กรรมของชาวไทยปัจจุบันและวิธีแก้ไข

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย aero1, 3 ธันวาคม 2008.

  1. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    หากมีคนตั้งคำถามว่า "กรรมอะไรหนอ ชาวไทยถึงได้พบกับความวุ่นวายอย่างนี้ " ตอบ กรรมเกิดจากเรื่องเงินที่ได้มาโดยมิชอบผลกรรมก็ต้องชดใช้ด้วยการอึดอัดจากการกระทำอันมิชอบที่มีที่มากับเรื่องเงิน และความเข้าใจผิดในส่วนของสภาวะโพธิสัตว์ โดยรับความโน้มเอียงจากนิกายมหายานฝังรากลงในจิตวิญญาณแทนที่เถรวาทอันมีจุดยืนคือการไม่เปลี่ยนแปลงพุทธบัญญัติ และกลายพันธ์เป็น กายเป็นเถรวาท แต่พฤติกรรมเป็นมหายาน ส่งผลให้เกิดการกร่อนพุทธดำรัสซึ่งเป็นบาปกรรมไม่เล็กน้อย

    ปัญหาในแง่ จริยธรรมเนี่ยล่ะครับเป็นรากปัญหา มากกว่า 60 %ของชายไทยที่เคยบวช และก็ยังงงอยู่ว่าสอนให้ถือศีลแต่ทำไมยังรับเงินได้ มันได้แทรกลงไปในจิตได้สำนึกว่ามีความชอบธรรมซ่อนอยู่ใน จริยธรรมอันบิดงอ หรือมีจริธรรมจากปากแต่สามารถทำได้โดยสกปรก มันจึงเป็นบ่อเกิดปัญหาทั้งมวล สมัยที่ข้าพเจ้าเรียนรัฐศาสตร์ สรุปการแก้ปัญหาบ้านเมืองอยู่ที่ การศึกษา เพื่อให้ประชาชนเข้าใจ ระบบประชาธิปไตยเพื่อลดบทบาทและ/หรือทำความเข้าใจที่ถูกควรของ ระบบอุปถัมภ์อันนำมาซึ่งการซื้อเสียง แต่ไม่ใช้เท่านั้นยังต้องปลูกจิตสำนึกให้เห็นคุณค่าจริยธรรม ซึ่งตรงนี้ชัดเจนว่าทำไม่ได้ครับ เพราะ ตราบใดที่พระไทยส่วนใหญ่ยังรับเงินและยังไม่ปฏิบัติตามศีล 150 ข้อหลัก ชาวบ้านไม่สนหรอกครับในจิตใต้สำนึกเพราะผู้นำทางจิตวิญญานหรือพระเอง ตอบโจทย์ข้อนี้เป็นนัยๆๆ อยู่แล้วดังกล่าวคือ แม้เณรน้อย พระก็ว่ากล่าวไม่ได้...จึงสรุปลงมาที่การไม่กล่าวว่าใครเป็นสิ่งดี มันจึงกลับตาลปัตร ไปกันใหญ่ ของสังคมไทย

    อีกประเด็นของการความเบี่ยงเบนของชนในชาติ คือ จิตบุคคลที่รับเอาสัทธรรมปฏิรูป มีอาการของการปรารถนาสภาพโพธิสัตว์ ซึ่งในสมัยที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ นั้น แม้เหล่ามดแมลงก็ ปรารถนาความเป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งต้องยอมรับในที่นี้ว่าความหลงนั้นเองที่ชักนำให้มีความคิดเช่นนั้น เพราะความหลงนั้นแหละที่ทำจิตติดสังสารวัฏ และในสมัยปัจจุบันบุึคคลที่หลงดีอย่างสุดๆ ติดในดีสุด ก็อาจเกิดสภาพนี้ คือปรารถนาความเป็นโพธิสัตว์ซึ่งไม่ใช่คำสอนพุทธเจ้า เหตุเพราะธรรมเหล่านั้นเป็นใบไม้นอกกำมือที่พระองค์ทรงตรัส ฉะนั้นยุคนี้คือยุคถิ่นกาขาว คือยุคที่ พระโพธิสัตว์มากเหลือหลาย แต่จะมีสักกี่ดวงล่ะที่เป็นปรารถนามาอย่างแน่วแน่ และพอจะมีทางออก สังคมไทยยกเอา ท่านเทวทัต ออกมาเป็นสัญลักษณ์ของความหยาบช้า อย่าลืมว่า ท่านเทวทัตคือ ปัจเจกโพธิสัตว์พยากรณ์ หมายถึงท่านขึ้นจาก อเวจีและจะตรัสรู้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าเมื่อใกล้สิ้นกัป ทางมีอยู่แล้วไม่เดิน มัวหลงเข้าป่าเข้าพง ลังแต่จะนำพาให้กร่อนพุทธดำรัส วินัยบัญญัติมากขึ้นทุกวัน...


    จากเหตุดังกล่าวส่งผลให้เกิด สภาพการเบี่ยงเบนของบุคคลากรในพุทธศาสนา คือเกิดการประนอมแม้ วินัย คำสอนพระพุทธองค์ เพื่อความสะดวกในการขนคนได้มากได้เยอะ รับเงิน รับทองโดยผิดวิธี เพื่อบำรุงพระศาสนา... ! สิ่งเหล่านี้แหละที่เป็น ขุยไผ่ทำลายต้นไผ่เอง

    หากจะกล่าวถึงความเบี่ยงเบนนี้ก็ต้องยกเอาความเบี่ยงเบนที่เห็นชัดที่สุดคือเรื่องเงิน หากมีคนตั้งคำถามว่าถวายเงินให้พระบาปไหม?

    ตอบว่า เป็นส่วนผสมบุญและบาป บุญเกิดจากจิตที่ได้สละ บาปเกิดจากความปัญญาน้อยนำมาซึ่งโมหะวิบาก และวิบากในส่วนการสนับสนุนให้เกิดการกร่อนพุทธดำรัส

    ทางแก้ ศึกษาให้ออกว่าควรทำอย่างไร ? ให้ถูกต้อง...วิธีการที่จะถวายเงินที่ถูกต้องมีอยู่ และก็อย่าไปโฆษณาว่า "อย่าถวายเงินพระ" แต่หากต้องถวายให้ถูกต้องตามพุทธดำรัส ประโยชน์จะเกิดมหาศาลทั้งประโยชน์ตน ประโยชน์ท่าน,เพื่อประโยชน์ทางโลกและธรรม นี่การทำบุญของผู้มีปัญญา

    ข้อควรพิจารณา เงินก็เงินอย่าไปเรียกปัจจัยคนละเรื่อง ปัจจัยนั้นมีแค่ปัจจัย 4 เท่านั้น แต่ทีี่ใช้กันทุกวันนี้เพราะต้องการหาช่องทางถูกต้องให้กับความสบายใจโง่ๆ เป็นความมักง่ายของ ผู้รับและผู้ให้

    มีเรื่องเล่าให้ฟังเรื่องนึง พระรูปนึงบิณฑบาต โยมสตรีท่านนึงก็ถวายบาตร และก็ยืนซองให้ ท่านก็ปฏิเสธการรับอันเป็นไปตามพระไตรปิฎกว่าต้องปฏิเสธการรับ แต่โยมก็ยังดึงดันที่จะถวาย พระท่านจึงกล่าวว่า ให้ตามเข้าไปในวัดแล้วจึงเดินจากมาในขณะที่พระที่มาจากวัดอื่นเกือบจะวิ่ง เข้า รับบาตร และกล่าวอีกว่าออเห็นเป็นเงิน 20,100 ละซิถึงไม่รับ ถ้าเป็นเงิน 10,000/100,000 คงไม่ปฏิเสธ

    วันต่อมาพระองค์เดิมก็ บิณฑบาตตามปกติ โยมท่านนี้ก็หาทางแก้ใหม่โดยใช้ถุงสีทึบใส่อาหารและใส่เงินไว้ในถุงอาหารที่ ผนึกผูกไว้ ท่านเห็นดังนั้นจึงไม่รับบาตร และเดินเลี่ยง ถึงวัดจึงกล่าวกับลูกศิษย์ว่าอีกหน่อยคงใส่แบงค์ปั่นผสมข้าวให้พระฉันแน่ แล้วยิ้มๆ


