junsaburo
ความเคลื่อนไหวล่าสุด:
28 มกราคม 2020
วันที่สมัครสมาชิก:
5 พฤศจิกายน 2008
โพสต์:
0
พลัง:
0

โพสต์เรตติ้ง

ได้รับ: ให้:
ถูกใจ 0 0
อนุโมทนา 0 0
รักเลย 0 0
ฮ่าๆ 0 0
ว้าว 0 0
เศร้า 0 0
โกรธ 0 0
ไม่เห็นด้วย 0 0

กำลังติดตาม 1

ผู้ติดตาม 1

แชร์หน้านี้

junsaburo

สมาชิกใหม่

junsaburo เห็นครั้งสุดท้าย:
28 มกราคม 2020
    1. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      จิตที่ปลงอัตตาตัวตนลงได้อย่างแท้จริง จะไม่วิ่งแล่นเดือดดาน ทั้งสรรเสริญและนินทา ทั้งสุขแลทุกข์ ทั้งได้ลาภแลเสื่อมลาภ ทั้งได้ยศแลเสื่อมยศ

      หากเรามีธรรมแท้ๆ เราจะไม่เถียงใครๆให้เหนือยเปล่า เราจะฟังเขาอย่างสงบได้ ดั่งคนผู้มีบ้านอันมุงดีแล้ว มีฝาบ้านอันปิดสนิทแล้ว มีผ้าห่มอันดีแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหวต่อภัยจากฝน ภัยจากอากาศ ถึงฝนจะตกหนัก ฟ้าจะร้องดัง ลมจะพัดโกรก อากาศจะเหน็บหนาวสักป่านใด ใจก็สงบเพราะเรามีที่พึ่งอันดีแล้ว ฉันนั้น
    2. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      นึกถึงภาพพระที่เราชอบ
      นะโม (3 จบ)
      เม สัมมุขา สัพพาหะระติ เต สัมมุขา

      สวดทุกวัน วันละครั้ง
      จะพ้นภัย สาธุ
    3. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      เหตุที่ทําให้คนเราเกิดความโลภ

      เป็น ที่ทราบกันดีว่าผู้คนส่วนใหญ่ ไม่ค่อยจะให้ความสนใจถึงเหตุที่ทําให้เกิดความโลภ แต่จะสนใจแต่ในสิ่งที่ความโลภต้องการหรือที่ได้มา ต่อเมื่อได้ศึกษาธรรมะ จึงทําให้เราอยากจะรู้ว่า ทําไมคนเราจึงมีความโลภ ในพระอภิธรรมท่านได้กล่าวถึงเหตุที่ทําให้คนเกิดความโลภแบ่งออกเป้น 4 อย่าง สองอย่างแรกความโลภจะเป็นนิสัยติดตัวเรามาจากอดีต คําว่าอดีตในที่นี้ หมายถึงอดีตชาติ มิได้หมายถึงเมื่อวานหรือวันเวลาที่ผ่านไปหลังจากจิตเราปฏิสนธิในชาตินี้ และสองอย่างสุดท้าย ความโลภเกิดจากปัจจุบันชาติ

      1. ปฏิสนธิมาด้วยกรรมที่มีความโลภเป็นบริวาร

      กรรมที่ทําให้ได้เกิดเป็นมนุษย์นั้น ชนกกรรมที่นําพามาคือ กุศลกรรม ตรงกันข้ามกับชนกกรรมที่นําสัตว์ทั้งหลายไปเกิดในอบายภูมิ กรรมที่นําสัตว์ไปเกิดในอบายคือ อกุศลกรรม เป็นตัวนํา แต่ในที่นี้จะพูดถึงกุศลกรรมที่เป็นตัวหลัก และบริวารกรรมที่ติดเรามา ตัวบริวารกรรมที่ไม่ดี(ชั่ว)นี้เองถ้าหากมีกําลัง จะเป็นตัวลดกุศลกรรม ยกตัวอย่างง่ายๆคือ คนที่ชอบทําบุญกับพระเพื่อหวังสิ่งตอบแทน เช่นว่ารู้ว่าพระองค์นี้มีสมาธิ รู้หวยรู้ตัวเลข จึงนําสิ่งของไปถวายอยู่บ่อยๆ เพื่อขอหวย ตัวถวายเป็นกุศลกรรม ตัวที่ต้องการหวย เป้นความโลภคือกรรมที่เป็นบริวารติดตัวเรามานั่นเอง

