การปฏิบัติสมาธิและวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อเข้าถึงความเป็นพุทธะ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย พลน้อย, 11 กรกฎาคม 2009.

  1. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ใช่ครับ อายตนะภายในก้มี ไม่รู้ว่าพวกนี้ที่พุดว่าดูจิตๆๆๆๆๆ

    ได้เคยเห็นบ้างรึยัง
     
  2. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    คุณจินนี่กล่าวชอบแล้วอนุโมทนา ในธรรมที่เป็นธรรม สาธุ
     
  3. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    <TABLE class=tborder cellSpacing=1 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=thead>ขณะนี้มีคนกำลังดูกระทู้นี้อยู่ : 5 คน ( เป็นสมาชิก 4 คน และ บุคคลทั่วไป 1 คน ) </TD><TD class=thead width="14%"><CENTER>[ แนะนำเรื่องเด่น ] </CENTER></TD></TR><TR><TD class=alt1 width="100%" colSpan=2>วิมุตติ, albertalos, ลีลาวดี </TD></TR></TBODY></TABLE>
    พี่อัลเบิร์ตทาลอสดูเหมือนจะสับสนในชีวิตอยู่หรือเปล่าครับ

    ถ้าขันธ์คือจิต แล้วจิตหลุดพ้นมันเป็นยังไงครับ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กรกฎาคม 2009
  4. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ๑. สักกายทิฏฐิ - สักกาย มีความหมายว่า กายแห่งตน,เรื่องของกายตน, ส่วนทิฎฐิ มีความหมายว่า ความคิด,ความเห็น,ความเชื่อ ในที่นี้มีความหมายว่าความเห็นผิดเชื่อผิด อันเป็นปรกติของปุถุชนด้วยอวิชชาอันย่อมมีมาแต่การถือกำเนิดเป็นธรรมดา กล่าวคือ จึงย่อมมี สักกายทิฏฐิ ซึ่งมีความหมายว่า ความคิดหรือความเห็นความเข้าใจหรือความเชื่อในเรื่องกายว่าเป็นตัวตน หรือเป็นของตัวของตนอย่างแท้จริง(สักกายสมุทัย)โดยไม่รู้ตัวเป็นไปโดยธรรมหรือธรรมชาติ, ความเห็นว่าเป็นตัวของตน จึงเป็นเหตุให้ถือตัวตน เช่น เห็นรูปว่าเป็นตน เห็นเวทนาว่าเป็นของตน กล่าวคือ เพราะย่อมยังไม่มีความเข้าใจอย่างมีสติสัมปชัญญะในความเป็นเหตุเป็นปัจจัยจึงเกิดขึ้นได้เท่านั้นของสังขาร จึงไม่เคยรู้ ไม่เคยระลึก ไม่เคยพิจารณา จึงย่อมไม่มีเครื่องรู้เครื่องระลึกเครื่องเตือนสติ จึงไม่เกิดสัมมาปัญญาหรือญาณอย่างน้อมยอมรับว่า ตัวตนหรือรูปกายของตนนั้นไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนอย่างแท้จริง สักแต่ว่าเกิดมาแต่การประชุมปรุงแต่งกันขึ้นของเหตุปัจจัยของธาตุ๔ หรือชีวิต(ชีวิตินทรีย์)ที่มีร่างกายตัวตนก็สักแต่ว่าเกิดแต่เหตุปัจจัยของขันธ์ทั้ง ๕ หรือเบญจขันธ์ หรือสังขารร่างกายล้วนเป็นไปตามพระไตรลักษณ์ เหมือนดังสังขารทั้งปวงที่ต่างล้วนต้องเกิดมาแต่การที่มีเหตุต่างๆมาเป็นปัจจัยกัน หรือประชุมปรุงแต่งกันขึ้นมาเพียงชั่วสักระยะหนึ่ง จึงล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่อย่างแปรปรวน แล้วดับไปเป็นธรรมดา ไม่เป็นอื่นไปได้ จึงล้วนเป็นอนัตตา คือไม่มีตัวมีตนอย่างเป็นแก่นแท้จริง เมื่อไม่มีตัวตนจึงย่อมไม่ใช่ของตัวของตน หรือของใครๆได้อย่างแท้จริง