาธิและกำหนดจิตถึงหลวงปู่
    จิตนิ่งไม่ถึงห้านาที่ หลวงปูท่านมาให้รับรู้ทางเสียง หรือที่ผู้เขียนกล่าวบ่อยๆ คือ โทรจิต
    หลวงปู่สอนการทำสมาธิตามที่กล่าว ดังผู้เขียนจะสดับให้ได้อ่าน ตามขั้นตอนต่อไปนี้
    หลวงปู่ : จิตอยู่ที่ลมหายใจนะลูกนะ สูดสมเข้าให้เต็มที่ แล้วค่อยๆผ่อนออกเบาสบายพิจารนาลมหายใจ
    อยู่ที่หน้าอก หรือปอด สูดสมหายใจยาวๆเข้า ผ่อนออก เบาสบาย จิตรวมที่ลมหายใจ อยากให้จิตออกนอก
    จิตนะลูก จิตไม่นิ่ง ก็ดึงกลับมาอยู่ที่ลมหายใจ นะลูกนะ กำหนดจิตอยู่ในอาอับอิริยา ที่ลมหายใจ หายใจเข้า
    ให้เต็มปอด ผ่อนออกเบาสบายกำหนออยู่เช่นนั้น จนจิตนิ่งถึงระดับเบาสบายในตัวตน

    หลวงปู่ : กำหนดต่อนะลูกนะ พิจารนาถึงดอกบัวสีขาว อยู่ด้านหน้าเราในระดับสายตา เห็นแล้วก็ เห็นหนอนะลูก
    นั้นคือดอกบัวที่จิตเรากำหนดขึ้นมา เห็นหนอน เห็นหนอ ดอกบัวนี้เป็นจิตที่เรากำหนด เป็นดอกบัวที่ขาวสะอาด
    เป็นตัวตนเป็นร่างกายของเรา ดอกบัวนี้เปรียบดังเครื่องสักการบูชา พระพุทธเจ้านะลูก เห็นหนอ ดอดบัวสีขาวสะอาด
    พิจารนาดอกบัว กำหนดจิตเรา แพ่งจิตไปที่ดอกบัว นะลูก ดอกบัวที่ขาวสะอาดตอนนี้ มีแสงแห่งดวงจิตของเราอยู่ด้วย
    แล้วนะลูก แสงสีทอง ที่อยู่รอบบัวที่นั้นเป็นแสงแห่ง ดวงจิตของเรา ที่อยู่ในสมาธินะลูก ดอกบัวจะสวยงามดูเปล่งแสง
    ทองแห่งธรรมได้ ก็เกิดจากจิตเราที่มีพุทธทานุภาพแห่งพระพุทธคุณนะลูก กำหนดให้ได้ดังกล่าว อยู่กับจิตดังกล่าว
    จนเกิดความเบาสบายอิ่มเอิบ และ ปิติในบุญ ดังที่กล่าวนี้เป็นขั้นตอนของการฝึกจิตให้นิ่ง ขั้นแรกเมื่อจิตนิ่งแล้ว
    หลวงปู่ท่านสอนต่อในขั้นต่อไป

    สมาธิกรรมฐานขั้นที่สอง
    พิจารนาร่างสังข์ขาน ปรังธาตุ ในตัวตนเพื่อคลาย อาการเจ็บป่วย เบาสบายอิ่มเอิบและปิติแล้วนะลูก ในขณะนี้ดวงจิต
    เป็นพลังบุญ เรากำหนด จึงเกิดพุทธทานุภาพนะลูก เบาสบาย พิจารนาอากับกิริยาอาการที่เป็นอยู่ พลังแห่งบุญนะลูก
    ตอนนี้จิตเราอยู่ที่ดอกบัวแล้ว จิตก็พิจารนาเห็นหนอ เห็นร่างกายที่อยู่ด้านหน้าจิต รูปกายสังข์ขานนี้นะลูก
    ไม่ใช่ของเราหนอ ร่างสังข์ขานหนอ มีแต่ของเน่าเหม็นสกปรก ไม่เป็นท่า เมื่อจิตประกอบคู่กับร่างกาย จึงทำให้เกิดหนอ
    เกิดตัวเราหนอ สิ่งสะอาดที่สุดคือจิตหนอตอนนี้จิตอยู่ที่ดอกบัว พิจารนาไปนะลูก
    สังข์ขานหนอ ประกอบด้วยธาตุทั้งสี่หนอ