    บางท่านที่ชอบกล่าวว่าโลกสมัยนี้มันเปลี่ยนไปแล้ว พระต้องใช้เงิน เดินทางจะทำอย่างไร เจ็บป่วยจะทำอย่างไร

    โปรดศึกษาใหม่อย่าเป็นพุทธแต่ในทะเบียนบ้าน เงินไม่่ใช่พึ่งมี การใช่เงินไม่ใช่พึ่งมี การเดินทางโดยใช้เงินมีมานานแล้ว การใช้เงินรักษาการเจ็บป่วยมีมานานแล้วและสำคัญที่สุดพระพุทธองค์บอกไว้ชัดในการดำรงค์เพศบรรพชิตว่าคืออะไร ให้ทำอะไรอย่างไร โดยชัดเจนในพระวินัยปิฎก อันเป็นพุทธกิจของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ต้องทำคือบัญญัติพระวินัย และสามารถใช้ได้จนหมดพระศาสนา

    คำเขียนเรื่องกรรมของบ้านเมืองนี้ข้าพเจ้าไม่ได้ หมายเอาเฉพาะว่า เป็นความผิดของใครฝ่ายเดียวฝ่ายหนึ่ง แต่หากกรรมมันเกิดเป็นวงจรที่ไม่สามารถบอกเบื้องต้นเบื้องปลายที่แน่นอน อีกทั้งเพราะมันมีอนุวงจรซ้อนกันอยู่อีก อันนี้เป็นไปตามหลักพิจารณาปัญหาที่ซับซ้อนมากๆเพื่อที่จะหาแนวทางแก้ไข สมดังที่พระพุทธองค์แสดงเป็นตัวอย่างไว้แล้วในปฏิจมุปบาท จึงสรุปลงถ้าจะแก้ต้องแก้ที่สาเหตุอันจะกล่าวในเบื้องหน้านี้



    [​IMG]


    [​IMG]หลักธรรมที่ใช้ในการพิจารณาแนวทางแก้ไข

    1.กรรม 12 ในส่วนของ
    ลำดับความแรงในการให้ผลกรรม
    2.บุญกริยาวัตถุ 10
    { หมวดที่ 3 ว่าโดยปากทานปริยาย คือ จำแนกตามความยักเยื้องหรือลำดับความแรงในการให้ผล (classification according to the order of ripening)
    9. ครุกกรรม (กรรมหนัก ให้ผลก่อน ได้แก่ สมาบัติ 8 หรือ อนันตริยกรรม ; weighty kamma)
    10. พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม (กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองจากครุกกรรม ; habitual kamma)
    11. อาสันนกรรม (กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย คือกรรมทำเมื่อจวนจะตาย จับใจอยู่ใหม่ๆ ถ้าไม่มี 2 ข้อก่อน ก็จะให้ผลก่อนอื่น ; death threshold kamma; proximate kamma)
    12. กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม (กรรมสักว่าทำ, กรรมที่ทำไว้ด้วยเจตนาอันอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้นโดยตรง ต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผลแล้วกรรมนี้จึงจะให้ผล ; reserve kamma; casual act)}*
    หากเราวิเคราะห์จากหลักกรรมที่จำแนกลำดับตามความแรงของการให้ ผลแล้ว โดยมีหลักของเวลาในการส่งผลดังนี้ จะเห็นได้ว่า กรรมบ้านเมือง ณ วันนี้เกิดจากพหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม (กรรมทำมากหรือกรรมชิน) เพราะคงไม่ใช่กรรมตัวที่เหลือเช่น ครุกรรมเพราะเป็นไปไม่ได้ว่า ชนในชาติตอนนี้ทั้งหมดร่วมทำครุกรรมกันมา ฉะนั้นเมื่อเราวิเคราะห์ได้ดังนี้ เราสามารถมีแนวทางแก้ไข 2 กรณี คือ
    1.ผลิตฌานสมาบัติเพื่อเติมกุศล(ถ้ามี) <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]เพราะเป็นครุกรรมซึ่งผลคือ[/FONT][FONT=&quot]ผลกรรมหรือวิบากกรรมจะแสดงผลก่อนกรรมชนิดอื่นตามหลักกรรมข้อ 9 ครุกกรรม (กรรมหนัก ให้ผลก่อน ได้แก่ สมาบัติ [/FONT][FONT=&quot]8 [/FONT][FONT=&quot]หรือ อนันตริยกรรม[/FONT]
    2.ถ้าข้อ 1 ทำไม่ได้ ก็ต้องทำกรรมย้อนเกล็ดเหตุเดิมที่ทำไว้ [FONT=&quot]คือทำกรรมที่มีชนิดเดียวกันคือเป็นพหุลกรรมเข้าไปแทนที่ ผลที่กำลังจะเกิดให้ต้านทานกันไว้ก่อน ตามหลักของกรรมดังกล่าว[/FONT][FONT=&quot]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->[/FONT]

    อันการทำบุญนั้นมี 10 แบบวิธี เรียกภาษาธรรมว่า บุญกริยาวัตถุ 10 ประกอบด้วย
    <sup>{๑. ให้ทาน แบ่ง ปันผู้อื่นด้วยสิ่งของ ไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญ (ทานมัย) การให้ทานเป็นการช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตัว ความคับแคน ความตระหนี่ถี่เหนียว และความติดยึดในวัตถุ นอกจากนี้สิ่งของที่เราแบ่งปันออกไปก็จะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดย ส่วนรวม </sup>
    <sup> ๒. รักษาศีล ก็ เป็นบุญ (ศีลมัย) เป็นการฝึกฝนที่จะ ลด ละ เลิกความชั่ว ไม่ไปเบียดเบียนใคร มุ่งที่จะทำความดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่นเป็นการหล่อเลี้ยงบ่มเพาะให้เกิดความดีงามและ พัฒนาคุณภาพชีวิตไม่ให้ตกต่ำ </sup>
    <sup> ๓. เจริญภาวนา ก็ เป็นบุญ (ภาวนามัย) การภาวนาเป็นการพัฒนาจิตใจและปัญญา ทำให้จิตสงบ ไม่มีกิเลส ไม่มีเรื่องเศร้าหมอง เห็นคุณค่าสิ่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง ผู้ที่ภาวนาอยู่เสมอย่อมเป็นหลักประกันว่า จิตจะมีความสงบ ชีวิตมีความสุข คุณภาพชีวิตดีขึ้น สูงขึ้น </sup>
    <sup> ๔. อ่อนน้อมถ่อมตน ผู้น้อย อ่อนน้อมถ่อมตนต่อผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ก็แสดงออกในความมีเมตตาต่อผู้น้อย และต่างก็อ่อนน้อมต่อผู้มีคุณธรรมรวมถึงการให้เกียรติ ให้ความเคารพในความแตกต่างซึ่งกันและกันทั้งในความคิด ความเชื่อและวิถีปฏิบัติของบุคคลและสังคมอื่น เป็นการลดความยึดมั่นถือมั่นในความเป็นตัวตน ก็เป็นบุญ (อปจายนมัย) </sup>
    <sup> ๕. ช่วยเหลือสังคมรอบข้าง ช่วยเหลือสละแรงกาย เพื่องานส่วนรวม หรือช่วยงานเพื่อนบ้านที่ต้องการความช่วยเหลือ ก็เป็นบุญ (ไวยาวัจจมัย) </sup>
    <sup> ๖. เปิดโอกาสให้คนอื่นมาร่วมทำบุญกับเรา หรือ ในการทำงานก็เปิดโอกาสให้คนอื่นมีส่วนร่วมทำ ร่วมแสดงความคิดเห็น รวมไปถึงการอุทิศส่วนบุญให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วด้วย ก็เป็นบุญ (ปัตติทานมัย) </sup>
    <sup> ๗. ยอมรับและยินดีในการทำความดี หรือทำบุญของผู้อื่น การชื่นชมยินดีหรืออนุโมทนาไม่อิจฉาหรือระแวงสงสัยในการกระทำความดีของผู้ อื่น ก็เป็นบุญ (ปัตตานุโมทนามัย) </sup>
    <sup> ๘. ฟังธรรม บ่ม เพาะสติปัญญาให้สว่างไสว ฟังธรรมะ ฟังเรื่องที่ดีมีประโยชน์ต่อสติปัญญา หรือมีประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตที่ดี เป็นความจริง ความดี ความงาม ก็เป็นบุญ (ธรรมสวนมัย) </sup>
    <sup> ๙. แสดงธรรม ให้ ธรรมะและข้อคิดที่ดีกับผู้อื่น แสดงธรรมนำธรรมะไปบอกกล่าว เผื่อแผ่ให้คนอื่นได้รับฟัง ให้เขาได้รู้จักวิธีการดำเนินชีวิตที่ดี เป็นเรื่องของความจริง ความดี ความงามก็เป็นบุญ (ธรรมเทศนามัย) </sup>
    <sup> ๑๐. ทำความเห็นให้ถูกต้องและเหมาะสม มี การปรับทิฏฐิ แก้ไขปรับปรุงพัฒนาความคิดเห็น ความเข้าใจให้ถูกต้องตามธรรม ให้เป็นสัมมาทัศนะอยู่เสมอ เป็นการพัฒนาปัญญาอย่างสำคัญ</sup><sup> ถือเป็นบุญด้วยเช่นกัน (ทิฏฐุชุกรรม)}*</sup><sup>๒</sup>
    <sup> </sup>
    <sup> </sup>
    แนวทางแก้ไขเบื้องต้นเนื่องจากข้อแรกทำไว้ผิด ข้ออื่นจึงจะบริสุทธิ์ไปไม่ได้เปรียบเหมือนกับการติดกระดุมผิดตั้งแต่เม็ด แรก ยกตัวอย่างเช่น เมื่อให้ทาน กับคณะที่ทุศีล ก็ต้องอยู่ใกล้ชิดคณะนั้นๆ รักษาศีลก็ไม่ตรง ภาวนาจึงผิดทาง อ่อนน้อมก็ผิดที่ผิดคน ช่วยเหลือก็ช่วยกันผิดๆ ชวนกันไปก็ชวนกันไปผิดๆ โมทนาก็ผิดๆ ฟังธรรมปฏิรูป แสดงธรรมก็เบี้ยวๆ ความเห็นจึงไม่มีทางถูกควรได้เลยเพราะจากที่กล่าวในเหตุของกรรมบ้านเมือง ตามกระทู้
    ฉะนั้นทางแก้จึงง่ายมากคือ การทำความเห็นให้ตรง และปรับท่าทีให้เป็นผู้กำหนดรู้ว่าจะแยบคายในการให้ทานที่ถูกต้องตามพุทธพจน์ดำรัส ฉะนั้นเมื่อทำได้ดังนี้ทาน จึงบริสุทธิ์ได้และข้อสำคัญบุญทั้ง 10 ชนิดจึงมีอันทำได้โดยปราศจากพิษ


