โชคเหนือเมฆ-กำไลเหนือดวง- มูลนิธิเทียนฟ้า 2497 - วัตถุมงคล หลวงปู่พิศดู-ครูบากฤษดา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย bat119, 20 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท
     
  2. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    มีแต่รูปแล้วเสี่ยเฟริส์ท ไปตามหากันเองนะ เบี้ยแก้หลวงปู่พิศดู หายไปจากสนามเลยครับ

    เบี้ยรวม.jpg
    เบี้ยรวม2.jpg
     
  3. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,195
    ค่าพลัง:
    +14,323
    นั้นสิครับป๋า ไม่มีกับเขาสักลูกเลย
    สวัสดียามสายครับผม
     
  4. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท ต้องไปขอคืนจากเสี่ยท็อปแล้วครับ555 ชุดพระกริ่ง.jpg
     
  5. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    er907179365th อุดรธานี
     
  6. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    ขาย3.jpg
     
  7. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เปิดพระปัจเจกพุทธเจ้าด้านหลังปั๊มยันต์ พุทธเจ้าชนะมาร รุ่นสมปราถนา ครูบากฤษดา-หลวงปู่พิศดู อธิษฐานจิต ด้านหลังติดพระอุปคุตจิ๋ว-จีวรหลวงปู่พิศดู หาสีเขียวไม่ได้ชุดนี้เป็นอีกหนึ่งทางเลือก เสกพร้อมกันครับ

    DSC_0224.JPG DSC_0225.JPG

    พระปัจเจกพุทธเจ้า เนื้อผง รุ่น "สมปรารถนา" ชุดนี้ สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2552 โดยคณะศิษย์ผู้สร้างถวายได้จําลองพุทธลักษณะองค์พระปัจเจกมาจากรูปหล่อพระปัจเจกพุทธเจ้าที่เป็นสมบัติของวัด ซึ่งมีอายุกว่าหลายร้อยปีถึงพันปี รูปแบบพิมพ์ทรงสี่เหลี่ยม ประทับนั่งอยู่ในซุ้มประตู บนซุ้มประตูเขียนคําว่า "สติ" อักขระด้านล่างสุดบริเวณฐาน อ่านว่า พระปัจเจกโพธิ ส่วนด้านหลังองค์พระ ออกแบบเป็นรูปบาตรภายในมีดอกบัว และล้อมด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้าเป็นภาษาล้านนา พระปัจเจกพุทธเจ้ารุ่นนี้ ครูบากฤษดาท่านเมตตาตั้งชื่อรุ่นว่า "สมปรารถนา" ท่านว่ารุ่นนี้ศักสิทธิ์ตั้งแต่ปั๊มแล้ว เพราะเจตนาดี พระชุดนี้สร้างไว้ทั้งหมด 5 สี มีรายละเอียดจำนวนจัดสร้าง ดังนี้
    1. สีว่านอมขาว สร้าง 5,000 องค์
    2. สีช็อคโกแล็ต สร้าง 5,000 องค์
    3. สีแดง สร้าง 5,000 องค์
    4. สีเหลือง สร้าง 5,000 องค์
    5. สีเขียว สร้าง 3000 องค์

    ซึ่งสีเขียวนี้ ได้นําถวายบูชาธรรมแด่หลวงปู่พิศดูทั้งหมด และมีสีเหลืองบางส่วนประมาณ 400 องค์ หลังจากครูบากฤษดาท่านได้ปลุกเสกแล้ว ได้ถูกนําไปให้หลวงปู่พิศดูท่านปลุกเสกอีกครั้งพร้อมพระปัจเจกสีเขียว ซึ่งจะปั๊มตรายันต์พระพุทธเจ้าชนะมารไว้ ( บางส่วนได้แจกไปโดยไม่ปั๊มก็มีแต่น้อยมาก ) พระบางส่วนได้นําไปถวายวัดอื่นเพื่อทําประโยชน์ผ่านท่านครูบากฤษดา และอีกบางส่วนฝังไว้ที่เสาวิหาร วัดสันพระเจ้าแดง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มิถุนายน 2017
  8. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,195
    ค่าพลัง:
    +14,323

    เห็นแล้วกิเลสขึ้นเลย 555
    สวัสดียามสายครับป๋า
     
  9. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท สภาพแบบนี้คัดจากหลายสิบองค์เลยครับ
     
