พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์

    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 19.92552/ จำนวน 1,000 บาท
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 19.92552/
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435705", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม มอบเงินแล้ว 19.92552/
    6.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ลุงจิ๋ว<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435951", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 28.92552/
    7.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Natachai<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2408238", true); </SCRIPT> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน (ผมขอ Email ใหม่อีกครั้ง)
    8.น้องชาsira (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    9.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->มูริญโญ่<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    10.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Phocharoen<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2438846", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 5 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 23.92552/
    11.คุณเมตตา <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 10 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    12.เจ้าของวัดไ..... จอง 5 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    13.คุณchai wong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 26.92552/
    14.คุณkiitii จอง 2 เล่ม โอนเงินแล้ว 1,000 บาท และค่าจัดส่ง 200 บาท เมื่อ 28.92552/ และร่วมทำบุญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งอีก 300 บาท

    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sithiphong (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง ....... เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน

    รวมจำนวน 37 เล่ม

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    <!-- google_ad_section_end -->
    หมายเหตุ มาสอบถามท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าทุกๆท่าน

    หากชมรมจะบริจาคในการจัดพิมพ์ครั้งนี้ ทุกๆท่านคิดเห็นอย่างไร และควรจะบริจาคเท่าไหร่ ยอดเงินในบัญชีปัจจุบันมีอยู่จำนวน 15,732.34 บาทครับ

    หมายเหตุ1. หนังสือจะเริ่มการจัดพิมพ์ประมาณต้นเดือนตุลาคม คาดว่าแล้วเสร็จประมาณต้นหรือกลางเดือนพฤศจิกายน 2552 นี้ครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2009
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ผมเชื่อว่า กลุ่มเราเป็นกลุ่มที่เป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อกันมาโดยตลอด และ เชื่ออีกว่า ยังเป็นกัลยาณมิตรกันตลอดไปครับ

    ว่าแต่ว่า ขอลงอีกสักองค์ครับ อิอิ

    [​IMG]
    พระสมเด็จ วังหน้า
    สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี อธิษฐานจิตครับ

    .
     
  3. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    เรียนท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าและคณะพระวังหน้าทุกๆท่าน

    ผมได้นำรูปที่ผมคิดว่า เป็นเรื่องที่พิเศษมากๆ นำไปแอบไว้ในกระทู้พระวังหน้าฯนี้ หากท่านใดสนใจที่จะชม pm หรือโทร.มาหาผมได้นะครับ ผมจะแจ้งว่า ผมนำไปแอบไว้ที่หน้าไหนครับ

    โมทนาสาธุครับ
     
  4. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    รูปพระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม

    [​IMG]

    [​IMG]

    พระเสโทธาตุ

    -----------------------------
    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ ส่วนหน้าอก (เช่น ปอด ,หัวใจ ฯลฯ)
    -----------------------------
    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ ไม่ทราบส่วนไหน
    -----------------------------
    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้า
    -----------------------------

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุพระอรหันต์
    -----------------------------
    [​IMG]

    รูปสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
    -----------------------------

    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong

    ------------------------
    <INPUT class=inlinemod_checkbox id=gmessagelist_5420 title="" type=checkbox value=0 name=gmessagelist[5420] inlineModID="inlineMod_comment"> 24-08-2008 09:39 AM
    sithiphong

    เมื่อวานนี้ผมได้รับพระบรมสารีริกธาตุ สันฐานต่างๆ พอสมควร และรับพระธาตุพระอรหันต์ 10 พระองค์ ( 9 พระองค์ตามโพสด้านบน) ส่วนอีกพระองค์คือ พระอุปคุตเถระเจ้า

    อีกทั้งได้รับพระธาตุข้าวบิณฑ์ ,พระธาตุอื่นๆ และข้าวสารหิน


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong
    กราบ กราบ กราบ กราบ กราบ
    sithiphong

    ------------------------------

    หลวงปู่ทวด (เหยียบน้ำทะเลจืด) วัดช้างไห้

    [​IMG]

    "นโม โพธิสัตว์โต อคันติมายะ อิติภะคะวา"

    รูปนี้เป็นรูป "พระธาตุหลวงปู่ทวด (เหยียบน้ำทะเลจืด) วัดช้างไห้" ซึ่งผมได้ถวายพระอาจารย์นิล เพื่ออัญเชิญบรรจุในพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้ง ณ สำนักสงฆ์ผาผึ้ง อ.บ้านเขว้า จ.ชัยภูมิ ครับ

    ----------------------------------------------

    ผมอัญเชิญรูปพระธาตุหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ มาให้ทุกๆท่านได้กราบสักการะพระบารมีกันอีกครั้งครับ และขอสงวนลิขสิทธิ์ครับ

    กราบ กราบ กราบ กราบ กราบ
    sithiphong

    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong
    __________________

    [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong
     
  5. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ<O:p</O:p

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    อะหัง วันทามิ อะธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม. <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอน้อบน้อมนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสพแต่ความสุขสวัสดีตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p



    คำอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุ
    <O:p</O:p
    อะเนกะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะเนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะ ภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปาโมเจกะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยัง ยัง ตัง ตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิยหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเต ปาณเปตัง พุทธัง ธัมมัง สะระณังคะตา สะมิมะหันตา ภินนะมุตตา จะมัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ชุททะกา สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุสีเสเม ปัตตันตุ ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p


    <O:p
    </O:p



    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (ประดิษฐานในองค์พระปฐมเจดีย์)<O:p</O:p
    วันทามิ พุทธัง ปะฐะมัง จะ เจติยัง ตัตถะ ปะติฏฐัง ปะระมัง จะ ธาตุกัง ธัมมัง วะรันตัง ภะวะโต จะ สาสะนัง สังฆัง วิสุทธัง อุชุกัง จะ โสภะณัง อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระพุทธเจ้า องค์พระปฐมเจดีย์ พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในองค์พระปฐมเจดีย์นั้น<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระธรรมอันประเสริฐสุด ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระสงฆ์ผู้งดงาม ผู้บริสุทธิ์ยิ่ง ผู้ประพฤติตรงต่อคำสอน ข้าพเจ้านมัสการอยู่ซึ่งพระรัตนตรัย และองค์พระปฐมเจดีย์ อันเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุใด ซึ่งควรนมัสการโดยส่วนเดียวเช่นนี้ ได้รับแล้วซึ่งกุศลผลบุญอันไพบูลย์ ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย และผลบุญนั้น



    <O:p


    คำไหว้พระธาตุรวม


    หลวงพ่อเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ จ.ลำปาง<O:p</O:p







    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    วันทามิ เจติยัง สัพพัฏฐาเนสุ ปติฏฐิตา สรีระธาตุง มหาโพธิง พุทธะรูปัง สกลัง สทา นาคะโลเก เทวะโลเก ตาวะติงเส พรัหมะโลเก ชัมพูทีเป ลังกาทีเป <O:p</O:p
    สรีระธาตุโย เกสาธาตุโย อรหันตา ธาตุโย เจติยัง คันธะกุฏิ จตุราสี ติสะหัสสะ ธัมมักขันธา ปาทะเจติยัง นะระเทเวหิ ปูชิตา อหังวันทามิ ธาตุโย อหังวันทามิ ทูระโต อหังวันทามิ สัพพะโส<O:p</O:p



    คาถาบูชาพระปัจเจกพุทธเจ้า<O:p</O:p

    สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มะเหสะโย ทูเรปิ วิเนยเย ทิสสะวา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต สันทิฏฐิกะผะเล กัตตะวา สะทา สันติง กะโรนตุ โน <O:p</O:p

    ------------------------------------------------------
    *****

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามสมณโคดม (ส่วนบริเวณหน้าอก เช่น ปอด ,หัวใจ เป็นต้น)

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    อะหัง วันทามิ อะธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม. <O:p</O:p
    ข้าพเจ้า ขอน้อบน้อมนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสพแต่ความสุขสวัสดีตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    คำอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    อะเนกะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะเนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะ ภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปาโมเจกะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยัง ยัง ตัง ตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิยหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเต ปาณเปตัง พุทธัง ธัมมัง สะระณังคะตา สะมิมะหันตา ภินนะมุตตา จะมัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ชุททะกา สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุสีเสเม ปัตตันตุ ฯ
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p




    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ (ประดิษฐานในองค์พระปฐมเจดีย์)<O:p</O:p


    วันทามิ พุทธัง ปะฐะมัง จะ เจติยัง ตัตถะ ปะติฏฐัง ปะระมัง จะ ธาตุกัง ธัมมัง วะรันตัง ภะวะโต จะ สาสะนัง สังฆัง วิสุทธัง อุชุกัง จะ โสภะณัง อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
    <O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอกราบไหว้ พระพุทธเจ้า องค์พระปฐมเจดีย์ พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในองค์พระปฐมเจดีย์นั้น<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระธรรมอันประเสริฐสุด ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด<O:p</O:p
    ขอกราบไหว้พระสงฆ์ผู้งดงาม ผู้บริสุทธิ์ยิ่ง ผู้ประพฤติตรงต่อคำสอน ข้าพเจ้านมัสการอยู่ซึ่งพระรัตนตรัย และองค์พระปฐมเจดีย์ อันเป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุใด ซึ่งควรนมัสการโดยส่วนเดียวเช่นนี้ ได้รับแล้วซึ่งกุศลผลบุญอันไพบูลย์ ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย และผลบุญนั้น<O:p</O:p
    <O:p</O:p




    คำไหว้พระธาตุรวม หลวงพ่อเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ จ.ลำปาง<O:p</O:p


    นโม ๓ จบ<O:p</O:p

    วันทามิ เจติยัง สัพพัฏฐาเนสุ ปติฏฐิตา สรีระธาตุง มหาโพธิง พุทธะรูปัง สกลัง สทา นาคะโลเก เทวะโลเก ตาวะติงเส พรัหมะโลเก ชัมพูทีเป ลังกาทีเป <O:p></O:p>
    สรีระธาตุโย เกสาธาตุโย อรหันตา ธาตุโย เจติยัง คันธะกุฏิ จตุราสี ติสะหัสสะ ธัมมักขันธา ปาทะเจติยัง นะระเทเวหิ ปูชิตา อหังวันทามิ ธาตุโย อหังวันทามิ ทูระโต อหังวันทามิ สัพพะโส

    ---------------------------------------------

    [​IMG]

    [​IMG]

    พระบรมสารีริกธาตุ องค์พระปัจเจกพุทธเจ้า



    คาถาบูชาพระปัจเจกพุทธเจ้า

    สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มะเหสะโย ทูเรปิ วิเนยเย ทิสสะวา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต สันทิฏฐิกะผะเล กัตตะวา สะทา สันติง กะโรนตุ โน

    พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งปวง ทรงปรีชาญาณในนิโรธสมาบัติและฌาณสมาบัติ
    ทรงปราศจากความกำหนัดยินดี หมดความรังเกียจ ทรงคุณอันหาประมาณมิได้ ทรงแสวงหาคุณอันประเสริฐ ทรงมีมหาทานบารมีเป็นเลิศ
    พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านี้ เห็นหมู่เวไนยสัตว์แม้ในที่ใกล้ไกล ก็ทรงพระเมตตาเสด็จไปช่วยเหลือสัตว์เหล่านั้น ให้ได้รับประโยชน์โดยพลัน โปรดประทานความสงบร่มเย็นทั้งทางโลกและทางธรรม แก่พวกข้าพระองค์ในกาลทุกเมื่อเถิด.