    มีธาตุดิน คือเนื้อ หนัง ตับ ไต เครื่องในต่างๆ ในตัวเรา เห็นหนอนะลูกนะ
    ธาตุดินคือเนื้อหนังในร่างกายของตัวเรา ไม่เที่ยง คือดินก็ต้องย่อยสลายศูนย์หาย ตามกาลเวลาหมดกรรมไป
    ร่ายกายก็คือดินเห็น หนอ ธาตุดิน คือร่างกายเนื้อหนังเราหนอ

    เห็นหนอร่างกายเราประกอบด้วยธาตุน้ำหนอ น้ำคือธาตุถัดจากดิน ที่อยู่ในร่างกายเราหนอ เราปริโภคดื่มกินน้ำนี้หนอ
    เมื่อธาตุน้ำประกอบในร่างกายเราแล้วนั้น ก็เปลี่ยนสภาพหนอ เป็นน้ำเลือด น้ำเหงื่อ น้ำหนอง น้ำดี น้ำเสรส ฯลฯ หนอ
    เป็นของเน่าเหม็นหนอ ร่างกายดับกลับกลาย
    เป็นธาตุเดิมตามเวลาหนอ ร่างสังข์ขานหนอ ไม่เที่ยง เกิดดับศูนย์สลายตามกาลเวลา

    สังข์ขานหนอประกอบด้วยธาตุลมหนอ
    ธาตุลมคืออากาศ ที่เราสุดลมหายใจเข้าไปหนอ ธาตุลมคืออากาศที่อยู่ทั่วร่างกายเราหนอ
    ดับสายผ่านมาแล้วก็ดับไปตามกฎธรรมชาติหนอ

    สังข์ขานหนอ ประกอบด้วยธาตุ ไฟหนอ
    ธาตุไฟ คือความอบอุ่นที่เราได้รับหนอ ความอบอุ่นนี้มาจากธรรมชาติสร้างมาหนอ ร่างกาย สังข์ขานหนอประกอบ
    ด้วยธาตุ ดิน น้ำ ลม ไฟหนอ และมีดวงจิตหนอ ที่สะอาดขับเคลื่อนให้ร่างกาย มนุษย์อยู่ได้หนอ ทุกสิ่งในร่างกายเกิดจาก

    ธรรมชาติสร้างขึ้นหนอ หมดเวลาก็ต้องคืนให้เขาเพราะเรายืมเขามาหนอ
    ทุกสิ่งในโลกล้วนเกิดดับหนอ สิ่งที่ยังอยู่หนอ คือดวงจิต รู้หนอ หมั่นทำกรรมดี ภาวนาสวดมนต์ กำหนดกรรมฐานหนอ
    ที่เป็นทางหลุดพ้น ร่างกายดับหนอ เหลือดวงจิตหนอ ที่สะอาด ได้ไปเกิดจุติตามกรรมที่ได้กระทำมา การเข้าสมาธิกรรมฐาน
    ที่กล่าวนั้น เป็นระดับขั้นที่สองคือ ปรับธาตุในตัวตน เจ็บป่วยด้วยโรคใดก็ ปรับธาตุให้เข้าที่ ให้สมดุลต่อร่ายกาย จบเรื่องเล่า
    การสื่อถึงหลวงปู่ สาวกพระพุทธเจ้าที่สำเร็จ ขั้นนิพาน ทาง จ.พิจิตร

    " ด้วยจิตผู้เขียนนี้ขอระลึกถึง" คุณพระพุทธเจ้า พระธรรมคำสอน พระสงค์สาวก
    ของพระผู้มีพระภาคเจ้า และหลวงปู่ที่เปิดสติสอนสมาธิกรรมฐาน ให้กับข้าพระเจ้าให้ได้มาเผยแพร่
    ให้ท่านผู้อ่านได้รับรู้ในครั้งนี้ ขอให้ท่านผู้อ่านมีสติปัญญาในการปฏิบัติธรรม กรรมฐาน
    เจริญทั้งทางธรรมและทางโลก สาธุ
    ....เรือง ตะวัน....

    อนุโมธนาสาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กันยายน 2009
  11. โอมธนกฤต

    โอมธนกฤต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2009
    โพสต์:
    606
    ค่าพลัง:
    +3,984
    บังเอิญเพิ่งไปเปิดอ่านในบอร์ด เล่าเรื่องผี-ผี ไปเจอกระทู้ของท่านอีกกระทู้
    สวดมนต์ ปลดปล่อยวิญญาณ โดย เรืองตะวัน
    ความฝันควบคู่นิมิต
    http://palungjit.org/threads/สวดมนต์-ปลดปล่อยวิญญาณ-โดย-เรืองตะวัน.203525/

    ตามที่ผู้เขียนอธิบายบอกกล่าวให้ได้รับรู้ว่า ความฝัน กับนิมิตนั้นแยกกันแทบไม่ออก ถ้าผู้ที่ฝันหรือนิมิตนั้น มิใช้ผู้ที่ปฏิบัติสวดมนต์ ภาวนาและแยกแยะออก
    ว่าสิ่งใดคือ ความฝัน สิ่งใดคือ นิมิต เรื่องที่ได้เกริ่นไว้ข้างต้นว่าจะเล่านั้น เป็นเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นในคืนที่เขียนบั้นทึกเรื่อง ฝึกจิตแก้กรรมโดยโทรจิต
    กำลังจะเข้าเนื้อเรื่องก็ต้องพักการเขียนดังกล่าว เพื่อที่จะเขียนบันทึกนี้
    เรื่องเล่า สวดมนต์ ปลดปล่อยวิญญาณ
    เข้าพรรษา ปี 2552 ผู้เขียน ต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล เนื่องจากติดเชื้อไข้หวัด 2009 การรักษาตัว เป็นไปด้วยดี นอนรักษาจนล่วงเลยมาถึง
    วันพุธที่ 4 เดือนสิงหาคม ครบ 7วัน อาการที่เจ็บป่วยต่างๆเริ่มดีขึ้น แทบจะกล่าวได้ว่า ร่างกายเป็นปกติ พร้อมจะกลับบ้านแล้ว หมอจึงให้ย้ายจากผู้ป่วยเฝ้า
    ระวัง มาพักฟื้นที่ห้องสามัญ ซึ่งห้องสามัญนี้เพิ่งเปิดรับคนไข้ รักษาเป็นเวลาได้ไม่นาน ผู้เขียนได้มาพักฟื้นในห้องดังกล่าว คืนแรก..กว่าจะหลับได้ก็ประมาณ
    เกือบจะเข้าเช้าวันใหม่ ก่อนนอนด้วยความที่ไม่ได้สวดมนต์มาหลายวัน จากการไม่สบาย วันนั้นจึงสวดโดยใช้ บทสวด เมตตาพรหมวิหารภาวนาหรือเมตตาใหญ่
    และชินบัญชร ซึ่งท่านที่เคยสวดบทสวดมนต์ เมตตาใหญ่ฯ จะทราบกันดีว่าเป็นบทที่ค่อนข้างยาว ผู้เขียนสวดพอได้ ใช้เวลาในการสวด 1จบ เกือบครึ่งชั่วโมง
    จึงไม่ค่อยใช้บทสวดนี้มาสวดนัก วันนั้นนึกอยากสวด เพราะเป็นการนอนคืนแรกในห้องสามัญดังกล่าว จึงอันเชิญสวด 1 จบ พร้อมบทสวดชินบัญชรที่ผู้เขียนใช้
    สวดบ่อยและท่องจำได้โดยไม่ต้องเปิดหนังสืออ่านตาม พร้อมแผ่เมตตาอย่างที่เคยกระทำในทุกๆครั้ง สวดจนครบดังที่กล่าว ได้นั่งสมาธิประมาณครึ่งชั่วโมงและ
    เข้านอนๆหลับ จิตนิ่งได้นิมิตกึ่งฝันว่า ขึ้นไปอยู่ในตึกที่สูง ซึ่งคล้ายกับห้องสามัญที่เรานอนพักฟื้น แต่แตกต่างกันพอประมาณ ได้เห็นศพคนตายนอนสุมกันเป็นกอง
    มีทั้งหญิงและชายประมาณ 20 ถึง 30ศพเห็นจะได้ ผู้เขียนยืนมองปลงในร่างกายมนุษย์ และกล่าวในจิตกับสิ่งที่เห็น