แต่ด้วยอวิชชาดังนั้นจึงมีความคิดความเห็นอย่างยึดมั่นยึดถือโดยไม่รู้ตัวอยู่ภายในอยู่ตลอดเวลาใน รูปขันธ์(กายตน) ตลอดจนในเวทนา ในสัญญา ในสังขาร ในวิญญาณ ว่าเป็นตัวตนของตนหรือเป็นส่วนหนึ่งของตัวตนของตนอย่างเชื่อมั่นหรือรุนแรงตามที่ได้สั่งสมอบรมมาแต่ทารกโดยสัญชาตญาณ(ความรู้ที่มาแต่การเกิดเป็นธรรมดา)โดยไม่รู้ตัวหรืออวิชชา, เพราะความไม่รู้และไม่รู้เท่าทันว่าตัวตนหรือกาย(รูปขันธ์)ก็สักแต่ว่าประกอบด้วยเหตุปัจจัยของธาตุทั้ง ๔ หรือชีวิตก็เป็นเพียงเหตุปัจจัยของขันธ์ทั้ง ๕ จึงเป็นสังขาร จึงย่อมมีความไม่เที่ยง(อนิจจัง) และคงทนอยู่ไม่ได้(ทุกขัง) เป็นอนัตตาที่ไม่ใช่ตัวใช่ตนของเราอย่างแท้จริง เป็นเพียงมวลหรือก้อนของเหตุปัจจัยคือธาตุ ๔ ที่ประชุมปรุงแต่งเป็นปัจจัยกันขึ้น จึงขึ้นอยู่กับธาตุ ๔ ไม่ขึ้นอยู่กับตัวตนที่หมายถึงเราหรือของเราแต่อย่างใด เพียงแต่เป็นมายาจิตหลอกล่อให้เห็นว่าเป็นเราหรือเป็นของเรา ทั้งๆที่เป็นหรือเกิดแต่เหตุปัจจัย จึงขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัยทั้งสิ้น, และไม่รู้และไม่รู้เท่าทันอีกว่า เวทนา, สัญญา, สังขาร, วิญญาณ หรือขันธ์ที่เหลือทั้ง ๔ ก็เช่นเดียวกัน ต่างก็ล้วนเป็นเพียงสังขารเช่นกันทั้งสิ้น จึงเกิดแต่เหตุปัจจัยมาประชุมกัน จึงเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วดับไปเช่นกัน ล้วนแล้วแต่ไม่ใช่เป็นตัวตนของตน หรือเป็นส่วนหนึ่งของตัวตนของตนอย่างแท้จริง ดังนี้เป็นต้น จึงไม่มีเครื่องรู้ เครื่องระลึก เครื่องเตือนสติ ให้เกิดนิพพิทา ให้คลายความยึด, ความอยาก, ความกังวลหรือความหลงใหลในกายสังขารตน หรือขันธ์ ๕ อันเป็นที่หวงแหนยิ่งเหนือสิ่งใดโดยไม่รู้ตัว อันเป็นบ่อเกิดของอุปาทาน - ความยึดมั่นพึงพอใจในตัวตนหรือของตนด้วยกิเลสในขั้นต้นของปุถุชนทั่งปวงโดยทั่วไป
    การเจริญวิปัสสนาเพื่อถอดถอนสักกายทิฏฐิย่อมต้องอาศัยพื้นฐานจากการพิจารณาหรือโยนิโสมนสิการในความเป็นเหตุปัจจัยให้เห็นอย่างแจ่มแจ้ง ดังจากอิทัปปัจจยตา, ปฏิจจสมุปบันธรรม(อันพึงเกิดขึ้นจากการพิจารณาปฏิจจสมุปบาทนั่นเอง), ขันธ์ ๕(การเห็นการเป็นเหตุปัจจัยของขันธ์ทั้ง ๕ หรือกระบวนธรรมของขันธ์ ๕), พระไตรลักษณ์ ฯลฯ. อันพึงเจริญตามจริต สติ ปัญญา ฯ. เพียงแต่ว่าต้องเป็นไปในลักษณะของการเจริญวิปัสสนาด้วยปัญญาอย่างจริงจัง ให้เห็นเข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผล จนเห็นความเป็นเหตุเป็นปัจจัยในที่สุดนั่นเอง
    เมื่อไม่รู้ ไม่เข้าใจถึงกายและตัวตน เป็นเพียงสมมติสัจจะ ที่แม้อาจถือว่าจริงแต่ก็จริงเพียงระดับหนึ่งหรือจริงเพียงชั่วระยะหนึ่ง ที่ล้วนเกิดมาแต่เหตุปัจจัย จึงเป็นเพียงสังขารชนิดหนึ่งภายใต้พระไตรลักษณ์ จึงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาไม่มีตัวตนอย่างเป็นแก่นแกนแท้จริง, กล่าวคือไม่เข้าใจความเป็นเหตุปัจจัยหรือปฏิจจสมุปบันธรรม จึงไม่เข้าใจสังขาร(สิ่งปรุงแต่งในพระไตรลักษณ์) ๑ จึงไม่เข้าใจพระไตรลักษณ์และอนัตตา๑ จึงย่อมไม่สามารถนำไปน้อมนึกคิดพิจารณาให้เกิดปัญญาญาณอย่างแจ่มแจ้งตามจริงหรือปรมัตถ์ได้ในสักกายนิโรธ