    ---------------------------------------------------------

    คาถาพระปัจเจกโพธิ ของหลวงพ่อปานวัดบางนมโค

    คาถาเรียกทรัพย์

    พุทธะ มะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม"


    ผมแนะนำให้หากล่องที่จะใส่เงินทำบุญ โดยระบุแต่ละกล่องว่า กล่องนั้นๆเรามีความประสงค์ที่จะทำบุญอะไร ทำมากทำน้อยก็เหมือนกัน ทำวันละบาทก็ได้ พอถึงสิ้นเดือนเราก็นำเงินที่อยู่ในกล่องไปทำบุญ

    โดยเราอธิษฐานว่า เงินบริสุทธิ์ของเรามีความประสงค์ที่จะทำบุญอะไร เมื่อทำบุญโดยใส่เงินในกล่องแล้วก็สวดมนต์บูชาองค์พระปัจเจกพุทธเจ้าและคาถาเรียกทรัพย์ ทำทุกๆวัน พี่ใหญ่บอกมาเพียงให้สวดคาถาเรียกทรัพย์ แต่ผมแนะนำเพิ่มสำหรับท่านที่ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ พระปัจเจกพุทธเจ้าไปแล้วครับ


    เมื่อทำบุญในทุกๆวันแล้ว ควรกรวดน้ำด้วยนะครับ

    [​IMG]


    [​IMG]

    ผมขอสงวนลิขสิทธิ์ ห้ามนำรูปทั้งหมด ไปแสดงไม่ว่าจะเป็นที่ไหน และไม่อนุญาตให้นำไปแสวงหาผลประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากผมเป็นหนังสืออนุญาตแล้วเท่านั้น

    sithiphong<!-- google_ad_section_end --> <!-- / message --><!-- sig -->
    --------------------------------------

     
  6. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การบูชาพระธาตุ

    พระบรมสารีริกธาตุ นั้นถือว่าเป็นปูชนียวัตถุที่ทรงด้วยคุณค่า ทั้งทางด้านประวิติศาสตร์ และศาสนา ทั้งยังเป็นสิ่งที่สูงค่า ควรแก่การเคารพบูชาอย่างสูงสุด หากท่านผู้ใดมี หรือเก็บรักษาไว้ ขอให้ท่านจงเก็บรักษาและบูชาด้วยความเคารพ เนื่องจากพระบรมสารีริกธาตุนั้นหาได้ยาก และยังเป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดในไตรภพที่มนุษย์และเทวดาพึงสักการะ

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="10%"></TD><TD vAlign=top width="90%">วิธีบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    การจะบูชาพระบรมสารีริกธาตุนั้นก่อนอื่นต้องชำระล้างร่างกาย ทำจิตใจ ให้สะอาดผ่องใส จัดหาดอกมะลิใส่ภาชนะบูชา ตั้งสักการะ ณ ที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ แล้วจุดธูปและเทียน ตั้งใจให้เป็นสมาธิ กราบ 3 ครั้ง แล้วจึงตั้งนะโม 3 จบ กล่าวคำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ

    คำกล่าวบูชาพระบรมสารีริกธาตุ มีอยู่มากมายทั้งภาษาบาลี และภาษาไทย แต่ที่พบเห็นกันอยู่โดยทั่วไป และกระทำได้โดยง่ายนั้นคือ

    คำกล่าวพรรณนาพระบรมสารีริกธาตุ


    " อะหัง วันทามิ ทูระโต

    อะหัง วันทามิ ธาตุโย
    อะหัง วันทามิ สัพพะโส "


    * คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ก็สามารถนำมาใช้กล่าวบูชาได้เช่นกัน *


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    การบูชาพระธาตุนั้น นอกเหนือจากการบูชาด้วย " อามิสบูชา " เช่น การบูชาด้วยดอกไม้ ธูปเทียน และ เครื่องหอมต่างๆแล้ว การบูชาด้วยการ " ปฏิบัติบูชา " ซึ่งเป็นวิธีที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสรรเสริญ เป็นอีกวิธีการหนึ่ง ที่นิยมปฏิบัติควบคู่ไปด้วย ในการบูชาซึ่งพระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุทั้งหลาย โดยทั่วไปนิยมปฏิบัติตามแนวอริยมรรค 8 ประการ สรุปโดยย่อได้แก่

    1. การบูชาด้วยศีล ซึ่งศีลเป็นพื้นฐานและเป็นที่ตั้งมั่นแห่งการทำความดี เป็นเกราะป้องกันความชั่วทั้งปวง ไม่ทำให้จิตใจเศร้าหมอง ทำให้เกิดความพร้อมต่อการปฏิบัติสมาธิ (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ)

    2. การบูชาด้วยสมาธิ ซึ่งการสวดมนต์ภาวนา นั่งสมาธิ ดูลมหายใจเข้า-ออก เป็นการฝึกความเข้มแข็งของจิต ให้มีกำลังในการพิจารณาหลักธรรมต่างๆได้ตามความเป็นจริง (สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ)

    3. การบูชาด้วยปัญญา คือการใช้ปัญญาพิจารณาหลักความเป็นจริง ตามหลักไตรลักษณ์ (สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ)



    <TABLE borderColor=#666666 cellSpacing=1 cellPadding=10 width="100%" border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f2f2f2>นอกจากนี้ การบูชาพระธาตุยังได้ประโยชน์ ในด้านเป็นอนุสติอีกด้วย ดังนี้คือ

    พุทธานุสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า (พระบรมสารีริกธาตุ)
    ธัมมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระธรรม (ธรรมที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)
    สังฆานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณของพระสงฆ์ (พระสงฆ์สาวกธาตุ)
    สีลานุสสติ คือ การระลึกถึงศีลของตน (ศีลที่ทำให้อัฐิกลายเป็นพระธาตุ)
    เทวตานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณที่ทำบุคคลให้เป็นเทวดา (เทวดารักษาพระธาตุ)
    อุปสมานุสสติ คือ การระลึกถึงคุณพระนิพพาน (แดนพระนิพพานที่พระอริยเจ้าได้ก้าวล่วง)
    มรณานุสสติ คือ การระลึกถึงความตายที่จะมาถึงตน (แม้พระอริยเจ้าก็ต้องตาย)
    กายคตาสติ คือ ระลึกทั่วไปในกาย ให้เห็นว่าไม่งาม น่าเกลียด (เมื่อตายแล้วก็เหลือเพียงกระดูก)

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    <HR width="35%" noShade>

    วิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ


    สำหรับบ้านที่มีพระบรมสารีริกธาตุไว้บูชาอยู่แล้วคงจะทราบดี เป็นที่น่าแปลกคือ พระบรมสารีริกธาตุนั้น สามารถเพิ่ม หรือลดจำนวนได้เอง โดยสามารถเสด็จไปไหนมาไหนเองก็ได้ แม้ว่าจะเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิทดีสักเท่าใดก็ตาม โดยเชื่อกันว่าหากไม่ดูแลรักษาเอาใจใส่ ประดิษฐานไว้ในที่ไม่สมควร หรือขาดการถวายความเคารพแล้ว พระบรมสารีริกธาตุอาจเสด็จหายจากสถานที่นั้นๆก็เป็นได้ โดยทางตรงกันข้าม หากได้รับการปฏิบัติบูชาดี ผู้สักการบูชา มีกาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ อยู่ในศีลธรรม พระบรมสารีริกธาตุก็อาจเพิ่มจำนวนได้เช่นกัน


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="10%"></TD><TD vAlign=top width="90%">วิธีอัญเชิญโดยทั่วๆไปมีดังนี้

    1. จัดที่บูชาให้สะอาด
    2. ตั้งพานมะลิบูชา (ถ้ามี)
    3. นำน้ำสะอาดใส่ขันสัมฤทธิ์ตั้งไว้หน้าที่บูชา (ตามวิธีโบราณ)
    4. ชำระล้างร่างกายให้สะอาด
    5. ทำจิตใจให้ปลอดโปร่ง มีสมาธิ
    6. สมาทานศีล
    7. ระลึกถึงพระพุทธคุณ (ตั้งนะโม 3 จบ แล้วสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ อิติปิโสฯ)
    8. สวดคาถาอัญเชิญพระธาตุ ดังนี้


    " อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต "


    <CENTER>หรือ </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>" อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ " </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    * การเสด็จมาอาจมีด้วยกันหลายวิธี เช่น เสด็จมาเอง มีผู้มอบให้ แบ่งองค์ ฯลฯ

    <CENTER></CENTER>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>ที่มา
    http://www2.se-ed.net/buddha-relics/page6.htm

    ผู้โพส malila
    http://www.agalico.com/board/showthread.php?t=2163

    -----------------------------------------

    บทกล่าวอัญเชิญและบูชาพระธาตุ แบบต่างๆ

    --------------------------------------------------------------------------------
    บทบูชาพระธาตุ บทสวดเพื่อบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และ/หรือ พระธาตุนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายบท มีทั้งบทบาลี บทภาษาไทย หรือ ทั้งบาลีและแปลควบคู่กันไป แต่ละที่ก็แตกต่างกัน เท่าที่พอจะรวบรวมและพิมพ์ได้มีดังนี้ คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง) อิติปิ โส ภะคะวา, นะมามิหัง ตัง ภะคะวันตัง, ปะระมะสารีริกธาตุยา สัทธิง, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต, โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สุตถา เทวะ มะนุสสานัง, พุทโธ, ภะคะวาติ.

    บทสวดบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง
    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพเจ้าขอถือโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระเจดีย์ทั้งหมดอันตั้งไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง
    พุทธะสารีรังคะธาตุง มะหาโพธิง พุทธะรูปัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ
    คือซึ่งพระสารีรังคะธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งพระพุทธรูป ซึ่งพระคันธุกุฏิของพระพุทธเจ้า และซึ่งพระธรรมขันธ์ทั้งหลาย มีแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์
    สัพเพตัง ปาทะเจติยัง สักการัตถัง
    เพื่อสักการะซึ่งพระเจดีย์ คือรอยพระบาทเหล่านั้นทั้งหมดทั้งสิ้น
    อะหังวันทามิธาตุโย
    ข้าพเจ้าขอไหว้พระธาตุทั้งหลาย
    อะหังวันทามิสัพพะโส
    ข้าพเจ้าขอไหว้โดยประการทั้งปวง
    อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา
    ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระรัตนตรัยเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ ด้วยอาการดังนี้แลฯ

    วันทาหลวง(ย่อ)
    วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สะรีระธา-ตุ มหาโพธิง
    พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา นาคะโลเก เทวะโลเกพรัหมะโลเก ชัมพูทีเปลังกาทีเป
    สะรีระธา-ตุ โย เกสา ธา-ตุ โย อะระหันตะ ธา-ตุ โย เจติยัง คันธะกุฏิง
    จะตุราสี ติสสะหัสเส ธัมมักขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหัง วันทามิ สัพพะโสฯ

    คำบูชาพระธาตุในจักรวาลทั้งหลาย
    จัตตาฬิส สะมาทันตา เกสา โลมา นะขา ปีจะ
    เทวา หะรันติ เอเตกัง จักกะวาฬะ กัง ปะรัมปะรา
    ปูชิตา นะระเทเวหิ อะหัง วันทามิ ธา-ตุ โยฯ
    คำบูชาพระธาตุแบบไม่จำเพาะเจาะจง
    อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    ถ้าประสงค์จะบูชาพระธาตุแบบเจาะจงให้นำฉายาของท่านวางหน้าคำว่า"ธาตุโย"เช่น

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    อะหัง วันทามิ สารีริกะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    คำบูชาพระธาตุพระสิวลี
    อะหัง วันทามิ สิวลีธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส
    คำบูชาพระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    อะหัง วันทามิ ภูริทัตตะธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส

    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบยาว
    อะเน กะกัปเป กุสะเล จินิตตะวา โลกานุกัมปายะ มะ เนกะทุกขัง อุสสาหะยิตตะวา จะ สุจีระการัง พุทธัตตะภาวัง สะกะลัง อะคัญฉิ เอวัญจะ กัตตะวา ภะคะวา ทะยาลุ ทุกขา ปะโมเจถะ ขิเล จะอัมเห ทัสเสถะ โน ปาฏิหิรัง สุวิมหัง เฉทายะ กังขัง สะกะลัง ชะนัสสะ กาเกนะ รัญญา กะถิตันตุ ยังยัง ตังตัง อะขีลัง วิตะถัง ตะถัง เจ พุทธานะกะถา วิตะถา ตะถา เจ ทัสเสถะ วิมหัง นะยะนัสสะ โนปิ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิ มะหันตา ภินนะมุคคา จะมัชฌิมา ภินนะฑัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเส เม ปะตันตุฯ

    คำกล่าวอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต

    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบทั่วไป
    ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปตราบเท่าชีวิต ข้าฯขอถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง ขออัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุที่สถิตอยู่ทั่วทุกหนแห่ง ขนาดใหญ่เท่าเมล็ดถั่วหัก แก้วมุกดา ขนาดกลางเท่าเมล็ดข้าวสารหัก และขนาดเล็กเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด จงเสด็จตกลงเบื้องบนประดิษฐาน เหนือเศียรเกล้าของข้าฯในที่ทุกสถาน เทอญฯ

    คำแปลบทอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ แบบย่อ
    นับตั้งแต่นี้ จนสิ้นชีวิต พลีชีพอุทิศ พระรัตนตรัย ขอพระบรมธาตุ สถิตทั่งไกล คุ้มครองผองภัย สู่เศียรข้าฯเทอญฯ
    อารัมภกถา คัมภีร์ถูปวงศ์ - ตำนานว่าด้วยการสร้างพระเจดีย์ (แต่งโดย พระวาจิสสรเถระ ภิกษุชาวลังกา)
    ยัสมิง สยิงสุ ชินธาตุวรา สมันตา ฉัพพัณณรังสิวิสเรหิ สมุชชะลันตา ตัสสะ โลกะหิตะ เหตุ ชินนัสสะ ถูปัง ตัง ถูปะมัพภุตตะมัง สิรสา นมิตตะวา
    พระบรมธาตุอันประเสริฐ ทั้งหลายของพระพุทธเจ้ารุ่งเรืองอยู่โดยรอบด้วยถ่องแถวแห่งพระรัศมี 6 ประการประดิษฐานอยู่ ณ พระสถูปเจดีย์องค์ใด ข้าพเจ้าขอน้อมบูชา พระสถูปอันบรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น อันเป็นเหตุให้เกิดประโยชน์แก่โลก อันน่าอัศจรรย์ยิ่งนั้น ด้วยเศียรเกล้า

    คำไหว้พระจุฬามณีเจดีย์
    นะโม 3 จบ
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ
    นะโม ข้าฯ จะไหว้พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ

    นะโม ข้าฯจะไหว้พระธรรมเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้ว พระจุฬามณีเจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโน
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธฯ
    นะโม ข้าฯจะไหว้พระสังฆเจ้าของพระพุทธองค์ เมื่อข้าฯดับจิตลง อย่าให้ไหลหลงขอให้จิตจำนงตรงพระนิพพาน ขอให้พบดวงแก้ว ขอให้แคล้วหมู่มาร ขอให้ทันพระศรีอาริย์ ข้าฯจะไปนมัสการพระเกษแก้วพระจุฬามณี เจดีย์สถานเป็นที่ไหว้ที่สักการกุศลสัมปันโนติ

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    ปูชิตา นะระเทเวหิ, สัพพัฏฐาเน ปะติฎฐิตา,
    สิระสา อาทะเรเนวะ, อะหัง วันทามิ ธาตุโย,
    โย โทโส โมหะจิตเตนะ, วัตถุตตะเย กะโต มะยา,
    โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สัพพะปาปัง วินัสสะตุ,
    ธาตุโย วันทะมาเนนะ*, ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
    สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสาฯ
    (* ถ้าผู้สวดเป็นหญิง เปลี่ยนคำว่า วันทะมาเนนะ เป็น วันทะมานายะ)

    ..........ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้านมัสการ พระบรมสารีริกธาตุ แห่งองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานในที่ทุกสถาน ด้วยเศียรเกล้า
    ..........แม้บาปทั้งปวง ที่เคยล่วงเกินด้วยใหลหลง ข้าพระองค์ขอขมาโทษ ได้ทรงโปรดงดโทษนั้น ให้มีอันวินาศสิ้นสูญไป
    ..........ด้วยเดชะกุศลผลบุญ ที่ข้าพระพุทธเจ้าได้น้อมเกล้านมัสการพระบรมสารีริกธาตุในกาลครั้งนี้ แม้สรรพอันตรายทั้งปวง จงอย่างได้บังเกิดแก่ข้าพระพุทธเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ.

    คำบูชาพระบรมสารีริกธาตุ
    (นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 3 ครั้ง)
    อะหัง วันทามิ อิธะ ปะติฏฐิตา พุทธะธาตุโย
    ตัสสานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม.
    ข้าพเจ้าขอนมัสการกราบไหว้ พระบรมสารีริกธาตุแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ที่นี้ ด้วยอานุภาพแห่งกุศลผลบุญนี้ ขอให้ข้าพเจ้าประสบแต่ความสุขสวัสดี ตลอดกาลทุกเมื่อเทอญ

    คำไหว้พระธาตุ
    ยาปาตุภูตา อะตุลา
    นุภาวาจีรัง ปะติฏฐา
    สัมภะกัปปะ ปุเรเทเวนะ
    ตุตตา อุตตะราภีทับยานะมานิ
    หันตัง วะระชินะธาตุง

    คำนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ .
    .........อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขอยอกรบวรวันทนา ประนมนิ้วหัตถาขึ้นเหนือเศียร ต่างรัตนประทีปธูปเทียนแก้วเจ็ดประการ แลโกสุมสุมามาลย์ประทุมชาติอันโชติช่วงช่อชั้นวิจิตร แจ่มจำรัสสุนทโรภาส ด้วยเมื่อองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถศาสดาจารย์ญาณสัพพัญญูบรมครูเจ้า เสด็จเข้าสู่พระปรินิพพาน พระองค์ทรงประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุไว้ สิริพระบรมธาตุทั้งหลายน้อยใหญ่ตวงได้สิบหกทะนานทอง พระรากขวัญทั้งสองพระเขี้ยวแก้วสี่ กับพระศรีอุณหิศหนึ่ง นับรวมกันได้ครบเป็นเจ็ดองค์ นี้แลคงตามสภาวะเดิม อันจะแหลกลาญด้วยเพลิงสังหารนั้นหามิได้ แต่พระอัฐิน้อยใหญ่ทั้งหลายนั้นไซร้พลันเพลิงไหม้สังหารละเอียดลง ยังคงแต่พระบรมสารีริกธาตุสามสถาน ใหญ่น้อยปานกลางมีประมาณต่างกันพระบรมธาตุขนาดใหญ่นั้น มีประมาณเท่าเมล็ดถั่วหักตักตวงได้ห้าทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานประมาณแม้นเหมือนหนึ่งพรรณทองอุไร พระบรมธาตุขนาดกลางนั้นไซร้ มีประมาณเท่าเมล็ดข้าวสารหัก ตักตวงได้ห้าทะนานทรงพระบวรสัณฐานประมาณเหมือนพรรณแววแก้วผลึกอันเลื่อนลอย พระบรมธาตุขนาดน้อยประมาณแม้นเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาดตวงได้หกทะนาน ทรงพระบวรสัณฐานดังพรรณ สีดอกบุปผชาติพิกุลอดุลย์ใสสี พระบรมสารีริกธาตุทั้งหลายนี้ หมู่มนุษย์และเทวะนิกรอมรอินทร์พรหมภิรมย์ พากันเชิญเสด็จไปประดิษฐานรักษาไว้ พระบรมธาตุองค์ใหญ่ คือ พระรากขวัญซ้าย สถิตอยู่ชั้นพรหมา พระรากขวัญเบื้องขวากับพระนลาตะอุณหิศ เสด็จสถิตอยู่เมืองอนุราชสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องบน อยู่ดาวดึงษาสวรรค์ พระเขี้ยวแก้วขวาเบื้องล่างนั้น สถิตอยู่เกาะแก้วลังกาสิงหฬ พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องบนอยู่เมืองคันธาระวิไสย พระเขี้ยวแก้วซ้ายเบื้องล่างนั้นไซร้ สถิตอยู่เมืองนาคสถาน แต่พระบรมสารีริกธาตุทั้งสิบหกทะนานนั้น ประดิษฐานไว้ในแผ่นพื้นภูมิภาคแห่งพระนครทั้งแปด คือ เมืองราชคฤหบุรี เมืองเวสาลีสวัสดิ์ เมืองกบิลพัสดุ์มหานคร เมืองอัลปะกะบุรีรมย์ แลบ้านพราหมณ์นิคมเขต เมืองเทวะทะหะประเทศ เมืองปาวายะบุรินทร์ และเมืองโกสินรายน์ พระเกศา โลมา นะขา ทันตา ทั้งหลาย เรี่ยรายประดิษฐานอยู่ทุกทิศทั่วทั้งจักรวาล ฝ่ายพระพุทธบริขารคือ บาตรแลจีวรท่อนผ้าสันถัตรัดประคดใน สมุกเหล็กไฟกล่องเข็มผ้ากรองน้ำธะมะการก วัสสิกะสาฏก ผ้าชุบสรง หนังนิสิทน์มีดโกนตลกบาตรเครื่องลาด แท่นพระบรรทม ลูกดานทองฉลองพระบาทธาตุบริขารทั้งหลายนี้ องค์ขัติยาธิบดีพราหมณ์มหาศาลผู้เลื่อมใสกมลมาล ประกอบไปด้วยศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง ได้อัญเชิญพระบรมธาตุบริขารสิบหกสิ่งนี้ไปประดิษฐานไว้ทั้งสิบเมือง ต่างกระทำสักการบูชารุ่งเรืองเห็นปรากฏ
    ..........‘กายนทนธนํ’ พระพุทธรัดประคด อยู่ ณ เมืองเทวะทะหะราฐ ‘ปตฺโต’ บาตร อยู่เมืองอนุราธสิงหฬทวีปลังกา ‘อุทกสาฏกํ’ ผ้าชุบสรงสถิตอยู่ ณ เมืองปัญจาละนคร ‘จิวร’ ผ้าจีวร อยู่เมืองพันทะวิไสย ‘หรนี’ สมุกเหล็กไฟ อยู่เมืองตักสิลา ‘วาสีสูจิฆร’ มีดโกนแลกล่องเข็ม ประดิษฐานอยู่เมืองอินระปัตมะไหสวรรค์ ‘จมมํ’ หนังนิสิทน์สันถัต สถิตอยู่เมืองคันธาระราฐ’ ถวิกา’ ตลกบาตร แลเครื่องลาดที่พระบรรทม ลูกดานทองฉลองพระบาททั้งคู่ อยู่บ้านอุสิระคาม ยังพระธาตุบริขารอื่นอีกหกสิ่ง คือพระอังคาร ถ่านเถ้าเสาเชิงตะกอนนั้นสถิตอยู่ ณ เมืองโมรียะประเทศ จุฬามุนีบรมเกษธาตุ ประดิษฐานอยู่ดาวดึงษาสวรรค์ ‘กาสายะวัตถัง’ ผ้าทรง นั้นอยู่ ณ ชั้นพรหมา ‘สุวณฺณโฑณ’ ทะนานทอง ที่ตวงพระบรมสารีริกธาตุ สถิตอยู่นครโกสินรายน์รัตนมไหสวรรค์ พระบรมธาตุทั้งยี่สิบสองประการนั้นทรงพระคุณเป็นอันยิ่ง พระองค์ทรงอนุญาตประทานไว้ทุกสิ่งด้วยพระมหากรุณา หวังพระทัยเพื่อจะให้เป็นที่สักการบูชาเกิดผลานิสงส์อันเป็นสวัสดิมงคลแก่ฝูงเทพามนุษย์ กว่าจะยุติสิ้นสุดพระพุทธศาสนา
    ..........ครั้นกาลล่วงนานมาในห้าพันปี พระบรมธาตุทั้งหลายนี้เสด็จไปสู่ลังกาเกาะ เพื่อที่จะทรงสงเคราะห์ชาวสิงหฬ ให้เกิดสวัสดิมงคลด้วยกระทำสักการบูชาพระคุณ เมื่อถึงกาลพระพุทธศาสนาใกล้จะสิ้นสูญครบจำนวนถ้วนห้าพันปี พระบรมธาตุทั้งหลายนี้จะเสด็จไปสู่ที่พระเจดีย์ฐานดำรงอยู่โดยจำเนียรกาลบ่มิได้คลาด ครั้นถึงพระพุทธศักราชล่วงได้สี่พันเก้าร้อยเก้าสิบเก้าพรรษาเศษ สังขยาเดือนล่วงได้สิบเอ็ดเดือนกับยี่สิบสองวัน วันพฤหัสบดีเดือนหกขึ้นเก้าค่ำ คิมหันตฤดูปีชวดนักษัตรอัฐศก เวลารุ่งอรุโณทัย พระบรมสารีริกธาตุทั้งหลายนี้ไซร้ จะเสด็จไปสู่สถานที่สันนิบาตมิทันนาน ทรงทำยมกปาฏิหาริย์ด้วยพุทธฤทธิ์อันพิเศษ บังเกิดเป็นพุทธนิเวศน์ แลพระพุทธวรกายสูงได้สิบแปดศอก เปล่งพระรัศมีออกสิบหกประการ มีพระบวรสัณฐานวิจิตรจำรัสศรีสุนทโรภาส ทรงพระสิริวิลาศอันเพริศแพร้ว ดวงพระพักตร์ผุดผ่องแผ้ว ดังสีสุวรรณทองแท่งธรรมชาติ พระรูปองค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ เสด็จขึ้นสถิตนั่งเหนือรัตนบัลลังก์อาสน์ทรงพระสมาธิมั่นในควงต้นไม้พระศรีมหาโพธิ์ ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์ โปรดสัตว์คนธรรพ์เทวะนิกรอมรฤษีสิทธิ์พิทยาธรกินนรนาคราช ทั้งหมู่อสุระเดียรดาษนั่งแน่นเหนือพื้นแผ่นพสุธา สตฺตาห ทรงตรัสพระธรรมเทศนาโปรดสัตว์อีกเจ็ดวัน ในครั้งนั้นได้สี่อสงไขยสองล้านสามแสนหกสิบเจ็ดพันโกฏิแล้ว พระเตโชธาตุก็พวยพุ่งรุ่งโรจน์โชตนาการ สังหารพระบวรพุทธสริรธาตุให้สิ้นสุดในวันพุธเดือนหกขึ้นสิบ(ห้า)ค่ำ ปีชวดนักษัตรอัฐศก พระพุทธศาสนาก็บรรจบครบจำนวนถ้วนห้าพันพรรษา
    ..........อหํ วนฺทามิ ธาตุโย ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระบรมสารีริกธาตุทั้งหลาย ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น, อหํ วนฺทามิ สพฺพโส ข้าพเจ้า ขอนมัสการองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ด้วยประการทั้งปวง

    บทนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ

    อิติปิโส ภะคะวา มือข้าพเจ้าสิบนิ้ว
    ยกเหนือหว่างคิ้ว ต่างธูปเทียนทอง
    วงภักตร์โสภา ต่างมาลากรอง
    ดวงเนตรทั้งสอง ต่างประทีบถวาย

    ผมเผ้าเกล้าเกศ
    ต่างประทุมเมศ บัวทองพรรณราย
    วาจาเพราะผ่อง ต่างละอองจันทร์ฉาย
    ดวงจิตขอถวาย ต่างรสสุคนธา

    พระบรมธาตุ
    พระโลกนาถ อรหันตสัมมา
    ทั้งสามขนาด โอภาสโสภา
    ทั้งหมดคณนา สิบหกทะนาน

    พระธาตุขนาดใหญ่
    สีทองอุไร ทรงพรรณสัณฐาน
    เท่าเมล็ดถั่วหัก ตวงตักประมาณ
    ได้ห้าทะนาน ทองคำพอดี

    พระธาตุขนาดกลาง
    ทรงสีสรรพางค์ แก้วผลึกมณี
    เท่าเมล็ดข้าวสารหัก ประจักษ์รัศมี
    ประมาณมวลมี อยู่ห้าทะนาน

    ขนาดน้อยพระธาตุ
    เท่าเมล็ดผักกาด โอภาสสัณฐาน
    สีดอกพิกุล มนุญญะการ
    มีอยู่ประมาณ หกทะนานพอดี

    พระธาตุน้อยใหญ่
    สถิตอยู่ใน องค์พระเจดีย์
    ทั่วโลกธาตุ โอภาสรัศมี
    ข้าฯขออัญชลี เคารพบูชา

    พระธาตุพิเศษ
    เจ็ดองค์ทรงเดช ทรงคุณเหลือตรา
    อินทร์พรหมยมยักษ์ เทพพิทักษ์รักษา
    ข้าฯขอบูชา วันทาอาจิณ

    หนึ่งพระรากขวัญ
    เบื้องขวาสำคัญ อยู่ชั้นพรหมินทร์
    มวลพรหมโสฬส ประณตนิจสิน
    บูชาอาจิณ พร้อมด้วยกายใจ

    สองพระรากขวัญ
    เบื้องซ้ายสำคัญ นั้นอยู่เมืองไกล
    สามพระอุณหิส สถิตร่วมใน
    เจดีย์อุไร อนุราธะบุรี

    สี่พระเขี้ยวแก้ว
    ขวาบนพราวแพรว โอภาสรัศมี
    อยู่ดาวดึงส์สวรรค์ มหันตะเจดีย์
    พระจุฬามณี ทวยเทพสักการ

    ห้าพระเขี้ยวแก้ว
    ขวาล่างพราวแพรว โอภาสไพศาล
    สถิตเกาะแก้ว ลังกาโอฬาร
    เป็นที่สักการ ของประชากร

    หกพระเขี้ยวแก้ว
    ซ้ายบนพราวแพรว เพริดพริ้งบวร
    สถิตคันธาระ วินัยนคร
    ชุมชนนิกร นมัสการ

    เจ็ดพระเขี้ยวแก้ว
    ซ้ายล่างพราวแพรว รัศมีโอฬาร
    สถิต ณ พิภพ เมืองนาคสถาน
    ทุกเวลากาล นาคน้อมบูชา

    พระธาตุสรรเพชร
    เจ็ดองค์พิเศษ นิเทศพรรณนา
    ทรงคุณสูงสุด มนุษย์เทวา
    พากันบูชา เคารพนิรันดร์
    ด้วยเดชบูชา ธาตุพระสัมมา
    สัมพุทธภควันต์ ขอให้สิ้นทุกข์
    อยู่เป็นสุขสันต์ นิราศภัยอันตราย บีฑา
    แม้นเกิดชาติใด ขอให้อยู่ใน พระศาสนา
    รักธรรมดำเนิน จำเริญเมตตา
    ศีลทานภาวนา กำจัด โลโภ
    พ้นจากอาสวะ โทโส โมหะ