    [​IMG]

    [​IMG]แนวทางแก้ไขในภาพรวมระยะยาว
    1.ให้ความสำคัญ วินัยปิฏก อันเป็นจุดยืนของเถรวาทที่จะไม่เปลี่ยนแปลงคำสอน

    2. ประชาชนควรศึกษาอะไรควรไม่ควรกับภิกษุ และชาวพุทธต้องรู้หน้าที่ชาวพุทธคือ ๑. เรียนพระไตรปิฎก ๒.ปฎิบัติ ๓.ทำให้เกิดผล ๔.ปรัปวาท หรือสามารถพูดอธิบาย พุทธวจนะตามเจตนารมณ์ เดิมได้

    3.ให้ความสำคัญแด่พระภิกษุสงฆ์ที่ประพฤติตามวินัย แท้ๆๆ

    4. ปฎิรูป การปกครองสงฆ์อันเป็นต้นตอและรากการศึกษาไทย อันนำมาให้เห็นถึง ความเบี่ยงเบน ระหว่างจริยธรรมที่เหมาะควรอย่างแท้จริง ไม่ใช้ปากว่าตาขยิบ เปรียบดั่ง สมภารยังไม่สามารถ ว่ากล่าวตักเตือน สามเณรน้อยได้เพราะ สมภารเองหรือพระภิกษุส่วนใหญ่ของประเทศ ที่กล่าวว่าเป็นเถรวาทบริสุทธิ์ยังรับเงินอยู่ เมื่อเป็นดังนี้ก็ไม่สามารถว่าใครได้ น่าเศร้าใจ

    วิเคราะห์วาระกรรมใหม่ในอนาคต มหาวิทยาลัยสงฆ์ขยายการศึกษาในทางโลกให้พระมีวุฒิการศึกษา ตรี โท เอก เรียนรวมกับฆราวาสทั้งผู้หญิงผู้ชาย กรรมจะตามมาคือวันนึง พระภิกษุจะขอเข้าไปนั่งในสภาอันทรงเกียรติ์บ้างเพื่อจริยธรรมจะได้เกิดทาง การเมือง...พุทธศาสนิกชนเลือกเอาจะสร้างกรรมแบบใดอยู่ที่ท่านเอง
    ความคิดที่ ภิกษุเหล่านั้นจะเข้าไปเล่นการเมืองก็คือ การต้องการรักษาพระพุทธศาสนาไว้ให้ยืนนานและต้องการให้เป็นที่ขยายขจายพุทธ ศาสนาให้ แพร่หลายเป็นวงกว้างของประชาชนชาวโลก ความคิดเหล่านี้เป็นความคิดที่ดี แต่ทว่า มันไม่ใช่พุทธประสงค์ การจะเผยแพร่ศาสนานั้นต่างจาก การเผยแผ่พระสัทธรรม คนละเรื่อง
    เผยแพร่ นั้นมันเกิดจากผู้หวังดีแต่ผิดหลัก เหตุเพราะเผยแพร่มันไม่ต่างจากแพร่เชื้อไปในตัว


    ในความจริง พระผู้มีพระภาคให้ภิกษุเรียนรู้ธรรมวินัย ปฏิบัติให้เห็นผลก่อน จึงเผยแผ่และการเผยแผ่นั้น ก็ไม่ได้เน้นเรื่องปริมาณ อีกข้อนึงคือการที่ท่านศึกษาปฏิบัติในธรรมอริยวินัย นี้แหละเป็นการเผยแผ่พระสัทธรรมไปในตัวอยู่แล้ว ไม่เห็นต้องเน้นปริมาณเข้าไปเป็นฝ่ายนิติบัญญัติหรือบริหารประเทศ เหล่านี้จึงเป็นความคิดดีและหวังดีที่มืดบอด
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    อ้างอิง : *๑,๒ พจนานุกรมพุทธศาสน์
    พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต)
    *๓ บุพสิกขาวรรณา




    ภาคผนวก: อธิบายพระวินัย *๓

    <o></o>

    [FONT=&quot]สิกขาบทข้อนี้เข้าใจคลาดเคลื่อนกันมากตรงที่ว่าคิด[/FONT][FONT=&quot]ว่าการกระทำในศาสนาเป็นเจตนาเป็นสำคัญ สิกขาบทเหล่านี้แม้ไม่มีเจตนาก็ผิด[/FONT][FONT=&quot]ฉะนั้นในที่นี่จึงขอยกเอาอธิบายจากหนังสือบุพพสิกขาวรรณาอันเป็นหนังสือ[/FONT][FONT=&quot]ซึ่งพรรณาไว้ได้ใกล้เคียงกับภาษาในปัจจุบันมากสุด โดยพระอมราภิรักขิต[/FONT] ([FONT=&quot]อมโร เกิด) เป็นผู้รจนาขึ้น ท้ายหนังสือบอกไว้ว่า เสร็จทั้งหมดในปีวอก[/FONT][FONT=&quot]พุทธศักราช ๒๔๐๓ นับเป็นปีรัชกาลที่ ๑๐ ในรัชกาลที่ ๔[/FONT]