    " เกิดแก่เจ็บตายเป็นสิ่งที่จะต้องเจอกันทุกท่านขณะนี้เป็นเวลาท่าน ต่อไปก็ถึงคราวเราต้องเป็นไปทุกคน "

    ใจหนึ่งก็ปลง ใจหนึ่งก็นึกกลัว กล่าวในจิตกับศพเหล่านั้น พร้อมกับอากัปกิริยาความกลัวปะปนควบคู่ อยู่ในภวังค์ได้สักระยะ สิ่งที่เห็น ได้เปลี่ยนสภาพเป็น
    ดวงวิญญาณและกำลังจะร้องบอกอะไรบางอย่างกับผู้เขียน ด้วยความที่ผู้เขียนกลัว ยังไม่ทันได้โต้ตอบและรับฟังสิ่งที่วิญญาณเหล่านั้นจะเจรจา ผู้เขียนกลับวิ่งหนี
    ดวงวิญญาณกลับวิ่งตาม จนตามผู้เขียนทัน และได้ขอให้ช่วยปลดปล่อยพวกเขาที ผู้เขียนถามกลับแล้วจะให้ทำอย่างไร ตัวผู้เขียนไม่มีความสามารถที่จะทำ
    ตามที่ขอให้หรอก ผู้เขียนโต้ตอบกับวิญญาณเสร็จ ก็เดินกึ่งวิ่ง จะหนี ก้าวเดินยังไม่ถึงสามก้าว ก็ได้มีดวงวิญญาณดวงหนึ่งเป็นเสียงผู้ชาย กล่าวว่า
    " ท่านทำได้โปรดช่วยเหลือเราเถิด "
    ผู้เขียนกล่าวตอบ " ไม่! เราไม่มีบารมีที่จะสามารถปลดปล่อยพวกท่านได้หลอกให้ ไปขอท่านอื่นที่เขาสามารถทำตามที่ท่านร้องขอได้เถิด "
    "ท่านทำได้ ท่านทำได้ ช่วยเราด้วยเถิดขอเพียงท่านรับปากว่าจะช่วย "
    ผู้เขียนไม่ทราบว่าจะทำอย่างไร ใจก็อยากจะไปให้พ้นจากวิญญาณเหล่านั้น จึงรับปากช่วย แบบขอไปที
    "เรารับที่ช่วยแล้ว!
    เราไปนะ ตัวผู้เขียนเดินจากมา ดวงจิตดวงเดิมได้กล่าวขึ้นอีกว่า
    "เดี๋ยว ท่านบอกจะช่วยให้เราหลุดพ้น ท่านต้องส่งกุศลให้เราก่อน"
    ผู้เขียนกำหนดแผ่ส่วนบุญให้กับดวงวิญญาณเหล่านั้น ดวงวิญญาณเล่านั้นได้รับบุญกุศลที่ผู้เขียนแผ่ให้ ร้องดีใจกันเสียงดังขรม พร้อมกลับกลายเป็นดวงจิตเล็กๆ
    มากมากมองเห็นได้รอบๆตัวผู้เขียน ดวงจิตเหล่านั้นมีแสงระยิบระยับเป็นดวงเล็กๆคล้ายหิ่งห้อย ล่องลอยขึ้นสู่บนฟ้า ผู้เขียนขึ้นตามไปส่ง ไปได้ประมาณครึ่งทาง
    ก็ตกใจตื่น เหตุการณ์หมดที่เกิดขึ้นนั้นผู้เขียนตื่นขึ้นยังจำได้ทุกเหตุการณ์ที่นิมิตฝัน และได้ถ่ายทอดเป็นเรื่องเล่าให้คุณผู้อ่านได้อ่าน พร้อมสรุปในเรื่องราวของ
    การนิมิตกึ่งฝันนี้ว่า น่าจะเป็นจากบทสวดมนต์เมตตาใหญ่ฯ และชินบัญชร ที่ผู้เขียนได้สวดและแผ่ส่วนบุญส่วนกุศลให้กับวิญญาณเหล่านั้น ท่านผู้อ่านๆเรื่องเล่านี้แล้ว
    ผู้เขียนหวังว่า เรื่องเล่าเรืองนี้จะทำให้ท่านทราบว่า สิ่งที่มองไม่เห็นรับรู้ได้ ทางฝันและนิมิตอีกทางหนึ่ง และพุทธานุภาพของบทสวดมนต์ ต่างๆที่พระพุทธเจ้า
    ได้เผยแพร่ให้เราชาวพุทธได้ปฏิบัติ เปี่ยมด้วยพุทธานุภาพบารมี ถึงพระองค์ท่านจะ ปรินิพานหมดภพชาติความเป็นมนุษย์(ตรัสรู้ไปนานแล้ว) พุทธานุภาพ
    บารมีของท่านมิมีเสื่อมถอยไปตามกาลเวลา แม้ บทสวดเมตตาใหญ่ฯ ผู้เขียนนั้น พึ่งจะนำมาปฏิบัติสวดไม่ถึงสิบครั้ง บารมียังเกิด มีดวงวิญญาณมาขอบารมีให้
    ช่วยปลดปล่อยเขาให้ไปจุติเกิด ณ.ภพภูมิใหม่