    ไม่แปลกที่พวกคุณไม่เข้าใจใน ขันธ์ ยังไม่เห็น จิต ไอย่างแตกฉาน แต่ทาง แห่งการเห้น
    หรือทางแห่งปัญญา นั้นก้คือสติปัฐฐาน 4 พวกคุรฝึกดูแต่ผลมันยังไม่เกิดก้เลยไม่รู้
    ความไม่รู้ยังอยู่ก้เพราะปัญญายังไม่เกิด เมื่อปัญญายังไม่เกิดแล้วคุนจะเห็นมันได้ยังไง
    ตรงนี้ผมเข้าใจ
     
  5. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    มีใครคุยด้วยแล้ว รู้เรื่องไหมเนี่ย ผมเริ่มจะงงเองแล้วนะ
    ไม่น่าเลย เอาสติ สติ กลับมา เฮ้อ
     
  6. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    คำว่าสติปัฎฐานสี่นี่พูดง่าย แต่ทำกันไม่ค่อยถูกนะ
    ถ้าทำถูกคงเกิดญาณไปตามลำดับ ไม่มีอะไรให้สับสนหรอก...
     
  7. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    จิตที่หลุดพ้น คือจิต ที่ปราศจากกิเลสครับ

    ขันธ์ นั้น มีอาการเกิดดับๆๆ อยุ่แล้วตรงนี้ต้องใช้ปัญญาพอควรที่จะเห็นอย่างชัดเจนในการเกิดดับที่ไม่ใช่สัญญา

    คราวนี้ต้องรู้ก่อนว่าขันธ์นั้นคืออะไร
    มันคือกายและจิตนั่นเอง

    จิตที่หลุดพ้นนี่ คือหลุดพ้นจากกิเลส

    อย่าลืมไปว่าจิตนี้เป้นส่วนหนึ่งของขันธ์นะ ในส่วนของนาม ธรรม

    อาการหลุดพ้นจากกิเลสเป็นอย่างไรต้องรู้อาการของจิตก่อน

    อาการของจิต เป็นตามกดไตรลักษณ์ แต่ตรงนี้ต้องมีปัยญามากพอจะเห็นชัด

    แต่หากดูไม่ชัดจะขอชี้ที่ กาย กายอยู่ภายนอกเห็นได้ชัดกว่า
    ส่วนของ ขันธ์ ที่เป็นรูปนั้นคือ กาย กายนี้มีอาการเกิดขึ้นด้วยผลของกรรม
    ตั้งอยู่อยู่อำนาจของกรรม และดับไปก้ด้วยอำนาจของกรรม
    กดของไตรลักษณ์เกี่ยวยังไง เกี่ยงตรงที่ กายนี้มี ตั้งขึ้น แต่เป็นอนิจจัง คือมันไม่เที่ยง มันไม่คงทน กายนี้เป็นทุข เป็นทุขเพราะอะไรเพราะมันทนอยู่ไม่ได้มันต้องเปลี่ยนแปงไป ตรงนี้น่าจะเห็นความเปลี่ยนแปลงได้ง่ายนะเราเห็นกายกันเยอะอยุ่แล้ว ต่อมากายนั้นเป็นอนัตตาตรงไหน ตรงมันไม่มีตัวตนนี้แหละ ทำไมบอกมันไม่มีตัวตนล่ะ ก้นี่ไงยังเห้นอยู่เลยบอกไม่มีตัวตน มันมีตัวตนเพราะว่ามันประกอปกันขึ้นจากธาตุทั้ง 4 และมันไม่คงทนถึงเวลาตามอำนาจของกรรมมันก้ดับไปแตกออกจากันสลายไป อันนี้ในส่วนของรุปที่เราเห็นง่าย