    [FONT=&quot]ในรูปิยะ[/FONT][FONT=&quot]สิกขาบทที่ ๘ ความว่า ภิกษุใดรับเอง หรือให้เขารับ ซึ่งรูปิยะ[/FONT][FONT=&quot]คือเงินและทองที่เขาให้ หรือตกอยู่แห่งใดแห่งหนึ่ง ไม่มี เจ้าของหวงก็ดี[/FONT][FONT=&quot]ถือเอาเพื่อประโยชน์ตนเอง หรือยินดีรูปิยะที่ เขาเก็บไว้ให้ก็ดี[/FONT][FONT=&quot]รูปิยะนั้น เป็นนิสสัคคีย์ ต้องปาจิตตีย์ ทองรูป พรรณก็ดี ทองแท่งก็ดี[/FONT][FONT=&quot]เงินก้อนก็ดี เงินรูปพรรณก็ดี กหาปณะก็ดี มาสกทองแดง มาสทองเหลือง[/FONT][FONT=&quot]มาสกทำด้วยไม้ มาสกทำด้วยครั่ง ก็ดี และวัตถุอันใด ใช้ซื้อหา แลกเปลี่ยน[/FONT][FONT=&quot]ได้แทนเงิน ในประเทศใด ในกาลใด ดังเหรียญทองแดง ใช้แทนเงินในสยามประเทศนี้[/FONT][FONT=&quot]ก็ชื่อว่า เงินในประเทศนั้น ในกาลนั้น ทองและเงินเหล่านี้เรียกว่ารูปิยะ[/FONT][FONT=&quot]เป็น นิสสัคคิยวัตถุ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ที่เขาขัดแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ศิลาที่เป็นเครื่องประดับ แก้วประพาฬ แก้วทับทิม โมรา ข้าวเปลือก ๗ ประการ[/FONT][FONT=&quot]ทาสชาย ทาสหญิง ไร่นา ที่ดิน สวนดอกไม้ ผลไม้เป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]เหล่านี้เป็นทุกกฏวัตถุ ภิกษุถือเอาเพื่อตนเป็นทุกกฏ ด้าย ป่าน ผ้า ฝ้าย[/FONT][FONT=&quot]อปรัณณชาติ คือถั่วงาต่าง ๆ เภสัช มีเนยใส เนยก้อน เป็นต้น เหล่านี้[/FONT][FONT=&quot]เป็นกัปปิยวัตถุ ภิกษุถือเอาไม่เป็นอาบัติ ในนิสสัคคิยวัตถุ ภิกษุรับเอง[/FONT][FONT=&quot]หรือให้ผู้อื่นรับเพื่อตน หรือเขาเก็บไว้ให้ต่อหน้าว่า ของ[/FONT][FONT=&quot]นี้เป็นของผู้เป็นเจ้า หรือของนั้นอยู่ที่ลับหลัง เป็นแต่เจ้าของสละให้[/FONT][FONT=&quot]ด้วยกายและวาจา หรือด้วยกายวิการให้รู้ว่า เงินทองของข้าพเจ้ามีอยู่ ณ[/FONT][FONT=&quot]ที่โน้น เงินทองนี้ จงเป็นของท่านเถิด ดังนี้ ภิกษุไม่ห้ามเสียด้วย วาจา[/FONT][FONT=&quot]ก็ชื่อว่ายินดีรูปิยะที่เขาเก็บไว้ให้ เป็นนิสสัคคิยปาจิตตีย์ นับตาม[/FONT][FONT=&quot]วัตถุนั้น รูปิยะเป็นนิสสัคคีย์เช่นนี้แล้ว พึงเสียสละในท่ามกลางสงฆ์[/FONT][FONT=&quot]อย่างเดียว ด้วยคำว่า "อหํ ภนฺเต รูปิยํ ปฏิคฺคเหสึ [/FONT]; [FONT=&quot]อิทํ เม ภนฺเต[/FONT][FONT=&quot]นิสฺสคฺคิยํ[/FONT], [FONT=&quot]อิมาหํ สงฺฆสฺส นิสฺสชฺชามิ" ดังนี้ ถ้ามีคฤหัสถ์ผู้หนึ่ง[/FONT][FONT=&quot]มาในที่เสียสละนั้น ให้สงฆ์พึงว่ากะเขาว่า ท่านจงรู้ของนี้ ถ้าเขา ถามว่า[/FONT][FONT=&quot]ด้วยของนี้จะให้เอาอะไรมา ภิกษุอย่าพึงบังคับว่า ให้เอาสิ่งนี้ ๆ มา[/FONT][FONT=&quot]พึงบอกแต่ของที่ควรว่า เนยใสน้ำมันเป็นต้น เป็นของควรแก่ภิกษุ[/FONT][FONT=&quot]ถ้าหากว่าคฤหัสถ์นั้น เขาหาของที่ควรมาด้วยรูปิยะนั้น ภิกษุทั้งปวง[/FONT][FONT=&quot]พึงแจกกันบริโภค เว้นแต่ภิกษุผู้รับรูปิยะผู้เดียว ไม่ควรบริโภค[/FONT][FONT=&quot]วัตถุสิ่งใดที่เกิดแต่รูปิยะนั้น แม้ผู้อื่นได้มาถวายก็ดี โดยที่สุดแม้แต่[/FONT][FONT=&quot]เงาต้นไม้ที่บังเกิดแต่รูปิยะนั้นก็ดี ภิกษุผู้รับรูปิยะนั้น ไม่ควรบริโภค[/FONT][FONT=&quot]เลย ก็ถ้าคฤหัสถ์ผู้นั้น เขาไม่อยากจะเอารูปิยะไปซื้อสิ่งของมาเล่า ไซร้[/FONT][FONT=&quot]ให้สงฆ์พึงวานเขาว่า ท่านจงทิ้งของสิ่งนี้เสีย ถ้าเขาทิ้งเสีย ณ ที่[/FONT][FONT=&quot]ใดที่หนึ่ง หรือเขาถือเอาไปเสียก็ดี อย่าพึงห้ามเขาเลย ถ้าคฤหัสถ์[/FONT][FONT=&quot]นั้นเขาไม่ทิ้งไซร้ สงฆ์พึงสมมติภิกษุที่พร้อมด้วยองค์ ๕ ให้เป็นผู้ทิ้ง[/FONT][FONT=&quot]รูปิยะ ภิกษุผู้ได้สมมตินั้น อย่าทำนิมิตหมายที่ตก พึงเกลียดดั่งคูถแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ขว้างรูปิยะนั้นไป ถ้าเธอนั้นทำนิมิตหมายที่ตกไซร้ ต้องทุกกฏ ใน รูปิยะ[/FONT][FONT=&quot]เป็นติกกปาจิตตีย์ ใช่รูปิยะสำคัญว่ารูปิยะ หรือสงสัยและรับ[/FONT][FONT=&quot]หรือรับนิสสัคคิยวัตถุ เพื่อผู้อื่น มีสงฆ์แบะเจดีย์เป็นต้น หรือรับทุกกฏ[/FONT][FONT=&quot]วัตถุ เพื่อตนและเพื่อคนอื่นก็ดี เหล่านี้เป็นทุกกฏ เขาถวายรูปิยะ หรือ[/FONT][FONT=&quot]เขาเก็บไว้ให้ในที่ต่อหน้า หรือลับหลังว่า ของนี้จงเป็นของ ๆ ท่าน[/FONT][FONT=&quot]ถ้าภิกษุยินดีด้วยจิตอยากจะถือเอาอยู่ และห้ามเสียด้วยกาย หรือวาจา[/FONT][FONT=&quot]ว่าของนี้ไม่ควร หรือไม่ห้ามด้วยกายวาจา มีจิตอันบริสุทธิ์อยู่ ไม่ยินดี[/FONT][FONT=&quot]ด้วยคิดว่าของนี้ไม่ควรแก่เตาก็ดี อย่างนี้ ก็ควร ไม่มีโทษ ภิกษุถือเอง[/FONT][FONT=&quot]หรือให้เขาถือเอาซึ่งรูปิยะ ที่ตกอยู่ในภายในอาราม หรือภายในที่อยู่[/FONT][FONT=&quot]แห่งตน ด้วยคิดว่า ของผู้ใด ผู้นั้นจักมาเอาไป ดังนี้ โดยนัยในรตน[/FONT][FONT=&quot]สิกขาบทก็ดี ภิกษุบ้าเป็นต้นก็ดี เหล่านี้ ไม่เป็นอาบัติ เป็นสาณัตติกะ[/FONT][FONT=&quot]มีองค์ ๓ ของนั้นเป็นทองและเงินที่เป็นนิสสัคคิยวัตถุ ๑ เฉพาะเป็น ของตัว[/FONT][FONT=&quot]๑ รับเองหรือให้เขารับ หรือเขาเก็บไว้ให้ยินดีเอา อย่างใด อย่างหนึ่ง เป็น[/FONT][FONT=&quot]๑ พร้อมด้วยองค์ ๓ นี้ จึ่งเป็นนิสสัคคีย์ สมฏฐาน วิธีเป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]เหมืนอด้วยสัญจริตตสิกขาบท แปลกแต่สิกขาบทนี้เป็น สิยากิริยา[/FONT][FONT=&quot]เพราะต้องด้วยการรับ และเป็นสิยาอกิริยา เพราะต้องด้วย[/FONT][FONT=&quot]ไม่ทำซึ่งการห้ามซึ่งรูปิยะที่เขาเก็บไว้ให้.[/FONT]