    สาธุ ขอให้ดวงวิญญาณเหล่านั้นสู่สุคติ หมดภพภูมิ ที่จะต้องใช้กรรมทุกข์ทรมาน ไม่ ว่าท่าน ตอนมีชีวิต ท่านจะเป็นสาวกของพระผู้เป็นเจ้าพระองค์ใด ปัดนี้
    พุทธานุภาพ ของสมเด็จพระพุทธเจ้า พระพุทธโคดม ได้ปลดปล่อยท่านให้หลุดพ้น ขอให้ท่านมีภพภูมิที่สูงส่ง จุติเป็นมนุษย์ ได้มาอยู่ในร่มโพธิ์บารมี
    ของพระพุทธเจ้าณ.ประเทศไทย สยามประเทศ เถิด
    ....จบเรื่องเล่า สวดมนต์ ปลดปล่อยวิญญาณ .......
    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่)
    เอวัมเมสุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ
    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโตปัจจัสโสสุงฯ
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ
    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะสุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ?
    (๑) สุขังสุปะติ (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโยโหติ
    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วาวิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ
    (๙) มุขะวัณโณวิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโตพรหมมะโลกูปะโค โหติฯ
    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะพะหุลีกะตายะ
    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะอิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ
    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?
    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?
    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุติฯ
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ
    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตูติ
    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะอะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗)สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌาอานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโยอะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะเทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพเหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ

    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ
    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา
    อะปีฬานะยะอุปะฆาตัง วัชเชตวา
    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา
    อะสันตาเปนะปะริยาทานัง วัชเชตวา
    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
    อะวิเหสายะสัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุมา
    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตังธัมมัง เจตะยะตีติ
    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะเจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนานิฏฐิตา.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กันยายน 2009
  12. ปุญญานุภาพ

    ปุญญานุภาพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    320
    ค่าพลัง:
    +916
    ธรรมะสวัสดีท่านผู้เจริญทั้งหลาย

    วันนี้ ผมได้ครับคำแนะนำจาก " คุณบอล " แล้วครับ วันนี้ผมรู้สึกยินดีปรีดาเป็นอย่างยิ่งครับ ที่จะมีโอกาสคุณกับคนมีญาณ กับเค้าบ้างว่างั้นเถอะครับ

    เริ่มต้นก้อมีการถามชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด ครับ จากนั้นก้อเริ่มสนทนากันเลยครับ

    ผมเองเป็นผู้มีปัญหาในเรื่องสุขภาพ พอสมควร เป็นปัญหาให้ทำมาหากินไม่ได้ ทั้ง ๆ ที่ดูเหมือนเป็นคนปกติ ครบ 32 ทุกประการ แต่ด้วยภายใน เส้น ๆ สาย ๆ นี่ล่ะครับ ทำให้ทำอะไรไม่ได้มาก เสียว ๆ ขัด ๆ อยู่อย่างนั้น และมีอีกหลายเรื่อง ที่ปุถุชนคนเดินดิน จะอดคิดอดเครียดไม่ได้ เลยเล่าให้คุณบอลฟังนิสส ๆ ครับ คุณบอลก้อได้กรุณาพูดถึงเจ้ากรรมนายเวรของผม

    1. ว่าเพราะเหตุใดถึงต้องประสบกับการ เจ็บปวด อย่างนี้ ?