      2. จุติมาจากภพที่มีโลภะมาก

      ใน ภูมิทั้ง31 ภูมิ จะมีกิเลสประจําภูมิ เช่นสัตว์ในนรกนั้นมี"โทสะ"เป็นกิเลสประจําภูมิ เปรต,อสุรกายมีโลภะเป็นกิเลสประจําภูมิ คือภพนี้จะอยู่กันอย่างอดอยากหิวโหย จึงเกิดความโลภ(แบบหยาบ)คือต้องการอย่างมาก สัตว์เดรฉานมีโมหะเป็นกิเลสประจําภูมิ
      ส่วนภูมิมนุษย์ เป็นภูมิจับฉ่าย มีสารพัดอย่าง ตั้งแต่ความดีสูงสุดเช่น พระพุทธเจ้า ลงไปชั่วสุดๆเช่นอนันตริยกรรมฆ่าพ่อฆ่าแม่ ฯลฯ เมื่อไปจากมนุษย์แล้วส่วนมากจึงต้องไปแยกแยะ
      กามาวจรสวรรค์ มีโลภะ(พูดตามตํารามิได้มีใจดูถูก)เป็นกิเลสประจําภูมิ แต่เป็นโลภะที่แตกต่างกับเปรต,อสุรกาย คือว่าเป้นโลภะที่อาศัยกุศลจิตเช่นขณะทําบุญได้อธิฐานเพื่อที่จะเป็น เมื่อผลบุญส่งผลจึงได้เสวยผลแห่งบุญที่มีความสุขที่เกิดจากตั้งใจต้องการ ที่ละเอียด ผู้ดี ปราณีต(อิทถารม)มีความสุขรอบด้านมาก จิตจึงชอบ
      พรหมโลก มีนิสัยออกไปทางเมฆขัมมะ

      3. ได้ประสพห์กับอารมณ์ที่ดี เป็นปัจจุบันเฉพราะหน้า เช่นเห็นเขาขับรถสวยหรู เราอยากมีบ้าง เห็นเขามีทองใส่ก็อยากมี ถ้ามาจากเปรตอสุรกายอาจจะฉกชิง แต่ถ้ามาจากเทวดา(มีมโนธรรมที่ดี) ก็จะมุ่งมั่นหามาโดยชอบ

      4. ได้พบเห็นแต่สิ่งที่ชอบใจอยู่เนืองๆ คล้ายๆข้อสาม จะแตกต่างตรงที่เห็นซํ้าๆซากๆบ่อยๆ จึงเกิดความโลภ เช่นเมื่อเห็นเขายั่วยวนครั้งเดียว จิตยังไม่ยอมรับทันที แต่เมื่อโดนบ่อย ๆๆ จิตจึงเกิดผูกพัน และต้องการในที่สุด(ไม่เฉพราะกับคนหรือสัตว์ อาจเป็นวัตถุสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เห็นบ่อยๆ) ถ้าเป็นในทางที่ดีก็เช่นเห็นเขาทําบุญบ่อยๆ จิตใจจึงนึกอยากจะทําบ้าง ความจริงตัวนี้ก็สําคัญมาก เช่นเวลาเราทําบุญ พระพุทธเจ้าท่านแนะนําให้ทําบ่อยๆ อย่าดูถูกว่าเป็นบุญน้อย เมื่อทําบ่อยๆ บุญก็จะมีมากมาย