    [FONT=&quot]ข้อแปด จบ[/FONT]

    [FONT=&quot]ในรูปิยสัโพยหาระสิกขาบทที่ ๙ ความว่า ภิกษุใด ซื้อขายแลก[/FONT][FONT=&quot]เปลี่ยนด้วยรูปิยะมีประการต่าง ๆ ของนั้น เป็นนิสสัคคีย์ ต้องปาจิตตีย์[/FONT][FONT=&quot]พระองค์ทรงห้ามการรับนิสสัคคิยวัตถุ และทุกกฏวัตถุ ด้วยสิกขาบท ก่อน[/FONT][FONT=&quot]พระองค์ทรงห้ามการแลกเปลี่ยนนิสสัคคิยวัตถุซื้อ และทุกกฏวัตถุ[/FONT][FONT=&quot]ด้วยสิกขาบทนี้ เพราะเหตุนั้น ภิกษุเอาทุกกฏวัตถุซื้อ แลกเปลี่ยน[/FONT][FONT=&quot]ทุกกฏวัตถุ และกัปปิยวัตถุก็ดี เอากัปปิยวัตถุแลกเปลี่ยนทุกกฏวัตถุ ก็ดี[/FONT][FONT=&quot]อย่างนี้เป็นทุกกฏ ก็แลภิกษุเอานิสสัคคิยวัตถุ ซื้อหาแลกเปลี่ยน[/FONT][FONT=&quot]นิสสัคคิยวัตถุ หรือทุกกฏวัตถุ หรือกัปปิยวัตถุก็ดี หรือเอาทุกกฏวัตถุ[/FONT][FONT=&quot]และกัปปิยวัตถุ แลกเปลียนนิสสัคคิยวัตถุก็ดี เหล่านี้เป็นนิสสัคคิย[/FONT][FONT=&quot]ปาจิตตีย์ ของที่ได้มาเป็นนิสสัคคีย์ พึงเสียสละในท่ามกลางสงฆ์อย่าง เดียว[/FONT][FONT=&quot]และพึงปฏิบัติในของที่เสียสละแล้ว ดังในสิกขาบทก่อน ภิกษุ บ้าเป็นต้น[/FONT][FONT=&quot]ไม่เป็นอาบัติ เป็นอนาณัตติกะ มีองค์ ๒ ของที่แลกเปลี่ยน มาก็ดี[/FONT][FONT=&quot]ทรัพย์ของตนที่จเอาไปแลกเปลี่ยนก็ดี ข้างใดข้างหนึ่ง เป็น รูปิยะ[/FONT][FONT=&quot]เป็นนิสสัคคิยวัตถุ ๑ สำเร็จในการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน ๑ พร้อมด้วยองค์ ๒[/FONT][FONT=&quot]นี้ จึงเป็นนิสสัคคีย์ สมุฏฐานวิธีเป็นต้น เหมือน ด้วยสิกขาบทก่อน[/FONT][FONT=&quot]แปลกแต่สิกขาบทนี้เป็นกิริยา เกิดแต่ทำซึ่งการ แลกเปลี่ยน.[/FONT]

    [FONT=&quot]ในกยวิกกยะสิกขาบทที่ ๑๐ ความว่า ภิกษุใดซื้อขายแลกเปลี่ยน[/FONT][FONT=&quot]กัปปิยวัตถุ ด้วยกัปปิยวัตถุ มีประการต่าง ๆ มีจีวรเป็นต้นกับคฤหัสถ์[/FONT][FONT=&quot]ของนั้นเป็นนิสสัคคีย์ ต้องปาจิตตีย์ ภิกษุกล่าวกับคฤหัสถ์ว่า ท่านให้[/FONT][FONT=&quot]ของนี้ด้วยของนี้ก็ดี ท่านเอาของนี้ไปให้ของนี้แก่เรา เอาของนี้แลก[/FONT][FONT=&quot]กับของนี้ก็ดี เอาของสิ่งนี้ไป จงทำของสิ่งนี้ ให้แก่เราก็ดี[/FONT][FONT=&quot]ดังนี้เป็นต้น ต้องทุกกฏ ถือเอากัปปิยภัณฑ์แห่งผู้อื่นมา ชื่อว่าซื้อ[/FONT][FONT=&quot]ให้กัปปิยภัณฑ์ ของตนไป ชื่อว่าขาย เพราะเหตุนั้น[/FONT][FONT=&quot]ภิกษุให้กัปปิยภัณฑ์ของตนไป แล้วถือเอากัปปิยภัณฑ์อันใดของคฤหัสถ์[/FONT][FONT=&quot]พ้นจากสหธัมมิกทั้ง ๕ แม้เป็นมารดาด้วยวาจา เป็นคำแลกเปลี่ยนกัน[/FONT][FONT=&quot]กัปปิยภัณฑ์นั้นเป็น นิสสัคคีย์ พึงเสียสละวัตถุเป็นนิสสัคคีย์นั้น[/FONT][FONT=&quot]แก่สงฆ์หรือแก่คณะ หรือแก่บุคคล ภิกษุให้ของกินหรือวัตถุสิ่งไรแก่คฤหัสถ์[/FONT][FONT=&quot]กล่าวว่า ท่านจงกินสิ่งนี้ หรือถือเอาสิ่งนี้แล้ว เอาของนี้มาให้เรา[/FONT][FONT=&quot]หรือทำสิ่งนี้ ให้เรา แล้วใช้ให้เอาน้ำย้อมเป็นต้นมาก็ดี[/FONT][FONT=&quot]หรือให้ทำบริขารมีธัมมกรก เป็นต้น และให้ทำนวกรรม มีชำระพื้นดายหญ้า[/FONT][FONT=&quot]เป็นต้น เช่นนี้ ถ้าของจะพึงเสียสละมี ก็พึงเสียสละก่อน ถ้าของไม่มี[/FONT][FONT=&quot]ก็พึงแสดงอาบัติ ปาจิตตีย์อย่างเดียว ภิกษุถามราคาว่า[/FONT][FONT=&quot]ของนี้ราคาเท่าไรก็ดี ปรารถนา จะถือเอาภัณฑะแต่มือผู้ใดเว้นผู้นั้นเสีย[/FONT][FONT=&quot]ให้ผู้อื่นโดยที่สุดแม้เป็นลูก ของเจ้าของภัณฑะนั้น[/FONT][FONT=&quot]วานให้เป็นกัปปิยการแลกเปลี่ยนแทน ว่า ท่านจงเอาของนี้แลกของนี้มาให้เรา[/FONT][FONT=&quot]ดังนี้ก็ดี และกล่าวให้พ้นกยวิก กยะ ดังภิกษุเดินทางไป มีแต่ข้าวสาร[/FONT][FONT=&quot]จะต้องการข้าวสุก ว่ากะเจ้าของ ข้าวสุกว่า ข้าวสารของเรามีอยู่[/FONT][FONT=&quot]เราหาต้องการไม่ เราต้องการด้วย ข้าวสุก ว่าดังนี้[/FONT][FONT=&quot]และเจ้าของข้าวสุกเอาข้าวสารไป ให้ข้าวสุกแก่ภิกษุ ก็ดี[/FONT][FONT=&quot]ภิกษุบ้าเป็นต้นก็ดี เหล่านี้ไม่เป็นอาบัติ เป็นอนาณัตติกะ มีองค์ ๓ คือ[/FONT][FONT=&quot]ของ ๆ คนที่จะเอาไปแลกก็ดี ของ ๆ ผู้อื่นที่ตนจะแลกมาก็ดี ทั้ง ๒ นี้[/FONT][FONT=&quot]เป็นกัปปิยภัณฑ์ของควร ๑ เจ้าของภัณฑะนั้น เป็นคฤหัสถ์ ใช่สหธัมมิก ๑[/FONT][FONT=&quot]แลกเปลี่ยนด้วยอาการดังว่าแล้ว ๑ พร้อมด้วยองค์ ๓ นี้ จึ่งเป็นนิสสัคคีย์[/FONT][FONT=&quot]วินิจฉัยนอกนั้นมีนัยดังกล่าวแล้วในรูปิยสิกจาบท.[/FONT]<o></o>