    กล่าวถึงกรรมในอดีต

    คุณบอล--- เพราะคุณเคยเป็นคนมีอำนาจหน้าที่ เหนือคนทั่วไป แล้วไปสั่ง กักขังคน ลงทัณฑ์เอาไว้ ด้วยเหตุนี้ คุณจึงต้องรับผลของวิบากกรรมตรงนั้นนะครับ

    ความเห็นของผม คุณบอลพูดถูกครับ ถูกต้องด้วยซ้ำไป ซึ่งผมเองก้อรู้อยู่แก่ใจแล้วครับ ( คุณบอลก้อยังเกริ่นผมนิสส ๆ ว่า คุณเองก้อทราบอยู่แล้วมิใช่รึ ? ) ฮา... " ดันรู้อีก ( ผมคิดในใจนะครับ ) แระนี่ก้อคือเหตุปัจจัยที่ทำให้ผมรับทุกข์ครับ


    กล่าวถึงการสวดมนต์ของผม

    คุณบอล ---- ทราบด้วยว่า ผมมีปกติสวดมนต์ไหว้พระอยู่แล้ว จึงเป็นเหตุปัจจัยให้ความทุกข์ กาย ใจ ผมบรรเทาลง ได้อย่างพอสมควรตามกำลังบุญ กำลังกรรมของตน
    คุณบอลจึงถามผมต่อว่า สวดบทอะไรอยู่ ผมก้อเล่าไป ตามบทที่ตัวเองได้สวดเป็นประจำ คุณบอล ได้ตอบผมว่า บทสวดที่คุณสวดน่ะ ดีแล้ว ถูกต้องแล้ว ให้ทำต่อไป แต่ก้อมีทักผมลงท้ายสั้น ๆ ว่า บทเมตตาใหญ่นั้น ไม่จำเป็นที่ผมต้องสวดทุกวัน เหตุเพราะผมกำลังที่จะแผ่มีน้อย จึงควรที่จะแผ่หรือสวดบทนี้ เฉพาะวันพฤหัสก้อเพียงพอ เพราะจะได้มีพลังในการแผ่มากขึ้น คำแนะนำของคุณบอลว่าอย่างนั้น

    ความคิดเหตุของผม คุณบอลกล่าวได้ดีครับ ในเรื่องของผม สำหรับการสวดมนต์นั้น
    แต่ผมก้อมีความเหตุผลของผมในจุดนี้ครับ คือ ไม่ว่าผมจะทำกุศลกรรมใด ๆ ในระหว่างวันผมจะแผ่ ย่อย ๆ ตลอดเวลาที่ได้ทำทันที ไม่ว่าให้อาหารแมว ( แมวเร่ร่อนครับ ) อาหารปลา อาหารหมา หรืออื่น ๆ ที่เป็นการสร้างบุญ ผมก้อจะแผ่ไปทุกครั้งทีได้ลงมือทำครับ
    ซึ่งผมเองก้อ สมาทานศีล เจริญภาวนา อยุ่เนือง ๆ อยุ่แล้ว พอตกเย็น สวดมนต์ไหว้พระตามปกติ เมื่อถึงเวลาที่แผ่เมตตา ผมจะระลึกถึง บุญกุศลตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบันวันนี้ ขอยกถวายเป็นพุทธบูชาก่อน จากนั้นถึงค่อยขอผลานิสงค์แห่งการบุชานั้น จงเป็นเหตุปัจจัย ส่งผลให้อะไร ๆ ก้อว่าไป ....... ครับ เพราะผมเชื่อว่า ลำพังกำลังบุญผมคงไม่เพียงพอ จึงขออาศัยพุทธบารมี แผ่ไปในทุกทิศ และทุก ๆ ที่ อย่างนี้เป็นปกติทุกวันครับ ฯ