    คราวนี้ส่วนของจิตบ้าง ติคนั้นเป็น ขันธื ในส่วนนาม นามขันธ์ นี้มี 2ส่วน
    1 ส่วนของจิต มีผู้รู้ คือวิญญาณ วิญญาณ มีอาการ รู้ มีอายตนะภายนอก ตาหู จมูก ลิ้น กาย มีอายตนะภายใน มโนวิญญาน
    2ส่วนของเจตสิก ส่วนที่ปรุงแต่งจิต มีเวทนา สัญญา สังขาร

    ทั้งหมดนี้ในส่วนของจิต มีอาการเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปทั้งสิ้น แต่ดูยากกว่ากายตรงที่เราไม่เหนด้วยตา แต่เราเห็นด้วย มโนวิญญาน
    หรืออายตนะภายใน ตัวมโนวิญญาน นี้แหละที่รู้ว่า เวทนา สันยา สังขาร มีอาการอย่างไร ตัวมโนววิญญานนี้จึงเป็น ผู้ รู้ รู้อาการของ เวทนา สันยา และสังขาร

    คราวนี้เรารู้ถึงอาการของขันธืกันแล้ว ขันธ์เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

    เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร
    เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ
    เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป
    เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ
    เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ
    เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา
    เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา
    เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน
    เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
    เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ
    เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส
    เป็นอันว่ากองทุกข์ทั้งมวลนั่นย่อมเกิด ด้วยประการฉะนี้

     
  8. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    ถ้างั้น
    คุณช่วยอธิบายในสิ่งที่คุณเข้าใจในแนวทางในการปฏิบัติของคุณหน่อยซิครับ
    คุณวิมุุตติ ผมไม่เอาตำราแล้ว ผมอยากฟังจากตำราที่มีชิวิต ขอรับ
     
  9. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    คราวนี้ตัวปัจจัยนี้แหละที่ทำไห้ก่อเกิดสิ่งต่างๆๆ ขึ้น เมื่อ ดับตัวปัจจัยได้ คือ อวิชา จิต จึงหลุดพ้น พ้นจากอวิชา
     
  10. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ผมต้องขอดทดที่พูดสิ่งที่ไม่ควรพูดไป เพราะมันต้องให้จิตคุรได้เห็นเองของอย่างนี้ไห้บอกเท่าไรห่ไม่เห้นเองก้บรรลุตามเค้าไปไม่ได้
     
  11. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ผมไม่ได้สับสนในแนวทางของพระตถาคตเจ้าเลยนะ แถมยังเห็นว่ามันตรงและถูกทางที่สุดแล้วด้วยในการที่จะพาตัวไห้พ้นภัย
     
  12. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    อทิบายเป้นกระบุงก้ไม่อ่าน นั่งจ้องอ่านแต่เรื่องที่เค้าเถียงกัน
    เค้าเรียกว่า ... แต่ผมใช้คำว่ามั่ว ท่าจะสนทนาก้ควรจะตั้งคำถามหรือแสดงทัศนะไม่ใช่