      นี่เป็นเหตุทั้งสี่ประการที่ทําให้คนเราเกิดความโลภ หวังว่าจะเป็นประโยชน์ กับกัลยาณมิตร ไม่มากก็น้อย หมั่นสังเกตุใจตัวเองนะครับว่าจะเป้นไปในทางใด สาธุครับ เอวังก็มีด้วยประการเช่นนี้ ^ ^

      [IMG]
    4. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      สามธิขั้นต้น คือ ความตั้งใจมั่น สัมมาทิฐิ ความเห็นที่ถูกต้อง เมื่อคิดแล้วทำให้เราไม่ทำผิดศีลดับความทุกข์ภายในจิตใจได้ นั่นคือสัมมาทิฐิ
    5. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      จิต คือความรู้สึกนึกคิด การรับรู้อารมณ์
      ซึ่งเป็นผลรวมมาจากเหตุการณ์ความรู้สึกต่างๆ คือ
      การรู้สึกสัมผัส
      การรู้สึกรับรู้
      การรู้สึกจำ
      การรู้สึกคิด
      การรู้สึกโกรธ
      การรู้สึกรัก
      การรู้สึกร้อน
      การรู้สึกหอม
      การรู้สึกอยากต่างๆ

      ความรู้สึกเหล่านี้เอง ที่คนทั่วไปเรียกว่า จิต


      จิตที่อบรมบ่มเพาะดีก็จะมีพละกำลังมาก สามารถขับเคลื่อนกลไกของระบบความรู้สึกนึกคิดนั้นๆให้เป็นไปในทางดี สิ่งที่จะทำให้จิตมีพลังมากนั้นคือสมาธิจิต ส่วนสิ่งที่จะทำให้จิตประเสริฐนั้นคือ ความคิดเห็นที่ถูกต้องตามคลองธรรม

      หากมีแต่เพียงสมาธิ แต่ขาดสัมมาทิฐิ จะทำให้คนผู้นั้นมุ่งมั่นในการทำความชั่วทั้งหลายอย่างเอาเป็นเอาตาย

      หากจิตเป็นสัมมาทิฐิ ก็จะทำให้จิตดวงนั้นมุ่งมั่นในการย่อยสลายความชั่วช้าต่างๆให้พังพินาจลงไปได้อย่างน่าอัศจรรย์
    6. junsaburo
      junsaburo
      คำว่าจิตคืออะไร มีองค์ประกอบอะไรบ้าง กราบขอเป็นวิทยาทาน
    7. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      เห็นสิ คนดีเท่านั้นจึงจะมองเห็นความดี คนที่ยังไม่ทันดีเขาก็มองไม่เห็น หากเรายังหวั่นไหวกับการทำความดี เราจงเลือกทำความดีกับคนที่ควรทำความดีด้วย นะ