    คุณบอล ไม่แนะนำการปฏิบัติของผมครับ และไม่ถามด้วยว่า ปฏิบัติอะไร อย่างไร บอกแต่เพียงว่า " ที่ทำอยู่ดีแล้ว ถูกทางแล้ว ถูกต้องแล้ว ให้ทำต่อไป " เพียงแต่ของให้เพียร และทำตัวรู้ให้ เกิดขึ้น สม่ำเสมอ นะครับ

    ความคิดเหตุของผม ตรงจุดนี้คนที่จะบอกเราได้ มี 4 ประเภทครับตามความรู้ของผมนะครับ
    ข้อหนึ่ง ภูมิธรรมและข้อปฏิบัตินั้นเสมอด้วยผม
    ข้อทีสอง คือ ภูมิธรรมและข้อปฏิบัตินั้นเหนือกว่าผม
    ข้อที่สาม ผู้นั้นมีเจโตปริยญาญ ( รู้วาระจิต ) ซึ่งผมเคยเจออาจารย์แบบว่านั้นมาแล้ว ข้อที่สี่ ผู้นั้น " หลุดพ้น " และรอบรู้ในธรรมของพระพุทธองค์

    ซึ่งโดยส่วนตัวนั้น ผมพบทั้ง สี่ ประเภทแล้วครับ ผมจึงมีหน้าที่ ทำความเพียรต่อไป เพราะทุกอย่าง ย่อมรู้ด้วยตนเอง


    ผมถามเรื่อง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ดูแลรักษาผมอยู่

    คุณบอล -- แนะนำให้ไปกราบไหว้ พระปิยะมหาราชครับ แล้วจะสมความปรารถนา ( เพราะรู้ว่า ผมบูชาอยุ่ ซะด้วยสิ 55 ) แต่อย่างอื่นคุณบอลไม่ได้บอกอะไรครับ

    ความเห็นของผม " ดี " ครับ ถูกต้องครับ แต่ยังไม่หมด


    เรื่อง พ่อแม่

    คุณบอล แนะนำผมให้ดูแลพ่อแม่ให้ดีครับ ซึ่งผมก้อรับคำตรงนั้นครับ เพราะเป็นหน้าที่ของลูกที่ดีอยุ่แล้วครับ

    ความเห็นของผม ( แต่ผมไม่มีโอกาสจะได้ดูแลพ่อแม่ผมในโลกใบนี้ได้แล้วครับ) ซึ่งผมก้อได้ทำหน้าที่ ตามไปดูแลช่วยเหลือท่านในที่อันไกลโพ้น ที่ ๆ น้อยคนที่จะได้กลับมาเล่าให้คนอื่นได้ฟังว่า ที่ ๆ ไปนั้นเป็นเช่นไร ผมกล่าวเช่นนี้คงพอเดาได้นะครับ


    *หมายเหตุ คุณบอลยังได้กรุณาให้คำแนะนำกับภรรยาผมด้วยครับ ต้องขอขอบคุณให้น้ำใจของท่านด้วยครับ


    ภาพรวมของการแนะนำเปิดกรรมครับ

    จัดว่าดีในระดับหนึ่ง ทีเดียวครับ ซึ่งผมกราบเรียนตามตรงว่า ในพลังจิตนี้ มีสองท่านแล้วครับ ที่ผมมองเห็นว่า มาสงเคราะห์คนจิง ๆ 1.คุณเด็ก.......สา 2. คุณบอล ( ที่เว้นวรรคนั้น ผมยังไม่ได้ขออนุญาติจากเจ้าของชื่อ นามปากกาครับเลยไม่สามารถจะลง ณ ที่นี้ได้ ถ้าบุญสัมพันธ์กัน ท่าน ๆ ก้อคงจะทราบเองครับ


    คำสารภาพครับ

    ผมเองก้อพอทราบเรื่องกรรมของตัวเองอยู่แล้ว แต่อยากจะได้รับความมั่นใจจาก คนอื่น ๆ กล่าวถึงตัวผมบ้างครับ