    ตามพระพุทโธ
    อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส

    ผู้โพส Being<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_6936", true); </SCRIPT>
     
  7. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    .
    <TABLE class=tborder id=post1442095 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid">20-08-2008, 11:56 PM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#20347 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175>:::เพชร:::<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1442095", true); </SCRIPT>
    สมาชิก

    [​IMG]

    เข้ามาครั้งล่าสุด: วันนี้ 10:33 AM
    วันที่สมัคร: Jul 2006
    อายุ: 43
    ข้อความ: 4,782
    ได้ให้อนุโมทนา: 7,000
    ได้รับอนุโมทนา 51,550 ครั้ง ใน 4,911 โพส
    <IF condition="">
    </IF>พลังการให้คะแนน: 3341 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]


    </TD><TD class=alt1 id=td_post_1442095 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid">" อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สะระณังคะโต อัสสามิมะหันตา ภินนะมุคคา จะ มัชฌิมา ภินนะตัณฑุลา ขุททุกะ สาสะปะมัตตา เอวัง ธาตุโย สัพพัฏฐาเน อาคัจฉันตุ สีเสเม ปะตันเต "

    พระคาถาอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุบทนี้เป็นของโบราณ รุ่นพี่ที่ปัจจุบันนี้อยู่ในจังหวัดจันทบุรี ได้สวดพระคาถาอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุบทนี้ที่หออัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุที่วัดป่าทะเมนชัย จ.บุรีรัมย์เมื่อประมาณปีพ.ศ.๒๕๓๕ เกิดแสงสว่างว๊าบตรงเหนือศีรษะ พระบรมสารีริกธาตุสัณฐานข้างล่างนี้ก็ตกลงบนศีรษะจำนวนหนึ่ง...
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>รูปขนาดเล็ก</LEGEND>[​IMG]
    </FIELDSET></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ส่วนพระพิมพ์สมเด็จวังหน้า พิมพ์ที่มีพระธาตุนั้น ผมขอแนะนำให้ใช้บทนี้ครับ

    พระคาถามงกุฎพระพุทธเจ้า

    อิติปิโสวิเสเสอิ อิเสเสพุทธนาเมอิ อิเมนาพุทธตังโสอิ อิโสตังพุทธปิติอิ ( 1 , 3 , 5 , 7 , 9 ,108 จบ)

    และต่อด้วยบทสวดหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร
    โลกุตตะโร ปัญจะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>“เกดสะหนา” กลับบ้าน..เร็วและแรงเวียดนามส่อเละ
    IndoChina - Manager Online
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>28 กันยายน 2552 20:08 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    ไต้ฝุ่นเกดสะหนา ตั้งชื่อตามไม้มงคลที่มีกลิ่นหอมและราคาแพง (ไม้กฤษณา) ในลาว จากแปซิฟิกอันไกลโพ้นมุ่งหน้ากลับบ้าน.. 6-7 จังหวัดและนครในภาคกลางเวียดนาม แขวงจำปาสัก สาละวัน สะหวันนะเขต และคำม่วน ในลาวส่อเค้าจะเละพอๆ กันในวันสองวันนี้ รวมทั้งภาคอีสานตอนบนของไทยด้วย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> <CENTER>Graphic Illustration Courtesy of TSR </CENTER>

    เวียดนามนิวส์ --ไต้ฝุ่นเกดสะหนา (กฤษณา) ที่ตั้งชื่อตามไม้มงคลที่มีกลิ่นหอมในภาษาลาว และเป็นพายุจากทะเลจีนใต้ลูกที่ 9 ของปีนี้ กำลังทำให้เกิดฝนตกหนักในหลายจังหวัดภาคกลางเวียดนาม และคาดว่า จะเคลื่อนตัวเข้าถึงฝั่งในเช้าตรู่วันอังคาร (29 ก.ย.)

    ความแรงระดับนี้อาจจะส่งผลกระทบทำให้เกิดฝนตกหนักในภาคใต้กับภาคกลางของลาว จนถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ตั้งแต่เช้าวันอังคาร เป็นต้นไป

    “เกดสะหนา” เพิ่มทวีความเร็วลมศูนย์กลาง ขณะเคลื่อนผ่านหมู่เกาะฮว่างซา (พาราเซล) ตามแนวเส้นรุ้งที่ 5.6 องศาเหนือ คาดความเร็วลมศูนย์กลางจะเพิ่มขึ้นจาก 118 กม./ชม.เป็น 149 กม./ชม.ในเวลาเช้าตรู่วันอังคาร และเคลื่อนตัวในแนวตะวันออกเฉียงใต้-ตะวันตกเฉียงเหนือ ด้วยความเร็ว 10-15 กม./ชม.

    ไต้ฝุ่นเกดสะหนา ซึ่งกำลังจะเป็นพายุที่มีความแรงที่สุดในปีนี้ กำลังจะพัดผ่านท้องที่ต่างๆ เป็นอาณาบริเวณยาวเหนือ-ใต้ ตั้งแต่ จ.กว๋างจิ (Quang Tri) ลงไปจนถึงนครด่าหนัง (Danang)

    คณะกรรมการป้องกันภัยพิบัติแห่งชาติ ได้ออกเตือนไปยังจังหวัดและนครต่างๆ ตั้งแต่ภาคกลางตอนบนลงไปจนถึงเขตที่ราบสูงภาคกลาง ให้เตรียมรับมือกับเหตุรุนแรงที่จะเกิดขึ้น ตั้งแต่พายุลมแรงธรรมดา จนถึงน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และดินถล่ม

    นายกรัฐมนตรีเวียดนาม เหวียนเติ๋นยวุ๋ง (Nguyen Tan Dung) ได้สั่งการให้จังหวัดและนครเร่งอพยพราษฎรในพื้นที่เสี่ยงไปสู่จุดปลอดภัย และเจ้าหน้าที่กู้ภัยช่วยเหลือ ตั้งแต่ส่วนกลางลงไปจนถึงส่วนท้องถิ่นเตรียมพร้อม

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=550 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=550>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    พุ่งไปข้างหน้าเกือบจะเป็นเส้นตรง ราวหัวกระสุนที่ขับด้วยดินปืนทรงพลัง เร็วและแรงเป็นม้าตีนปลาย ไต้ฝุ่นเกดสะหนาบ่ายหน้ากลับลาว เข้าฝั่งเวียดนามเวลาประมาณ ตี 4 วันอังคารนี้ ความเร็วลมศูนย์กลางเกือบ 150 กม./ชม.
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> นายกฯเวียดนาม สั่งให้กระทรวงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ จัดเตรียมยารักษาโรค และอาหาร ตลอดจนสิ่งจำเป็นในการยังชีพ เพื่อส่งไปช่วยประชาชนในเขตภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ทันการ รวมทั้งขอให้กองทัพเตรียมพร้อมยานพาหนะที่จำเป็นต่างๆ เพื่อการช่วยเหลือและกู้ภัยกรณีฉุกเฉินที่จะเริ่มขึ้นวันสองวันข้างหน้านี้ด้วย

    รัฐบาลยังสั่งให้คณะกรรมการประชาชนจังหวัดภาคเหนือ งดการจัดประชุมที่ไม่จำเป็นในช่วงวันสองวันข้างหน้านี้ และแนะนำให้ชาวนาเกษตรกรเร่งเก็บเกี่ยวข่าวกับพืชผลต่างๆ ให้เร็วที่สุดเพื่อลดการสูญเสีย

    นายกรัฐมนมนตรีเวียดนาม ยังสั่งกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบท กระทรวงกลาโหม กระทรวงความมั่นคงสาธารณะ กระทรวงกีฬา วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว รวมทั้งงกระทรวงขนส่ง เร่งช่วยชาวนาเก็บเกี่ยวข้าว และดูแลความมั่นคงปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ให้มีหลักประกันเกี่ยวกับการเดินทางและการขนส่งที่ปลอดภัย รวมทั้งช่วยเหลือกลุ่มเสี่ยงต่างๆ อย่างเต็มกำลังความสามารถ

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=580 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=580>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    ไต้ฝุ่นเกดสะหนา ลูกที่ 9 ในปีนี้ไปยังไม่ถึงฝั่ง พายุอีก 2 ลูกก่อตัวขึ้นอีกแล้วในแปซิฟิก ทางตะวันออกหมู่เกาะฟิลิปปินส์ เวียดนามเตรียมรับมือเต็มอัตรา
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ก่อนหน้านี้ ในวันเสาร์ ได้มีการประชุมด่วนเตรียมการเรื่องนี้ในกรุงฮานอย รองนายกรัฐมนตรี นายฮว่างจุงหาย (Hoang Trung Hai) ได้สั่งให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับศูนย์อุตุนิยมวิทยาและอุทกศาสตร์กลาง เฝ้าติดตามการเคลื่อนตัวของพายุลูกนี้อย่างใกล้ชิด และรายงานความเปลี่ยนแปลงให้ท่วงทันเวลา

    ไต้ฝุ่นเกดสะหนา ก่อตัว และเริ่มส่งผลกระทบถึงเวียดนามตั้งแต่วันที่ 23 ก.ย.เป็นต้นมา ฝนตกหนักพายุลมแรงได้ทำให้นาข้าวเสียหายแล้วหลายพันเฮกตาร์ เรือหาปลาเสียหายอีกกว่า 20 ลำ

    สำนักพยากรณ์ TSR (Tropical Storm Risk) ได้ออกคำเตือนระดับ “สีแดง” (Red Alert) ทั้งยังพยากรณ์ว่าภายใน 24 ชั่วโมงข้างหน้า ศูนย์กลางการทำลายของไต้ฝุ่นเกดสะหนา จะอยู่ระหว่าง จ.กว๋างหงาย (Quang Ngai) กับ นครด่าหนัง.