    -------------------------------------
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ธันวาคม 2008
  2. ee4710161037

    ee4710161037 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    100
    ค่าพลัง:
    +52
    พระผู้ใหญ่รูปหนึ่ง จะเทศน์อย่างเดียว ไม่สนว่าใครจะมีประโยชน์แอบแฝง ใช้เป็นเครื่องจูงใจให้คนหลงผิด ขอแค่ให้มีคนมาฟังเยอะๆ ขอแค่ ให้ได้เงินเข้าวัด ไม่คำนึงถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น ท่านน่าจะได้พิจารณาถึงข้อดีข้อเสียให้มากกว่านี้ ไม่ใช่หวังแต่จำนวนยอดคนที่เข้ามาฟัง ไม่ควรหลงผิดทาง
     
  3. โมกข์ป่า

    โมกข์ป่า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มกราคม 2008
    โพสต์:
    75
    ค่าพลัง:
    +204
    สาธุ อนุโมทนากับ จขกท. ที่ได้ให้ความรู้เป็นธรรมทานแก่พี่น้อง ชาวไทย

    แบบนี้ต้องขอคัดลอกไปเผยแพร่ต่อนะคะ

    เพื่อบ้านเมืองของเราจะได้พ้นจากกรรมนี้สักที
     
  4. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    โมกข์ป่า ได้อ่านเจตนาคุณแล้วน่าอนุโมทนาครับ

    เพียงแคในบ้านพูดกันว่าเป็นกรรมจากอะไร จะเลิกโทษกันไปกันมาทันที่เพราะสรุปลงมาอยู่ที่ตนเองและเราเองที่เป็นผู้กระทำ

    เห็นด้วยอย่างยิ่งที่จะ FWmail นั้นแหละวิธีแก้ และดับทุกข์ร้อนเป็นการปฐมพยาบาล ซึ่งการรักษาให้หายขาดก็ด้วยวิธีเดียวกัน

    สาธุอนุโมทนา
     
  5. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    <o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype><o:smarttagtype namespaceuri="urn:schemas-microsoft-com<img src=" images="" smilies="" omg-smile.gif="" border="0" alt="" title="Surprised" smilieid="34" class="inlineimg"></o:smarttagtype><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><!--[if !mso]><object classid="clsid:38481807-CA0E-42D2-BF39-B33AF135CC4D" id=ieooui></object> <style> st1\:*{behavior:url(#ieooui) } </style> <![endif]--><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]ตอบ ความคิดเห็นที่ 18

    สวัสดีครับ Bhothisattava[/FONT] [FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT] [FONT=&quot] การที่ผมต้องการกล่าวเป็นภาษาไทยนั้นไม่ใช่เฉพาะความสามารถในการใช้ภาษาเท่านั้น แต่การเปลี่ยนภาษาอื่นคุณเรื่องธรรมมันมีโอกาสเบี่ยงเบนสูง <o>

    </o>[/FONT] Hi,would love to but I can't.I don't have Thai version.Did I say I that I don't have ego.I didn't say that.I know who I am,I know when I have ego or not and I have no reason to angry or mind about what people say and hit the anger spot and lost the temper. Is that the Meditator are about,seem like not real people who pratice and control meditation to me at all. I found some beginner practicing and some intermediat practising,etc and be understand that I don't blame anyone because for me truth is true.For instance if I am who I am no matter poeple saying I will not change,right?

    I see…No comment

    <o>

    </o> I think I should not chat no more but,it's may be ok.What is the right way ?

    [FONT=&quot]เดินอยู่ในมรรค 8[/FONT] [[FONT=&quot]หรือเข้าใจอริยสัจจ์ 4[/FONT] ;[FONT=&quot]การเข้าใจอริยสัจจ์คือส่วนหนึ่งในการเข้าสู่ครรลองคลองธรรม คือมรรค 8[/FONT]][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT] I heard about right is wrong and wrong is right,kind of sometime we think we know it and it's right there and later on we find out what a silly thinking we are,then we correct it and again sometime we think this is wrong then later on we find out no it's not.

    [FONT=&quot]เรื่องนี้จะไม่เกิดให้กังวลถ้าเข้าใจ อริยสัจจ์ 4 และเดินอยู่ในมรรค 8

    [/FONT]
    I am not criticize people knownledge who they think they have and or laugh at someone else for fun and satistified someone's mind. That is not the way Buddha teaching me for meditation, but talk with reason and uncareless.
    [FONT=&quot]อนุโมทนาสาธุ

    [/FONT]
    If poeple know about Thailand Kamma and what about another country kamma which don't have Bodhisattavas born in that country(mean not too many like Thaialand) such as America,Australia,England?They are not buddhism at all(most people).How come Bodhisattvas link to only Thailand and effect this country only?And what about the coutry which worse than<st1><st1:country-region w:st="on">Thailand</st1:country-region></st1>