      ...เวลาประสบโลกธรรมที่เป็น อิฏฐารมณ์ น่าชอบใจ เช่น ได้ลาภ ได้ยศ เราก็เกิดความชอบใจ ดีใจ
      เป็นธรรมดา แต่ถ้าเราปฏิบัติไม่ถูก ลาภยศที่เป็นอิฏฐารมณ์ ที่น่าปรารถนานี่แหละ กลับนำความเสื่อมมาให้
      หรือทำลายคุณค่าแห่งชีวิตลงไป กลายเป็นโทษแก่ชีวิตของเรา เช่น เราอาจจะหลงระเริงมัวเมา แล้วดูถูกดูหมิ่นผู้อื่น
      ใช้ลาภยศนั้นในทางที่เสียหาย หรือใช้ทรัพย์และอำนาจไปในทางคุกคาม ข่มเหงรังแกเพื่อนมนุษย์ สร้างความเดือดร้อน
      เบียดเบียน ทำความเสียหายแก่โลกและชีวิตได้ แต่ถ้าเราปฏิบัติถูกต้อง ลาภยศเกิดขึ้นก็กลายเป็นโอกาส
      คนที่มีความคิดดีๆ อยากสร้างสรรค์ทำสิ่งที่ดีงาม แต่ไม่มีเงินทอง ไม่มียศ ไม่มีบริวาร ไม่มีใครเชื่อฟัง
      ไม่มีทุนก็ทำประโยชน์ได้น้อย แต่พอมีลาภ มีเงินทอง มียศ มีตำแหน่ง ฐานะ บริวาร เมื่อมีความคิดที่ดีงามสร้างสรรค์
      ก็ทำได้เต็มที่ เพราะฉะนั้น ลาภยศเมื่อเกิดขึ้นแก่คนที่มีปัญญา รู้จักคิด รู้จักพิจารณา ก็กลายเป็นสิ่งที่ดี เป็นประโยชน์
      เป็นโอกาส ที่จะสร้างสรรค์ได้มากขึ้น แม้ว่าลาภยศจะผ่านพ้นไป หรือเราจะตกต่ำไปจากสถานะนั้น ก็ได้ทำความดีฝากไว้แล้ว
      เป็นคุณค่าแห่งชีวิตของตน และยังมีคนที่นับถือ เคารพระลึกถึงด้วยใจจริง
      ในทางตรงกันข้าม ถ้าประสบโลกธรรมที่ไม่พึงปรารถนา ไม่ว่าจะเป็นความเสื่อมลาภ เสื่อมยศ
      การนินทา หรือความทุกข์ก็ตาม
      ถ้าเราวางใจไม่เป็น...
      ๑. เราไม่รู้เท่าทันความจริง ใจเราก็เป็นทุกข์ไปขั้นหนึ่งแล้ว
      ๒. เรามองหาประโยชน์จากมันไม่ได้ ก็ได้แต่เศร้าโศกเสียใจ มีความระทมทุกข์ คับแค้น
      ตรอมตรมใจไปเท่านั้นเอง แต่ถ้าเรารู้จักใช้ประโยชน์ และวางใจเป็น ก็กลับกลายเป็นดีไปได้..."
    8. junsaburo
      junsaburo
      ทำไมความดีเมื่อทำแล้วคนถึงมองไม่ค่อยเห็น สาธุ
    9. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      "...ท่านให้ทำความดี ไม่ใช่ให้ยึดถือในความดี
      คือให้ทำความดี เพราะเป็นสิ่งที่ควรจะทำเมื่อทำไปแล้ว
      ก็ให้ปลอดโปร่งโล่งใจว่า สิ่งที่ควรทำ เราได้ทำแล้ว...
      ถ้าทำด้วยความรู้อย่างนี้ จิตใจของเราจะเป็นอิสระ
      แต่คนเรามักจะยึดติดในความดี เสร็จแล้ว เราก็อาจจะต้อง
      มาคร่ำครวญรันทดใจว่า เราทำดีแล้ว ทำไมคนไม่เห็นความดี
      ทำไมเขาไม่ยกย่อง ไม่สรรเสริญ ทำไม เราไม่ได้รับผลอย่างนั้นอย่างนี้
      แล้วเราก็เสียอกเสียใจเพราะความดีอีก เพราะฉะนั้น
      ความยึดติดถือมั่นในความดี จึงยังทำให้เกิดทุกข์ได้
    10. โป๊ยเซียนสาว
    11. pawidtra
      pawidtra
      สวัสดีตอนเย็น เช่นกันค่ะ
    12. junsaburo
      junsaburo
      สุข ทุกข์อยู่ทีใจ ใจที่เป็นทุกข์ขจัดได้อย่างไร
    13. พระไตรภพ
      พระไตรภพ
      สาธุ เทพนาจา เป็นเทพที่มีอะไรดีๆมากมาย ใช้นาจาเทพนี้เป็นสิ่งแทนตัวดีแล้วนะ สาธุ
  • Loading...
  • Loading...
Loading...