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
  11. psombat

    psombat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กุมภาพันธ์ 2009
    โพสต์:
    1,334
    ค่าพลัง:
    +5,438
    29 ก.ย 2552 - 200 ปี หลวงปู่กรมพระยาปวเรศ

    [​IMG]
    ภาพถ่าย ณ พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม ในพระบรมมหาราชวัง จากซ้ายไปขวา
    1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อครั้งทรงผนวช
    2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค็เจ้าอรุณนิภาคุณากร วัดราชบพิธ
    3. พระสุคุณคณาภรณ์ (นิ่ม) วัดเครือวัลย์
    4. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ พระราชอุปัธยาจารย์
    5. พระจันทรโคจรคุณ (ยิม จันทรังสี) วัดมกุฏกษัตริยาราม
    6. พระพิมลธรรม(สมเด็จพระวันรัต ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
    7. พระอริยมุนี (พระพรหมมุนี เหมือน สุมิตฺโต) วัดบรมนิวาส
    8. พระพรหมมุนี (สมเด็จพระพุฒาจารย์ ศรี) วัดปทุมคงคา
    9. พระสาสนโสภณ (สมเด็จพระสังฆราชสา ปุสฺสเทโว) วัดราชประดิษฐ์ พระราชกรรมวาจาจารย์
    [​IMG]

    เมื่อคืนได้สนทนากับท่านเลขาชมรมรักษ์พระวังหน้าของเรา เกี่ยวกับความซาบซึ้งในพระเมตตาของหลวงปู่ทั้งหลายที่ดลบันดาลให้พวกเรา ได้พบเจอพระกริ่งสำคัญที่สุดในสยาม ทำให้หวลคำนึงว่าที่สุดแล้วพระกริ่งปวเรศนั้น มีกันกี่องค์กันแน่ จำนวนนั้นจะสัมพันธ์เกี่ยวกับตัวเลขในหลวงปู่อย่างไร ศึกษา ณ เบื้องต้นศิริรวม เราได้รู้ว่าเกินสิบแน่ เพราะสร้างหลายวาระด้วยกัน โดยเฉพาะวาระสุดท้ายคือปี 2434 ตอนที่หลวงปู่ท่านขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช ผู้ที่เกี่ยวข้องในการสร้างจะต้องเป็นบคคลสำคัญในแผ่นดินเป็นแน่ (ในสมัย ร.4 ว่างเว้นสังฆราชอยู่ 15 ปี ในสมัย ร.5 ว่างเว้นอยู่ 23 ปี ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น เว้นไว้สำหรับผู้ที่สนใจจริงๆไปค้นคว้า มีอยู่เยอะใน Internet) ขณะนั้นหลวงปู่อายุ 82 พรรษา ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ประมาณ 11 เดือน ท่านก็สวรรคต ณ ตอนเช้าตรู่ของวันวันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน 2435 ท่านประสูตรเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน 2352 (ผมยึดถือตามตำราพระประวัติ 19 สมเด็จพระสังฆราช) ถ้านับจากวันประสูติถึงวันนี้(29/09/09) ก็ 200 ปีพอดิบพอดีครับ

    เมื่อวานเป็นวันหนึ่งในฤกษ์ดีที่นับว่าหายยากมากในรอบปีครับ ผมพอจะสรุปให้ได้ดังนี้

    วันอาทิตย์ ขึ้นหรือแรม 6 ค่ำ ...นามดิถีอันประเสริฐ ชัยโชค สำเร็จทุกประการ
    วันจันทร์ ขึ้นหรือแรม 9 ค่ำ...ราชาโชค มีโชคลาภมาก
    วันอังคาร ขึ้นหรือแรม 13 ค่ำ...มหาสิทธิโชค สำเร็จดียิ่ง
    วันพุธ ขึ้นหรือแรม 2 ค่ำ ...อมฤตโชค สำเร็จผล
    วันพฤหัสฯ ขึ้นหรือแรม 9 ค่ำ ...สิทธิโชคมหาวัน สมปรารถนา
    วันศุกร์ ขึ้นหรือแรม 4 ค่ำ ...ราชาโชค มีโชคลาภมาก
    วันเสาร์ ขึ้นหรือแรม 5 ค่ำ ...อมฤตโชค สำเร็จผล

    ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมเราได้รับข่าวดีกันเรื่อยๆ เกี่ยวกับหลวงปู่กรมพระยาปวเรศครับ ...

    อยากให้เราชาวรักษ์พระวังหน้าทุกท่านรำลึกนึกถึงคุณงามความดีที่พระองค์ท่านสร้างให้กับประเทศกับพระศาสนาของเราไม่เพียงแต่เป็นองค์ปฐมในการสร้างพระกริ่งอันลือลั่น เพราะท่านคือหนึ่งในหลวงปู่พระอภิญญาใหญ่ ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ ในในหลวงรัชกาลที่ 5 กับเชื้อพระวงค์หลายพระองค์ เป็นที่ปรึกษากับญาติผู้ใหญ่ใน ร.5 และอื่นๆมากมายครับผม ...

    แค่นี้พอจะกระตุ้นล้านคลิ๊กได้มั๊ยม่านรองฯท่านเลขาฯ :)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    หนังสือจะเริ่มการจัดพิมพ์ประมาณต้นเดือนตุลาคม คาดว่าแล้วเสร็จประมาณต้นหรือกลางเดือนพฤศจิกายน 2552 นี้ครับ
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    งั้นผมขอลงประวัติหลวงปู่กรมพระยาปวเรศต่อ จากในลิงค์ของคุณpsombat ครับ

    ที่มา

    ๘. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (พระองค์เจ้าฤกษ์) วัดบวรนิเวศวิหาร

    [​IMG]

    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>ภูมิลำเนาเดิม</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ รัชกาลที่ ๒</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันประสูติ

    </TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ วันจันทร์ ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะเส็ง</B>
    จ.ศ. ๑๑๗๑
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสถาปนา</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ ในรัชกาลที่ ๕</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>วันสิ้นพระชนม์</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ในรัชกาลที่ ๕</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=100 height=34>พระชนมายุ</TD><TD vAlign=top align=middle width=10 height=34></TD><TD vAlign=top align=middle width=290 height=34>๘๓ พรรษา</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=450 colSpan=3 height=34>ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ๑๑ เดือนเศษ </TD></TR></TBODY></TABLE></B>
    พระประวัติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    พระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