  10. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    ไมเห็นนานแล้วครับ ชุดแจกกรรมการ

    กริ่ง150ปีกรรมการ.gif

    พระกริ่ง150ปีเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ เนื้อชนวนก้นเงิน กรรมการ หลวงปู่บุญฤทธิ์ เจิมแป้ง หลวงปู่พวง สุขินทริโย จาร

    จัดสร้างเมื่อปี2549 เนื่องในโอกาส ครบ150แห่งชาตกาลของท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท)

    เนื้อโลหะเป็นเนื้อชนวน ก้นเงิน สร้างจำนวนประมาณ49องค์

    พิธี.....
    วันศุกร์ที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๙ แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๔

    เวลา ๑๔.๓๐ น. - พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนนต์ ณ พระอุโบสถวัดบรมนิวาส
    เวลา ๑๕.๐๙ น. - สมเด็จพระญาณวโรดม วัดเทพศิรินทราวาส เป็นประธานในพิธีเททองหล่อ
    พระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ รุ่น ๑๕๐ ปี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
    (หลวงปู่ทิม วัดพระขาว,หลวงพ่อรวย วัดตะโก,หลวงพ่อเจริญ วัดถ้ำปากเปียง,หลวงพ่อคูณ สุเมโธ นั่งปรกสี่ทิศ)
    เวลา ๒๐.๑๙ น. - พระพรหมมุนี วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เป็นประธานจุดเทียนชัยพิธีพุทธาภิเษกวัตถุ
    มงคลรุ่น ๑๕๐ ปี
    พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ณ ศาลาอุรุพงษ์ วัดบรมนิวาส
    - พระพิธีธรรมเจริญพระคาถาพุทธาภิเษก
    - พระคณาจารย์ ๒๐ รูป นั่งปรกอธิษฐานจิต
    1.สมเด็จญาณวโรดม วัดเทพศิรินทร์ กรุงเทพฯ
    2.พระพรหมมุนี วัดบวรนิเวส กรุงเทพฯ
    3.หลวงปู่บุญฤทธิ์ ที่พักสงฆ์สวนทิพย์ นนทบุรี
    4.หลวงปู่จันทร์แรม วัดเกาะแก้วธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    5.หลวงตาพวง วัดศรีธรรมาราม ยโสธร
    6.หลวงปู่บุญเพ็ง วัดป่าวิเวกธรรม ขอนแก่น
    7.หลวงปู่ท่อน วัดป่าศรีอภัยวัน เลย
    8.พระราชวรคุณ วัดบูรพาราม สุรินทร์
    9.หลวงพ่อคำบ่อ วัดป่าบ้านตาล สกลนคร
    10.หลวงพ่อคูณ วัดป่าภูทอง อุดรธานี
    11.พระวิมลศีลาจาร วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
    12.หลวงปู่ทิม วัดพระขาว อยุธยา
    13.หลวงพ่อรวย วัดตะโก อยุธยา
    14.หลวงพ่อทอง วัดรังสีสุทธาวาส ชลบุรี
    15.หลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว ชลบุรี
    16.หลวงปู่กาหลง วัดเขาแหลม สระแก้ว
    17.หลวงพ่ออั้น วัดโรงโค อุทัยธานี
    18.หลวงพ่อเจือ วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
    19.หลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ ระยอง
    20.พระอาจารย์วิชัย วัดถ้ำผาจม เชียงราย
    เวลา ๒๒.๓๙ น. - พระเทพสังวรญาณ (หลวงตาพวง สุขินฺทริโย) วัดศรีธรรมาราม จังหวัดยโสธร
    ดับเทียนชัย เสร็จพิธี
    ข้อมูลพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ รุ่น150ปี เจ้าคุณอุบาลี วัดบรมนิวาส