    [FONT=&quot]ก็เพราะสภาพโพธิ์สัตว์(หมายถึงบุคคลที่ติดอยู่ซ่งรวมทั้งหมดจะรู้ตัวหรือไม่ก็แล้วแต่)คุณคิดว่าต้องรู้ตัวหรือ คำว่าศัพท์ [/FONT][FONT=&quot]โพธิสัตว์[/FONT][FONT=&quot]คืออะไรหรือจะกล่าวต่อไป เพราะอันนี้ คำนี้ มันเป็นเพียงสิ่งที่ใช้แทน สภาพ เท่านั้น ฉะนั้นกล่าวไม่ได้หรอกว่าประเทศอื่นมีโพธิสัคว์น้อย เช่นในจีน 1300 ล้านคน คุณว่าคนที่ปรารถนาแดนนิพพาน(สุขขาวดี) เป็นใคร เหตุเพราะ เกิดการตีพุทธธรรมคำว่า [/FONT][FONT=&quot]จิตเดิมแท้[/FONT][FONT=&quot] และ/หรือ หรือนิพพานเป็น อนัตตา อัตตา นำไปสู่การสังคายานาครั้งต้นๆ แนวความคิดคนจีนเรื่องการสะสมความดีเกิดมาแค่ทำดีพอล่ะ คุณคิดว่าพระผู้มีพระภาคสอนอย่างนั้นเร่อ ผมไม่ได้ปฏิเสธการทำดีแต่ผมปฏิเสธสัทธรรมปฏิรูป ว่าให้ทำความดี แต่ไม่พูดถึงเรื่อง สมาธิ ปัญญา หรือโดยสรุปคือในส่วนของการทำใจให้ขาวรอบ การทำบุญนั้นเป็นเสบียง ที่จะใช้ในการเดินทางแต่แนวคิดเหล่านี้หยุดแค่นั้น ซึ่งเกิดจากการกำหนดเป้าหมายของการเดินทางแห่งชีวิตไว้ไม่เหมือนกัน เช่น เป้าหมายเพื่อพบพระเจ้า เป้าหมายไม่มีดับสูญ หรือแม้กระทั้งเป้าหมายแดนสุขขาวดี ความคิดเหล่านี้จึงนำให้หน้าที่หลักของชีวิตกลายไปเป็นการสะสมบุญ หรือเสบียง แทนที่จะ เอาความดีนั้นมากำหนดรู้ทางที่แท้จริงและลงสู่ทาง เพื่อจุดสิ้นสุดของทาง [/FONT]This’s the Right way.[FONT=&quot](มรรค 8)ดังพุทธพจน์ที่ว่า[/FONT][FONT=&quot]เอกายโน อยํ มคโค สตตานํ วิสุทธิยา[/FONT][FONT=&quot]แปลว่า หนทางไปอัน[/FONT][FONT=&quot]เอก[/FONT][FONT=&quot] (คือมีทางเดียว)[/FONT][FONT=&quot] ของสัตว์ทั้งหลาย [/FONT][FONT=&quot]ซึ่งจะเห็นได้ว่า การสอนให้คนทำดี มันมีอยู่ใน คริส ในอิสลามหรือทุกที่ เช่นกัน หรือเคยได้ยินเรื่องหลวงพ่อหลายองค์ พูดเรื่อง พระเยซูเป็นโพธิสัตว์ หรือไม่ ฉะนั้นสภาพโพธิสัตว์มันไม่ระบุสัญชาติ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ฉะนั้นหากถามว่า[/FONT]
    How come Bodhisattvas link to only <st1><st1:country-region w:st="on">Thailand</st1:country-region></st1> and effect this country only?<o></o>
    [FONT=&quot]การจะตอบว่าทำไมเหตุการณ์นี้จึง[/FONT][FONT=&quot]เหตุส่วนหนึ่งมาจาก[/FONT][FONT=&quot](อ้างถึงข้อความในกระทู้ผมไม่ได้บอกว่ามีเหตุเดียว)แนวคิดโพธิสัตว์ขอตอบโดยมีคำตอบออกเป็น3 ประเด็น คือ 1.เกิดในไทยเพราะอะไร 2.หากประเทศที่มีปัญหาเหมือนกันแต่ไม่มีพระหรือโพธิสัตว์ทำไมถึงเกิดได้ 3.ปัญหาของพวกกาฬทวีป ดัวนี้<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]
    1.ก็ต้องตอบว่าเหตุของการถวายทานผิดกับ ภิกษุสงฆ์เนี่ย มันมีองค์ประกอบของเหตุในประเทศเหล่านั้นหรือไม่[/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot]
    2.ที่นี้อาจถามกลับได้ว่าแล้วประเทศที่มีปัญหา คอร์รัปชั่นและประเทศนั้นไม่มีพระสงฆ์ ทำไมบาปเรื่องเงิน ทองจึงเกิดขึ้น เช่นในยุโรป อเมริกา คุณลองพิจารณาดูว่ามันนักไหมเมื่อเทียบกับ ประเทศพุทธที่มีความบริสุทธิ์ของสงฆ์ เลื่อมกันตามสภาพกันคงรักษาไว้ ไม่ว่าจะเป็น ไทย ลาว พม่า เขมร ศรีลังกา [/FONT]
    <o></o>
    [FONT=&quot]เกาหลี ไต้หวัน ญี่ปุ่น กล่าวคือถ้าหมู่สงฆ์บริสุทธิ์ ในประเทศยิ่งมากเท่าไร[/FONT][FONT=&quot]หากการไม่ละอายในสิกขาบทและการกร่อนสิกขาบทเกิดขึ้น จะทำให้ผลที่เกิดนั้นเร็วและรุนแรงยิ่งขึ้น [/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]
    3.ส่วนกลุ่มทางอัฟริกาหรือกาฬทวีปนั้น เป็นดินแดนที่นอกธรรมวินัยคือเชื้อมันเกิดแต่กรรมเก่าส่งผล ฉะนั้นจึงเกิดในประเทศที่มืดบอดด้วยธรรม และจะเห็นได้ว่า ดินแดนแถบนั้น อะไรที่เหล่า มวลมนุษยชาติหวาดกลัว มันเกิดได้เสมอ จีงไม่มีเหตุในการเทียบเคียงในแง่เหตุจากการเบี่ยงเบนคำสอน<o></o>[/FONT]


    To me Kamma in the country is complex,consist of many factor such as The King now who was King Naresuan in the pass life(as far as I know,and may be wrong) and kamma of people in the pass life.The King nowadays used to fight Burma and killed some of them that effect to him in this life when he rules the country. This is never ending story and I kind of thinking useless to talk,will never end,I better stop and what ever people think,none of my business.Better pratice my meditation and set my mind in the middle way.



    [​IMG]
    <o>


    </o> <o></o>“What’s your the middle way ?

    [​IMG]



    <o>
    </o>
    Since I am not Arahat just vowed to be Buddha in the future.I can't predict anything untill I really know and see.The straight and real Bodhisattvas who vowed to be,he himself know that he doesn't want to be a hero,but to scarified his lifeand continue Buddhism religion in the future,no matter what how many life to be born,we sacrified,no matter we are to be Buddha or not to be at last,we sacrified,the final destination is the same.Bodhisattvas just walk longer,stay longer and collect power longer than the follwers,which mean sometime have mind open wide than anyone(not every one,depen on the procedure of collecting). And sometime lead people in the wrong way and could make Kamma to the country,but not all of it.Then the last thing I who vowed to be try not to blame someone else,no matter what one vows to be a follower or Buddhs and who know,just like talking to yourself,you probably were the one who vowed to be Buddha in the past life and change your mind later,but no knowing or realize that you were in this life or may be knowing it that why you born in the country where you think the Kamma came from Bodhisattvasthat make nothing difference to conclude this Kamma probably made by you in the past life too,don't you think? [FONT=&quot]มันเป็นเช่นนั้นเอง[/FONT]
    I need to apologized for typing in English to you all,don't mean to showing the English talent which I think my English still poor cause not my mother language, but I don't have Thai version in computor and will looking for it in the future.
    Sorry for annoying you guys.
    sawassdee.
    <o>

    </o> [FONT=&quot]หัวข้อสนทนาส่วนนี้ได้รวมอยู่ใน ส่วนที่ 5 แล้ว

    [/FONT]
    [FONT=&quot]ภาษาอังกฤษ[/FONT]version [FONT=&quot]ก็ไม่ใช่ปัญหาครับในการสนทนาหากไม่เข้าใจความหมายที่คุณกล่าวแปลไม่ออกจะถามกลับไปครับ และยินดีที่ได้ร่วมสนทนา โชคดีครับ<o>

    </o>[/FONT]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • pts3.jpg
      pts3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      54.6 KB
      เปิดดู:
      689
    • pts4jpg.jpg
      pts4jpg.jpg
      ขนาดไฟล์:
      77.2 KB
      เปิดดู:
      689
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 ธันวาคม 2008
  6. แมวแหมว

    แมวแหมว Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +49
    การเผยแพร่ธรรมะ เป็นสิ่งที่พระภิกษุควรทำควรปฏิบัติ แต่ไม่จำเป็นจะต้องลงมือทำด้วยตัวเองเสียทุกเรื่อง หมากรุกมีไว้ให้เดิน แต่จะเดินอย่างไรโดยปลอดภัยและไม่มีกรรมวิบากติดมาให้ต้องแก้ต้องลำบากใจ หนทางนั้นพระพุทธองค์ได้บัญญัติไว้แล้ว พยายามแปลความให้ถูกให้ตรง พระไตรปิฏกศึกษาไม่ยากถ้าตั้งใจศึกษาจริงจัง อำนาจจิตถ้ามีแล้วไม่ใช้ให้ถูกที่ถูกทางถูกกาลมีไปก็เท่านั้น ภพภูมิก็เช่นกัน จะเป็นพระโพธิสัตว์หรือไม่ ไม่เห็นมีความจำเป็นอันใดที่จะต้องภาคภูมิใจ หรือหลงไปว่าดี ภาระอันหนักอึ้งที่ต้องทำเมื่อมีคนเขาต้องการให้เป็นพระโพธิสัตว์ต่างหากที่สำคัญ ไม่ได้คิดว่าตนเองจะเป็นพระโพธิสัตว์แค่ไม่เข้าใจว่าทำไมจะต้องรอให้มีหัวโขนก่อน จะต้องรอคนยกย่องก่อนแล้วจึงทำบำเพ็ญประโยชน์ ทำไมทำทุกสิ่งด้วยความจริงใจด้วยความตั้งใจด้วยตัวและสติปัญญาของตนเองก่อนเลยไม่ได้เหรอ ทำไมต้องรอให้ผู้คนยกย่องก่อนแล้วจึงค่อยทำละ ทำทันทีทำในสิ่งที่ควรทำเองเลยไม่ได้เหรอ หรือว่าขณะนี้คนส่วนใหญ่ไม่ชอบให้คนทำความดี หรือคิดว่าคนดีที่ทำดีทำเพียงแค่เอาหน้าเหรอ ทำทุกอย่างให้เสร็จสิ้นเป็นคราว ๆ ไปและพร้อมเริ่มต้นตั้งต้นทำความดีต่อไปเลยไม่ได้เหรอ ทำไมต้องรอให้คนเห็นและยกย่องก่อนแล้วจึงจะทำความดีต่อเหรอ ขอบอกตรง ๆ ไม่เข้าใจจริง ๆ ยุคนี้เป็นกลียุคแน่เหรอขอบอกว่าไม่เข้าใจจริง ๆ
     
  7. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    แมวเหมียวครับ งงครับ ?