    ขออนุโมทนาและขอขอบคุณครับ

    ปุญญานุภาพ<!-- google_ad_section_end -->
     
  13. lissent

    lissent เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 เมษายน 2008
    โพสต์:
    657
    ค่าพลัง:
    +1,169
    ได้อ่านเรื่องที่คุณบอลเขียนมาแล้วทำให้นึกถึงคำพูดที่เคยได้ยินมานานของหลวงพ่อสนองวัดสังฆทานเมืองนนท ท่านเคยพูดว่าคนเรา น้ำตาไม่ตกไม่เห็นอกพระ จิรงๆๆนะว่ามั้ยค่ะ
    บทสวดแผ่เมตตาใหญ่ที่คุณบอลพูดคือบุญสวดอันเดียวกันกับที่ท่านอาจารย์ เสิรมศิลป์ หรือเปล่าค่ะเท่าที่ดูจะเหมื่อนกันมากเพียงแต่การจัดวางบางช่วงจะต่างกันนิดหน่อยค่ะเห็นว่าเป็นฉบับย่อค่ะถ้าจะเอาเต็มๆละก็เยอะมากค่ะสวดกันเป็นสองสามชั่วโมงเลยค่ะ ผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมาณที่นี้ด้วยค่ะ
     
  14. pantham phuakph

    pantham phuakph เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    186
    ค่าพลัง:
    +444
    ขอร่วมอนุโมทนากับทุกท่านครับ

    ขอโทษครับ คุณปุญญานุภาพ เกี่ยวข้องอะไรกับ อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ ครับ
     
  15. pantham phuakph

    pantham phuakph เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    186
    ค่าพลัง:
    +444
    ขอร่วมอนุโมทนากับทุกท่านครับ

    ขอโทษครับ คุณปุญญานุภาพ เกี่ยวข้องอะไรกับ อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ ครับ
     
  16. ปุญญานุภาพ

    ปุญญานุภาพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    320
    ค่าพลัง:
    +916
    บุญรักษาครับ


    เรียนท่านผุ้เจริญ

    มิได้มีความเกี่ยวข้องกันครับ " ปุญญานุภาพ " ชื่อมีความหมายดีตามพระบาลีครับ แปลว่า อานุภาพแห่งบุญ ครับ

    ส่วน ท่าน อ.สุชีพ ปุญญานุภาพ และภรรยาของ อ. เคยเป็นอาจารย์ให้ความรุ้ในเรื่องของธรรมะ ครับ

    อนุโมทนาครับ
     
  17. porch

    porch เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2007
    โพสต์:
    507
    ค่าพลัง:
    +907
    โมทนาด้วยครับ...ขอให้อานิสงฆ์ผลบุญคุณบอล
    ให้พ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ ให้หายโดยเร็ววันนะครับ
     
  18. kittapass

    kittapass เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +257
    พิจิตรเหมือนกัน

    ขออนุโมทนากับน้องบอลคะ
    พี่ไปกราบหลวงปู่บ่อยๆ ( พี่อยู่พิจิตร ) แต่ก็ไม่ทราบว่าเป็นหลวงปู่องค์เดียวกันหรือป่าว
    แต่หลวงปู่ที่พี่ไปกราบ คือ หลวงปู่จันทรา . หลวงปู่อ่ำ
    หลวงปู่ทั้งสองเป็นพระอรหันต์ ที่ได้มาโปรด เป็นบุญอย่างหาที่สุดไม่ได้ที่ได้มีโอกาสได้มาใส่บาตรท่าน
    ขอให้เจ้ากรรมนายเวรของน้องอโหสิกรรมให้ในเร็ววันนี้นะคะ
    บุญรักษาคะ<!-- google_ad_section_end -->



    ผมก็อยู่พิจิตร อยากถามคุณคนดีคนนี้ว่า หลวงปู่อ่ำ อยุ่วัดใหนครับ ขอบคุณครับ
     
  19. คนดีคนนี้

    คนดีคนนี้ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    85
    ค่าพลัง:
    +269
    หลวงปู่อยู่ วัด สันติวรญาณ วังโป่งคะ

    ยินดีที่เจอคนพิจิตรคะ
     
  20. kittapass

    kittapass เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +257
    ผมก็ดีใจที่ได้เจอคุณคนดีครับ แล้วถามเพิ่มนิดหนึ่งครับ วัด สันติวรญาณ วังโป่ง อยู่อำเภออะไรครับ ผมอยู่อำเภอเมืองครับ แต่ปัจจุบันอยู่กรุงเทพครับเพื่อกลับบ้านเมื่อไหร่จะได้ไปกราบท่านหลวงปู่อ่ำ ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...