    คุรไปเอากระจกบานไหย่ส่อง พูดลอยไปลอยมาเหมือน อากาศ ไร้สาระไร้ความหมาย
     
  13. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    ทุกท่านคนทราบดีว่า อุปาทานขันธ์ห้าคือตัวทุกข์
    ถ้าจิตคือนามขันธ์ แปลว่าจิตคือตัวทุกข์ด้วยหรือไม่?
    ส่วนจิตที่หลุดพ้นนั้น ย่อมหลุดพ้นจากอุปาทานขันธ์ ซึ่งเป็นตัวทุกข์ แล้วจิตจะเป็นนามขันธ์ไปได้อย่างไร?
    ความจริงจิตกับขันธ์นั้นคนละส่วน คำว่าจิตหลุดพ้น ก็คือหลุดพ้นจากพันธนาการที่มีต่อขันธ์ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ขันธ์จะเป็นอย่างไรก็เรื่องของขันธ์ ไม่เกี่ยวกับจิต
    ผมขอกล่าวเพียงเท่านี้ ตอนนี้เพลียมาก ขอพักผ่อน...
     
  14. Amoxcycol

    Amoxcycol Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    296
    ค่าพลัง:
    +65
    อันนี้วิญญาญ ทางตาเห็นครับ แต่จิตมันรู้ แต่แปลไม่ออก อายตนะกระทบไม่สมบูรณ์ สื่อได้แต่วิญญาญ จิตมันวางเฉย ปรุงต่อนิด กิเลิศสั่งให้พิมพ์
    บอกว่าไม่รู้เรื่อง
     
  15. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ครับเด้กอนุบาล ยังไม่ได้เป็นเด้กวัดเลยนะดูจิตแบบนี้อ่ะ ยังไม่ถึงนามจิตที่เกิดดับเลย ยังอีกไกล
     
  16. เกสท์

    เกสท์ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    765
    ค่าพลัง:
    +18
    คุณนี่มั่วอีกแล้วนะ

    ธรรมมารมณ์ กระทบ จิต เกิดเป็นมโนวิญญาณ

    จิต คือ ผู้รู้ อยู่ตลอดเวลา
    แต่ มโนวิญญาณ เกิดขึ้นแล้วดับไป

    แต่ผู้รู้คือจิตรู้อยู่ตลอดเวลา
    ไม่ได้เกิดดับเหมือนขันธ์

    เข้าใจไว้ด้วย
    อย่ามาแสดงอะไรมั่ว ๆ แบบนี้ มันน่าอาย

    คุณนี่คำก็ปัญญา สองคำก็ปัญญา
    แต่ปัญญาจริง คุณยังไม่รู้จักเลย

    ถ้าผมไม่รู้จริงผมบอกไม่ได้หรอกนะ
     
  17. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ครับเห็นอย่างไร ด้วยปัญญานะ ก้เชื่ออย่างนั้น ตามกาลมสูตรล่ะครับ
    การเห้นแต่ละคนไม่เท่ากันไม่งั้นฟังธรรมครั้งเดียวก้บรรลุกันหมด
    เชิญนอนเถอะครับเสวนาไปก้ไร้ประโยชน์
     
  18. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ไม่ได้บอกคุณ คุณไม่มีปัญญาขั้นนี้อย่ามาย่ง
     
  19. albertalos

    albertalos เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2006
    โพสต์:
    2,462
    ค่าพลัง:
    +1,137
    ผมระบุแล้วนี่นาว่าบอกใคร
     
  20. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    คุณเชื่อไหม? การอธิบายใดๆ มันก็ไม่ต่างกับตำราที่มีมานัก
    การปฏิบัติมันต้องลองให้รู้ ดูให้ชัด ถ้าทำถูก ผลมันจะปรากฎให้เห็น
    แต่เราก็ยังไม่แน่ใจ จนกว่ามรรคญาณจะเกิด
    อย่างไรก็ตาม มันจะมีตัวปัญญาที่บอกได้ว่า นี่ใช่ นี่ไม่ใช่
    ท่านผู้รู้ทั้งหลายจึงพูดกันบ่อยๆว่า เป็นปัจจัตตัง มันเป็นอย่างนั้นจริงๆ
    เช่น จิตตานุปัสสนา ก็คือดูจิตส่วนหนึ่ง แต่คุณก็เห็น ว่าตีความกันไปได้ต่างๆนานา
    ของแบบนี้ต้องคลำทางเอาเอง โดยมีครูที่เป็นอริยะคอยชี้แนะและตรวจสอบกันสม่ำเสมอ...โชคดีขอรับ...
     

แชร์หน้านี้

Loading...