    นับแต่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนม์ เมื่อ พ.ศ.๒๓๙๖ ในรัชกาลที่ ๔ แล้ว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราชอีกจนตลอดรัชกาล เป็นเวลา ๑๕ ปี ฉะนั้น ในรัชกาลที่ ๔ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชจนเกือบตลอดรัชกาล เพราะสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียงปีเศษตอนต้นรัชกาลเท่านั้น
    เมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาปรมานุชิตชิโนรส ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชนั้น สมเด็จพระมหา สมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
    มาในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็มิได้โปรดสถาปนาพระเถระรูปใดเป็นสมเด็จพระสังฆราช ตลอดช่วงต้นแห่งรัชกาล เป็นเวลาถึง ๒๓ ปี ฉะนั้น ในช่วงต้น รัชกาลที่ ๕ จึงว่างสมเด็จพระสังฆราชอยู่ถึง ๒๓ ปี จึงได้ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ เป็นสมเด็จพระสังฆราช นับเป็นพระองค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
    พระประวัติในเบื้องต้น
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสในสมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ และเจ้าจอมมารดาน้อยเล็ก ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน ๕ ขึ้น ๗ ค่ำ ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๕๒ ตรงกับวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ อันเป็นวันเริ่มสวดมนต์ ตั้งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ จึงได้พระราชทานนามว่า พระองค์เจ้าฤกษ์
    ทรงผนวช
    พ.ศ. ๒๓๖๕ พระชนมายุ ๑๓ พรรษา ทรงผนวชเป็นสามเณร ณ วัดมหาธาตุ สมเด็จพระสังฆราช (มี) เป็นพระอุปัชฌาย์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมอยู่ในสำนักพระญาณสมโพธิ (รอด) ครั้งทรงผนวชเป็นสามเณรได้ ๔ พรรษา ประชวรไข้ทรพิษต้องลาผนวชออกมารักษาพระองค์ เมื่อหายประชวรแล้ว สมเด็จกรมพระราชบวรมหาศักดิพลเสพ ในรัชกาลที่ ๓ ทรงจัดการให้ทรงผนวชเป็นสามเณรอีกครั้งหนึ่ง
    พ.ศ. ๒๓๗๒ พระชนมายุครบทรงผนวชเป็นพระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดให้ทรงลาผนวชออกสมโภช แล้วแห่พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้น ๒ เจ้าฟ้าอาภรณ์ ที่จะทรงผนวชเป็นเป็นสามเณรในเวลานั้น ในการทรงผนวชเป็นพระภิกษุนั้น สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ขณะทรงดำรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นนุชิตชิโนรส กับพระวินัยรักขิต วัดมหาธาตุ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    เมื่อทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้วทรงศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงผนวชเป็นพระภิกษุอยู่ ณ วัดมหาธาตุนั้น เช่นกัน ในเวลานั้น (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงพระเจริญพระชนมายุกว่า ๕ พรรษา) เป็นเหตุให้ทรงเลื่อมใสในลัทธิธรรมวินัยตามอย่างพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ภายหลังจึงได้ทรงอุปสมบทซ้ำอีกครั้งหนึ่งในนทีสีมา โดยพระสุเมธาจารย์ (พุทธวังสะ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงศึกษาพระปริยัติธรรมจนทรงแตกฉานในภาษาบาลี แต่ไม่ทรงเข้าสอบเพื่อเป็นเปรียญ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพัดยศสำหรับเปรียญเอก ที่เคยพระราชทานแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เมื่อครั้งยังมิได้ทรงเป็นพระราชาคณะให้ทรงถือเป็นเกียรติยศ สืบมา พระนิพนธ์อันเป็นเครื่องแสดงถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลีของพระองค์ก็คือ พระนิพนธ์เรื่อง สุคตวิทัตถิวิธานซึ่งทรงนิพนธ์เป็นภาษาบาลีว่าด้วยเรื่องการวิเคราะห์คืบพระสุคตอันเป็นมาตราวัดที่มีกล่าวถึงในทาง พระวินัย นอกจากนี้ ก็ได้ทรงนิพนธ์เรื่องเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เป็น ภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง นับว่าทรงเป็นปราญ์ทาง ภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุครัตนโกสินทร์
    ในรัชกาล ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตั้งเป็นพระราชาคณะสมณศักดิ์ เสมอพระราชาคณะสามัญ พระราชทานตาลปัตรแฉกถมปัดเป็นพัดยศ
    พ.ศ. ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งขณะยังทรงผนวชอยู่ ทรงเป็นพระเถราจารย์ประธานแห่งพระสงฆ์ธรรมยุตินิกายทรงลาผนวชเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เป็นรัชกาลที่ ๔ จึงได้ทรงสถาปนาพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าฤกษ์ เป็นกรมหมื่นบวรรังษีสุริยพันธุ์ทรงอิศริยยศเป็นประธานาธิบดีแห่งพระสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ซึ่งขณะนั้นเรียกว่า “ธรรมยุติกนิกายิกสังฆมัธยมบวรนิเวสาธิคณะ” ทรงดำรงสมณฐานันดรเป็นที่สองรองจาก สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งทรงดำรงตำแหน่ง สมเด็จพระสังฆปริณายก คือสมเด็จพระสังฆราชอยู่ในขณะนั้น สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ จึงทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตเป็นพระองค์แรก
    ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์
    พ.ศ. ๒๔๑๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ขณะทรงพระอิศริยยศเป็นกรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ ทรงเป็นพระราชอุปัธยาจารย์ สมเด็จพระสังฆราช (สาปุสฺ สเทโว) ขณะทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ พระสาสนโสภณ เป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ เมื่อทรงผนวชแล้ว เสด็จประทับที่พระพุทธรัตนสถานมนทิราราม ในพระบรมมหาราชวังชั้นใน โดยทรงเชิญเสด็จสมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ และนิมนต์พระราชาคณะผู้ใหญ่ต่างวัดเข้าไปอยู่ด้วยพอครบคณะสงฆ์ ทรงผนวชอยู่ ๑๕ วันก็ทรงลาผนวช
    หลังจากเสด็จออกทรงผนวชเป็นพระภิกษุแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชปรารภที่จะถวายมหาสมณุตมาภิเษกพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นบวรรังษี สุริยพันธุ์ในตำแหน่งที่สมเด็จพระสังฆราช แต่สมเด็จมหาสมณเจ้าฯ พระองค์นั้นไม่ทรงรับ ทรงถ่อมพระองค์อยู่ว่า เป็นพระองค์เจ้าในพระราชวังบวรฯ จักข้ามเจ้านายที่เป็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอทั้งทรงเจริญพระชนมายุกว่าก็มี จักเป็นที่ทรงรังเกียจของท่าน จึงทรงรับเลื่อนเพียงเป็นกรมพระ เสมอด้วยเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในชั้นเท่านั้น จึงทรงพระกรุณาโปรดให้เลื่อนพระ อิศริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๖
    การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อนพระอิศริยยศ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระปวเรศวริยาลงกรณ์ ครั้งนี้ แม้ว่าพระองค์จะไม่รับถวายมหาสมณุตมาภิเษก ในที่สมเด็จพระสังฆราช แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ถวายพระเกียรติยศในทางสมณศักดิ์สูงสุดเท่ากับทรงเป็นสมเด็จ พระสังฆราชดังปรากฏในคำประกาศเลื่อนกรมว่า “สมควรเป็นสังฆปรินายกประธานาธิบดี มีสมณศักดิ์อิศริยยศใหญ่ยิ่งกว่าบรรดาสงฆ์บรรพสัชทั้งปวงในฝ่ายพุทธจักร” ฉะนั้น ในช่วงต้นรัชกาล มาจนถึง พ.ศ. ๒๔๓๔ เป็นเวลา ๒๓ ปี จึงว่างสมเด็จพระสังฆราช
    ทรงรับมหาสมณุตมาภิเษก
    พ.ศ. ๒๔๓๔ อันเป็นบั้นปลายแห่งพระชนม์ชีพแห่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงถวายมหาสมณุตมาภิเษก ขณะเมื่อทรงรับถวายมหาสมณุตมาภิเษกนั้น สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงเจริญพระชนมายุถึง ๘๒ พรรษาแล้ว มาในคราวนี้ ทรงยอมรับถวายมหาสมณุตมาภิเษก เพราะเจ้านายชั้นเดียวกันสิ้นพระชนม์แล้วทั้งสิ้น มีเจ้านายผู้ใหญ่เจริญพระชนมายุเหลืออยู่แต่พระองค์เพียงพระองค์เดียว
    การพระราชพิธีมหาสมณุตมาภิเษก (ของเดิมเขียน มหาสมณุตมาภิเศก) ทรงพระกรุณาโปรดให้ตั้งพระราชพิธีสงฆ์ในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร มีเทียนชัยและเตียงพระสวดภาณวารตั้งพระแท่นเศวตฉัตร ในนั้น ตั้งพระแท่นสรงที่ศาลากำแพงแก้ว โรงพิธีพราหมณ์ตั้งริมคูนอกกำแพงบริเวณนั้นออกมา มีสวดมนต์ตั้งน้ำวงด้ายวัน ๑ พระสงฆ์ ๒๐ รูป รุ่งเช้าจุดเทียนชัยสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้นโปรดให้กรมหมื่นวชิรญาณวโรรสทรงจุด พระสงฆ์เข้าพระราชพิธี ๓๐ รูป สวดมนต์ ๓ เวลาและสวดภาณวาร ๓ วัน ๓ คืน เช้าวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔ สรงแล้ว เสด็จขึ้นพระแท่นเศวตรฉัตร มีประกาศกระแสพระบรมราชโองการทรงสถาปนาแล้ว ทรงรับพระสุพรรณบัฏ เครื่องยศ ดอกไม้ธูปเทียนและต้นไม้ทองเงินของหลวงแล้ว ทรงถวายศีล เป็นเสร็จการรับมหาสมณุตมาภิเษกเพียงเท่านี้ ต่อนั้นทรงธรรม ๔ กัณฑ์อนุโลมตามบรมราชาภิเษกกัณฑ์ทศพิธราชธรรมจรรยาเปลี่ยนเป็นไตรสิกขาและ ทรงรับดอกไม้ธูปเทียนของ พระสงฆ์พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ
    ทรงเป็นปราชญ์ทางภาษาบาลี
    สมเด็จฯ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงพระอัจฉริยภาพในหลายด้าน ซึ่งคนส่วนมากไม่ค่อยจะได้รู้จัก ประการแรก ทรงเป็นปราชญ์ ทางภาษาบาลีที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีอยู่จำนวนไม่มากนัก ผลงานด้านภาษาบาลีที่สำคัญของพระองค์ก็คือพระนิพนธ์เรื่องสุคตวิทิตถิวิธาน ซึ่งทรงวิเคราะห์ และอธิบายเรื่องคืบพระสุคต พระนิพนธ์เรื่องนี้ ทรงพระนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๘ ในปลายรัชกาลที่ ๓ และได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในลังกา ในตอนต้นรัชกาลที่ ๕ สำหรับในประเทศไทยนั้น เพิ่งจะมารู้จักพระนิพนธ์เรื่องนี้เมื่อต้นรัชกาลที่ ๖ นอกจากพระนิพนธ์เรื่องนี้แล้ว พระองค์ยังทรงพระนิพนธ์เรื่องอื่นๆ เป็นภาษาบาลีไว้อีกหลายเรื่อง ส่วนพระนิพนธ์ในภาษาไทยก็ทรงไว้หลายเรื่องเช่นกัน ทั้งทางคดีโลกและคดีธรรม และทรงพระปรีชาสามารถทั้งในทางร้อยแก้วและร้อยกรอง ที่สำคัญ เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ โครงพระราชประวัติในรัชกาลที่ ๔
    ทรงเป็นสถาปนิก
    พ.ศ. ๒๓๙๖ อันเป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำริที่จะปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ ซึ่งองค์เดิมเป็นพระเจดีย์ขนาดย่อม ให้เป็นพระมหาเจดีย์สำหรับเป็นที่สักการบูชาของมหาชนสืบไทย จึงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่ยังทรงเป็นกรมหมื่นออกแบบพระเจดีย์ และทรงโปรดให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) เป็นแม่กองปฏิสังขรณ์ เมื่อสมเด็จเจ้าพระยาฯ ถึงแก่พิราลัย ก็โปรดให้เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) เป็นผู้บัญชาการทำการปฏิสังขรณ์ต่อมาจนสำเร็จ พระปฐมเจดีย์ดังที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ จึงเป็นผลงานออกแบบของสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์
    ทรงเป็นนักโบราณคดี
    เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงผนวชอยู่ ได้เสด็จธุดงค์ไปยังหัวเมืองต่างๆเป็นเหตุให้ทรงพบศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๑ และจารึกอื่นๆ ในเวลาต่อมาอีกมาก และพระองค์ทรงพยายามศึกษา จนสามารถทรงอ่านข้อความในจารึกดังกล่าวนั้นได้ซึ่งอำนวยประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของชาติไทย อย่างมหาศาล สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ซึ่งทรงเป็นศิษย์ใกล้ชิดในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระองค์หนึ่ง ก็ได้ทรงดำเนินรอยตาม เป็นเหตุให้ทรงเชี่ยวชาญในทางโบราณคดีพระองค์หนึ่งของไทยในยุคนั้น ทรงเป็นนักอ่านศิลาจารึกรุ่นแรกของไทย ได้ศึกษาและรวบรวมจารึกต่างๆ ในประเทศไทยไว้มากและได้ทรงอ่านจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ (อักษรขอม) เป็นพระองค์แรก