    เจตนาใน คคห.6 ต้องการสนับสนุน ,แนะนำ ,ตำหนิ หรือ...?
     
  8. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    งงครับ ไม่มีเหตุผลที่ผมต้องไปแก้ไขกระทู้ครับ และกรณีที่ผมแก้ไขกระทู้ ระบบจะขึ้นให้เห็นว่าผมแก้ไขครับ
    กรณีรูปไม่ขึ้นมักจะเกิดจากการ Copy จากเว็บอื่นมาแปะครับ หรือไม่อาจเป็นที่ระบบมั้งครับ
    หากมีข้อสงสัยเชิงเทคนิค กรุณาสอบถาม Admin ก่อนนะครับ

    โมทนาครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 ธันวาคม 2008
  9. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    ขอบคุณ คุณ Kodomo ครับ

    ไม่ทราบหรอกครับว่าผู้ดูแลคือใคร [admin,team]ในห้องนี้ ก็ถามกลางๆ ไปงั้นอ่ะครับ เห็นโดนย้ายกระทู้ จากห้อง[​IMG]

    และก็คิดว่ายังไงเนื้อหาก็ยังอยู่ใน scope ของห้องอยู่แต่พออยู่ห้องนี้ภาพมัน

    หาย ก็เลยตั้งถามในความคิดเห็นซะน่ะครับและหากไม่เป็นการรบกวน

    คุณ Kodomoย้ายกลับได้ไหมครับขอบคุณล่วงหน้าครับหรือถ้าติดตรงชื่อ

    กระทู้ ผมลบและตั้งชื่อกระทู้ใหม่ได้ไหมครับ

    ด้วยความนับถือ

    Aero1
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • plj.jpg
      plj.jpg
      ขนาดไฟล์:
      27.1 KB
      เปิดดู:
      920
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 ธันวาคม 2008
  10. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    อยู่ห้องนี้ถูกต้องแล้วครับ ถ้าเขาย้ายมาแล้ว ผมย้ายกลับจะไม่ดีครับ ยังไงเอาไว้ห้องนี้ละกันครับ เพราะเกี่ยวกับเรื่องกรรมครับ

    โมทนาครับ
     
  11. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    Hi bhothisata

    Do you practise Meditation at all ?

    Ha ha haaa "not yet". And you ? [futile Question]

    Take yourself to do meditation and Vipassana,then you will understand more why we have Bhothisata ans[and] the followers.

    Why not ! ,that one is the most important job of my life. Although I just do for my last breathless, not about to know Bhothisata. I've a big friend who need to be Eternal Bhothisata. But in fact of my way is I don't mind for a resultant practise.I dont mention about that ,just do anything in the present of time.Therefore you can know , I dont say that "There have no Bhothisata sapava in the world.

    Many people have too much ego,such as I know this..I know that...make sure really know and study more before convince human to agree with the idea.
    You are the one in Many people that you said? Ha ha ha

    Hope you will fing more answer in the future,good luck.
    Thank you , you too. nice to chat with you.

    If you can chat in thai and want to chat more , pls. in thai.Clause, may be I can tell you the right way.

    takecare & regards ,see you bye
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 ธันวาคม 2008
  12. jake009

    jake009 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    170
    ค่าพลัง:
    +285
    อ่านเที่ยวเดียว ยังไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร
    แต่ เรื่องซื้อสิทธิ์ขายเสียง คอรัปชั่น ปัญหาเศรษฐกิจ การเมือง ทำไมจึงไปเกี่ยวกับการถวายปัจจัยแด่พระได้
    ยอมรับว่าเงินเปรียบ ดาบสองคม, คอมพิวเตอร์ ก็เปรียบ ดาบสองคม ดั้งนั้นคนที่มีเงินหรือ คอมพิวเตอร์ จะใช้ในทางที่ ประโยชน์ก็ได้ และโทษก็ได้
    วัตถุ หรือ ปัจจัยที่ บริสุทธิ์ ถวายกับบุคคลที่ บริสุทธิ์ 100% ได้ผลแห่งการให้ใช้ 100%, วัตถุ หรือ ปัจจัยที่ บริสุทธิ์ ถวายกับบุคคลที่บริสุทธิ์ 99.99 % ผลแห่งการให้ก็ลดลงอีก ....
    อีกอย่างส่วนตัวผม คิดว่ากรรมของชาวไทยที่ว่าได้รับผลอยู่ในขณะนี้ ไทยเป็นไทยได้จนถึงขณะนี้ เกิดจากการยืมเงิน แล้วไม่ได้คืน แต่ เหตุเพราะ ไม่ได้ตั้งใจจะเบี้ยว แต่เจ้าหนี้คิดจะเอาประเทศเลยต้องเบี้ยว เพื่อความเป็นไทย กรรมเลยส่งผลมาถึงปัจจุบัน วิธีแก้ของผม คือ รู้แล้ว ยอมรับ แล้ว ตั้งจิต ว่าเราท่านทั้งหลายก็มีส่วนในการรับกรรมนี้แล้ว ขอให้กรรม ได้ทุเลาเบาบาง จนหายไปในที่สุด ขอเจ้ากรรม นายเวร เจ้าหนี้ตั้งหลาย จงเป็นสุข เป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรต่อกันอีกเลย
     
  13. jake009

    jake009 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    170
    ค่าพลัง:
    +285
    เปรียบ พ่อของเรา ไปกู้เงินมาซื้อบ้าน ที่เจ้าหนี้คิดจะเอาบ้านของพ่อ โดยวิธีที่ไม่ซื่อเท่าไร พ่อเราเลยวางอุบาย โดยพ่อยอมเสียสละ(ชีวิต) เพื่อเปลื่องหนี้ในทางกฏหมาย
    แต่ในทางธรรม กรรมนั้นยังมีอยู่ และลูก ก็ต้องรับผลของกรรมนั้น ถ้าหากยังเป็นเจ้าของบ้านนั้นอยู่
     
  14. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    หริชนครับ เหตุที่คุณกล่าวถึงนั้นไกลไปไหมครับและข้อสำคัญมันยากแก่การพิสูจน์มาก และอีกอย่างระบบกรรมนั้นมีสภาพ "ระคน"คือโยงใยกันมากมาย แต่สิ่งที่เหมือนกันคือการกำหนดรู้ซึ่งเป็นวิธี บรรเทาวิบากบางส่วน พร้อมกับต้องอัดกระแสกุศลที่มีลักษณะบริสุทธิ์เข้าไปแทนที่ ตัววิบากที่จ่อกำลังจะแสดงผล อันนี้จะเป็นการเยียวยาในเบื้องต้น และที่สุด(โดยไม่ได้รวมตัวแปลของกรรมที่มีขนาดใหญ่กว่าที่อ้างถึง)

    กระทู้จึงเน้นไปที่ระบบการถอนออกจากวิบาก โชคดีครับ
     
  15. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    คุณ Bhothisatava ได้ตอบข้อสนทนา ไว้ที่ คคห.ที่ 5 นะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...