    ทรงเป็นนักประวัติศาสตร์
    นอกจากจะทรงสนพระทัยในการศึกษาทางโบราณคดีแล้ว สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ยังทรงสนพระทัยในเรื่องประวัติศาสตร์ด้วย ดังจะเห็นได้จากผลงานทางด้านประวัติศาสตร์ที่ทรงพระนิพนธ์ไว้หลายเรื่อง เช่น ลิลิตพงศาวดารเหนือ เรื่องพระปฐมเจดีย์ พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ เป็นต้น
    ทรงเป็นนักดาราศาสตร์และโหราศาสตร์
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงเป็นที่เลื่องลือว่าเชี่ยวชาญในทางโหราศาสตร์เป็นอันมากแต่ไม่ทรงนิยมการพยากรณ์ ในด้านดาราศาสตร์ก็ทรงเชี่ยวชาญเป็นอย่างยิ่ง ได้ทรงพระนิพนธ์ตำราปักขคณนา (คือตำราการคำนวณปฏิทินทางจันทรคติ) ไว้อย่างพิสดาร พระนิพนธ์อันเป็นผลงานของพระองค์ในด้านนี้ไม่ค่อยได้ตีพิมพ์ออกเผยแพร่คนทั่วไปจึงไม่ค่อยรู้จักพระอัจฉริยภาพ ของพระองค์ในเรื่องดังกล่าวเหล่านี้มากนัก
    ทรงเป็นนักวิทยาศาสตร์
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงบันทึกจำนวนฝนตกเป็นรายวันติดต่อกันเป็นเวลาถึง ๔๕ ปี เริ่มแต่ปี พ.ศ. ๒๓๘๙ ในรัชกาลที่ ๓ จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓ ในรัชกาลที่ ๕ เพื่อเป็นการเก็บสถิติน้ำฝนในประเทศไทย นับว่าทรงมีความวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง ทรงเรียกบันทึกของพระองค์ว่า “จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝน” และในจดหมายเหตุนี้ยังได้ทรงบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองที่สำคัญๆ ไว้ด้วย นับเป็นจดหมายเหตุทางประวัติที่มีค่ามากเรื่องหนึ่ง
    ทรงเป็นกวี
    สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ทรงพระนิพนธ์เรื่องราวต่างๆ ไว้มาก ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาบาลี ในส่วนที่เป็นภาษาไทยนั้นทรงพระนิพนธ์เป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ไว้ก็จำนวนมาก เช่น โคลงพระราชประวัติรัชกาลที่ ๔ กาพย์เสด็จนครศรีธรรมราช ลิลิตพงศาวดารเหนือ เป็นต้น จึงกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงเป็นกวีนักอักษรศาสตร์ที่สำคัญพระองค์หนึ่งในยุคกรุงรัตนโกสินทร์
    ทรงให้กำเนิดพระกริ่งในประเทศไทย
    เมื่อกล่าวถึงเรื่องพระกริ่ง คนส่วนมากก็คงจะเคยได้ยินเรื่องพระกริ่งปวเรศ ซึ่งนิยมนับถือกันว่าเป็นยอดแห่งพระกริ่งในสยามพระกริ่งปวเรศเป็นพุทธศิลป์ที่สมเด็จกรมพระยาปวเรศฯ ได้ทรงพระดำริสร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๕ นับเป็นการให้กำเนิดพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และได้เป็นแบบอย่างให้มีการสร้างพระกริ่ง กันขึ้นในเวลาต่อมาจนกระทั่งทุกวันนี้
    พระอวสานกาล
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นที่เคารพนับถือของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ตลอดถึงพระบรมวงศานุวงศ์เป็นอันมาก ทรงเป็นที่ปรึกษาในกิจการบ้านเมืองที่สำคัญๆ ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ มาตลอดพระชนมชีพ ดังจะเห็นได้จากความในพระราชหัตถเลขาที่กราบทูลสมเด็จพระมหาสมณเจ้าพระองค์นั้น บางตอนว่า “ทุกวันนี้หม่อมฉันเหมือนตัวคนเดียว ได้อาศัยอยู่แค่สมเด็จกรมพระกับสมเด็จเป็นที่พึ่งที่ปรึกษา เป็นพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ ขอให้ทรงพิเคราะห์การให้ละเอียดด้วย”
    ในบั้นปลายแห่งพระชนมชีพ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงประชวรต้อกระจก ในที่สุดพระเนตรมืด ครั้ง พ.ศ. ๒๔๓๕ ทรงประชวรพระโรคกลัดพระบังคนหนัก จัดเข้าในพระโรคชรา สิ้นพระชนม์เมื่อเช้าตรู่ของวันพฤหัสบดีที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ สิริรวมพระชนมายุได้ ๘๓ พรรษา ทรงครองวัดบวรนิเวศเป็นเวลา ๔๑ ปี ทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชอยู่เพียง ๑๑ เดือนเศษ ได้พระราชทานพระโกศกุดั่งใหญ่ทรงพระศพ
    พระศพสมเด็จกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ประดิษฐานอยู่ ณ พระตำหนักเดิม (คือที่เสด็จประทับ) วัดบวรนิเวศวิหารเป็นเวลาถึง ๘ ปี จึงได้พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุ ท้องสนามหลวง เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๔๔๓
    ทรงสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนาม
    สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ขณะเมื่อทรงดำรงพระสมณฐานันดรเป็น สมเด็จพระมหาสังฆปริณายก ที่ สมเด็จพระสังฆราชนั้น ยังไม่มีคำนำพระนามที่บ่งบอกถึงพระเกียรติยศ ในทางสมณศักดิ์ คือเรียกพระนามไปตามพระอิศริยยศแห่งบรมราชวงศ์ว่า “พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมสมเด็จ พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์” มาในรัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาเปลี่ยนคำนำพระนามเป็น “สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์” ในคราวเดียวกันกับที่ทรงสถาปนา สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ จึงได้เรียกกันว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ แต่นั้นเป็นต้นมา

    ย่อความจาก "ธรรมจักษุ"
    นิตยสารทางพระพุทธศาสนารายเดือน
    จัดทำโดย มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 กันยายน 2009
  14. มูริญโญ่

    มูริญโญ่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +583

    เรียนคุณหนุ่ม ครับ
    ผมขอโทษด้วยนะครับตอนแรกว่าจะไปแน่นอน ( 4 ตุลา 2552 )
    ตอนนี้มีงานด่วนเข้ามาครับขอโทษจริงๆนะครับ
    แล้วค่อยเจอกันเดือนพฤศจิเลยก็แล้วกันนะครับ
    ค่าหนังสือผมจาโอนให้คิดว่าคงไม่เกินครึ่งชั่วโมงครับ
    งานส่วนอื่นไม่ว่าจาเป็นค่าอะไร พิมพ์หนังสือ / มุทิตาจิตอาจารย์ปู่
    คุณหนุ่มตัดสินใจแทนผมด้วยนะครับไม่มีปัญหาครับ
    ขอโทษทุกๆท่านด้วยนะครับ

    *** สำหรับทุกท่านที่เป็นพี่น้องในชมรม ผมขออภัยด้วยนะครับ **
     
  15. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    การจองหนังสือ "ปู่เล่าให้ฟัง"
    #33681
    #33682
    #33685

    สามารถจองได้ เล่มละ 500 บาท

    หากจองตั้งแต่ 20 เล่มขึ้นไป ผมมอบพระสมเด็จ(กลักไม้ขีด) ให้ 1 องค์

    และผมขอค่าจัดส่งหนังสือ 100 บาท (เป็นการจัดส่งแบบลงทะเบียน) หากจำนวนเงินในการจัดส่งไม่ถึง 100 บาท ผมขอนำเงินในส่วนที่เหลือสมทบทุนการจัดพิมพ์ครั้งต่อไปหรือสมทบทุนการจัดพิมพ์หนังสือวิเคราะห์พระสมเด็จและสมเด็จเจ้าคุณกรมท่าครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า รายละเอียดการจอง ผมส่งให้ทุกๆท่านทาง Email ส่วนค่าจัดส่งไม่ต้อง เพราะเราต้องพบกันในการประชุมอยู่แล้วครับ

    ระยะเวลาตั้งแต่วันจันทร์ที่ 14 กันยายน 2552

    สิ้นสุดวันพุธที่ 30 กันยายน 2552

    การจองหนังสือ ต้องโอนเงินภายในวันที่ 30 กันยายน 2552 หากยังไม่ได้โอนเงินภายในระยะเวลาที่กำหนด ผมขออนุญาตยกเลิกการจองหนังสือ (หลังจากนั้นผมจะปิดบัญชีนี้) ครับ

    รายนามผู้จอง
    1.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->nongnooo (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 19.92552/ จำนวน 1,000 บาท
    2.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->แหน่ง<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2434226", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 3 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    3.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->jirautes<!-- google_ad_section_end --> จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 19.92552/
    4.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->พรสว่าง_2008<!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    5.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->psombat<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435705", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม มอบเงินแล้ว 19.92552/
    6.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ลุงจิ๋ว<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2435951", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 28.92552/
    7.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Natachai<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2408238", true); </SCRIPT> จอง 1 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน (ผมขอ Email ใหม่อีกครั้ง)
    8.น้องชาsira (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    9.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->มูริญโญ่<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 2 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 29.92552/
    10.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Phocharoen<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2438846", true); </SCRIPT> (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 5 เล่ม โอนเงินแล้วเมื่อ 23.92552/
    11.คุณเมตตา <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->(ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง 10 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    12.เจ้าของวัดไ..... จอง 5 เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน
    13.คุณchai wong<SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_", true); </SCRIPT> <!-- google_ad_section_end -->จอง 1 เล่ม โอนเงินแล้ว 500 บาท และค่าจัดส่ง 100 บาท เมื่อ 26.92552/
    14.คุณkiitii จอง 2 เล่ม โอนเงินแล้ว 1,000 บาท และค่าจัดส่ง 200 บาท เมื่อ 28.92552/ และร่วมทำบุญร่วมสร้างพระเจดีย์ศรีชัยผาผึ้งอีก 300 บาท

    15.
    16.
    17.
    18.
    19.
    20.คุณ<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->sithiphong (ชมรมรักษ์พระวังหน้า) จอง ....... เล่ม ยังไม่ได้โอนเงิน

    รวมจำนวน 37 เล่ม

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG]


    โมทนาสาธุครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->

    <!-- google_ad_section_end -->
    หมายเหตุ มาสอบถามท่านสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้าทุกๆท่าน

    หากชมรมจะบริจาคในการจัดพิมพ์ครั้งนี้ ทุกๆท่านคิดเห็นอย่างไร และควรจะบริจาคเท่าไหร่ ยอดเงินในบัญชีปัจจุบันมีอยู่จำนวน 15,732.34 บาทครับ

    หมายเหตุ1. หนังสือจะเริ่มการจัดพิมพ์ประมาณต้นเดือนตุลาคม คาดว่าแล้วเสร็จประมาณต้นหรือกลางเดือนพฤศจิกายน 2552 นี้ครับ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
     
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    .
    <TABLE class=tborder id=threadslist cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY id=threadbits_forum_179><TR><TD class=alt1 id=td_threadtitle_22445 title="" style="CURSOR: default">พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้..... (72 คน กำลังดูอยู่) ([​IMG] 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 ... หน้าสุดท้าย)
    [​IMG] sithiphong
    </TD><TD class=alt2 title="จำนวนตอบ: 33,978, จำนวนอ่าน: 979,049">
    วันนี้ 12:22 PM
    โดย sithiphong [​IMG]
    </TD><TD class=alt1 align=middle>33,978</TD><TD class=alt2 align=middle>979,049</TD></TR></TBODY></TABLE>

    เรียนท่านที่เข้าชมกระทู้พระวังหน้าฯทุกท่าน

    หากกระทู้พระวังหน้าฯ มีจำนวนการคลิ๊กเข้าชมกระทู้ เกิน 1,000,000 ครั้ง ก่อนวันที่ 3 ตุลาคม 2552 นี้

    ผมจะนำรูปที่ผมคิดว่า ทุกๆท่านเห็นแล้วจะต้องตกตะลึง นำมาให้ได้ชมกัน

    แต่หากว่า จำนวนการคลิ๊กเข้าชมกระทู้ เกิน 1,000,000 ครั้ง หลังวันที่ 3 ตุลาคม 2552 ผมขอไม่นำมาลงให้ชมครับ

    ส่วนสมาชิกชมรมรักษ์พระวังหน้า ไปชมองค์จริงๆได้ในวันงานใหญ่ปลายปีนี้ครับ

    .
     
  18. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ่า.....กา-ตุ้นจริงๆนะครับท่านเลขา จะกระตุ้นก่อนวันคาดการณ์ตั้ง 20กว่าวัน เชียวครับ หุ หุ
     
  19. จเรกระบี่

    จเรกระบี่ สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2009
    โพสต์:
    7
    ค่าพลัง:
    +3
    ขอให้บอกวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งชมรมอย่างละเอียดด้วย ขอบคุณครับ
     
  20. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    ลองตามไปอ่านย้อนหลังดูนะครับ หน้าประมาณ 1566 แล้วจะพอทราบว่าเราทำอะไรกันอยู่ครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...