    ชนวน.......
    พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ และแหวนนารายณ์ทรงครุฑ รุ่น๑๕๐ปี ชาตกาล พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ๑.ชนวนสำคัญ - พระยันต์ ๑๐๘ พระยันต์ - นะ ๑๔ พระยันต์ - แผ่นจาร พระคณาจารย์ ๑๐๘ รูป (สมเด็จพระญาณสังวร,หลวงตาพวง, หลวงพ่ออุ้น, หลวงพ่อตัด,หลวงพ่อเจือ.หลวงพ่อเอียด,หลวง พ่อเพิ่ม,หลวงพ่อพูน,หลวงพ่อเพี้ยน,หลวงพ่ออั๊บ,หลวงปู่แย้ม เป็นต้น) - ชนวนพระนาคปรกแสงอรุณ วัดบรมฯ ปี ๒๔๙๕ - ชนวนช่อพระกริ่งสิทธัตโถ วัดบรมฯ ปี ๐๘, ปี ๑๒, ปี ๑๗ - ชนวนพระแก้ว ปี ๒๔๗๕ - ชนวนวัตถุมงคล ๒๕ พุทธศตวรรษ - ชนวนพระกริ่งคุ้มเกล้า ปี ๒๒ - ชนวนวัตถุมงคล รุ่นฉลอง ๒๐๐ ปี กทม. - ชนวนพระกลีบบัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว - ชนวนวัตถุมงคลวัดเขาอ้อ ปี ๓๙ และแผ่นจาร - ชนวนพระชัยหลังช้าง ภปร สก ปี ๓๐ - ชนวนพระกริ่งรักษาดินแดน (เจ้าคุณนรฯ) - ชนวนพระกรุท่ากระดาน กาญจนบุรี - ชนวนเหรียญหลวงปู่เสาร์ หลวงปู่มั่น ปี ๙๒ - ชนวนเหรียญ ๕ อาจารย์วัดสุปัฏฏนาราม อุบลฯ ปี ๑๖ - ตะกรุดหลวงพ่อป่าน วัดบางนมโค - ชนวนหลวงปู่ทวด วัดโพธิ์ฯ ปี ๑๓ - ชนวนวัตถุมงคล วัดป่าทรงคุณ ปราจีนบุรี ปี ๒๑ - ชนวนวัตถุมงคล หลวงพ่อโสธร ปี๓๖ - ชนวนพระกริ่งตากสินทร์ - ชนวนวัตถุมงคลหลวงพ่ออิ่มตลอดกาล - ชนวนพระพุทธชินราช ปี ๓๕ - ชนวนพระพุทธชินราช ปี ๓๗ - ชนวนวัตถุมงคลวัดแก้วพิจิตร ปราจีนบุรี - ชนวนหลวงพ่อหก วัดสะแกซึง - ชนวนวัตถุมงคลพระธาตุดอยสุเทพ ปี ๑๘ - ชนวนพระกริ่งสีลวุฒโฑ (หลวงปู่เส วัดบูรพาราม) ปี ๔๗ - ชนวนวัตถุมงคลวัดสิริจันทรนิมิตร (เขาพระงาม) ลพบุรี - ชนวนวัตถุมงคลวัดนิมมานนรดี ปี ๑๔ - ชนวนวัตถุมงคลพระทิพย์อำนาจ ปี ๓๘ - ชนวนวัตถุมงคล ๗๐๐ ปี ลายสือไทย - ชนวนพระกริ่ง ๖๐ ปี ธรรมศาสตร์ - ชนวนพระกริ่ง – พระสมเด็จจอมสุรินทร์ ปี ๑๓ - ชนวนพระพุทธปริต ปี ๑๔ - ชนวนวัตถุมงคลพระเจ้าใหญ่อินแปลง อุบลฯ ปี ๑๖ - ชนวนพระกริ่งวัดสุทัศฯ ปี ๘๕ - ชนวนพระนาคปรกนาสีดา - ชนวนพระไพรีพินาศ วัดบวรนิเวศฯ - ชนวนวัตถุมงคลบรมครูหมอชีวกโกมารภัจจ์ ปี ๔๕ - ช่อพระกริ่ง พระชัยวัฒน์ รุ่น150ปี สิริจันโท ๒.ทองชนวน ๑๕๐ พระคณาจารย์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อยู่) วัดสระเกศ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน) วัดมกุฏฯ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น) วัดโพธิ์ฯ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาส)วัดราชบพิธฯ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ) วัดมหาธาตุฯ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์) วัดพระศรีฯ สมเด็จพระธีรญษณมุนี (สนิท) วัดปทุมคงคา สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต) วัดสัมพันธวงศ์ หลวงปู่คำพันธ์ โฆษปญฺโญ หลวงปู่ชอบ หลวงปู่อ่อนศรี หลวงปู่อุ่น อุตฺตโม หลวงปู่สาม หลวงปู่คำคะนิง หลวงปู่หลุย หลวงพ่อสุด วัดกาหลง หลวงพ่อคง วัหนองกระจาย หลวงปู่ขาว หลวงปู่มหาปิ่น หลวงปู่วัน หลวงพ่อเต๋ หลวงปู่เปลี้ย หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย หลวงพ่อแดง วัดเขาบรรไดอิฐ หลวงปู่เจ๊ก หลวงปู่ชื่น วัดมาบข่า หลวงพ่อตาบ หลวงปู่กว่า หลวงปู่แหวน หลวงปู่หุ่น วัดบางขวด หลวงปู่คร่ำ หลวงพ่อพุธ หลวงปู่หลอด หลวงปู่ฝั้น หลวงปู่หลวง หลวงปู่เหรียญ หลวงปู่บุญมี สิริธโร หลวงพ่อเกษม หลวงปู่จันทร์ เขมิโย หลวงปู่หงษ์ หลวงปู่อ่อน หลวงปู่สมชาย หลวงปู่ธรรมรังษี หลวงปู่ชม วัดเขานันทาราม หลวงปู่เมตตาหลวง หลวงปู่สิม หลวงปู่จวน หลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต หลวงปู่บัวพา หลวงปู่ลี ฐิตธมฺโม ครูบาพรหมจักรสังวร หลวงพ่ออวยพร หลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู หลวงปู่บุญมี วัดอ่างแก้ว หลวงปู่บุดดา หลวงปู่จันทร์โสม หลวงปู่จันทร์ วัดบึงเขาหลวง หลวงปู่เส วัดบูรพาราม หลวงพ่อสมบูรณ์ หลวงพ่อสายหยุด วัดอดิสร หลวงปู่ปราโมทย์ วัดป่านิโคธาราม หลวงปู่แสง หลวงปู่โทน วัดเขาน้อยคีรีวัน หลวงปู่ต้น หลวงปู่กิ หลวงปู่ผ่าน หลวงปู่คำพอง หลวงปู่มา ญาณวโร หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ หลวงพ่อทองบัว ตนฺติกโร พระเทพวรคุณ(สิงห์) หลวงปู่ศรีจันทร์ เจ้าคุณนรรัตน์ราชมานิต หลวงปู่ซามา หลวงพ่อคง วัดอินทาราม หลวงพ่อแพ หลวงปู่โง่น หลวงปู่ผล วัดดักคะนนท์ หลวงปู่ห้อม วัดคูหาสวรรค์ หลวงปู่ท่อน หลวงปู่สีทน สีลธโน หลวงปู่พวง หลวงปู่สังข์ วัดท่าช้างใหญ่ หลวงปู่ชา หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก หลวงพ่อจ้อย วัเขาสุวรรณประดิษฐ์ พระศรีสัจจญาณมุณี วัดสุทัศฯ หลวงพ่อทอง วัดก้อนแก้ว หลวงปู่ดูลย์ พ่อท่านกลั่น วัดเขาอ้อ หลวงปู่สาย เขมธมฺโม หลวงปู่มหาโส หลวงปู่บุญหนา หลวงปู่จันทา หลวงปู่จ้อย วัดหนองน้ำเขียว หลวงพ่อมหาสนธ์ หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต พระพรหมมุนี (บู่) หลวงพ่อสาคร หลวงปู่ทิม อิสริโก หลวงพ่ออุตตมะ หลวงปู่พรหมา เขมจาโร หลวงตามหาบัว หลวงปู่เพียร หลวงปู่อ่ำ หลวงปู่ขาน หลวงพ่อคำบ่อ หลวงพ่อหยอด หลวงปู่แว่น หลวงปู่ถิร หลวงพ่อรวย หลวงพ่อจรัญ หลวงปู่ทิม วัดพระขาว หลวงพ่อสินทร์ วัดบ้านนาโพธิ์ หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม หลวงปู่เทสก์ หลวงปู่หลิว ครูบาอินคำ วัดทุ่งฟ้าผ่า ครูบาอิน วัดฟ้าหรั่ง หลวงพ่อจ้อย วัดศรีอุทุมพร หลวงปู่ขาว วัดหลักสี่ หลวงปู่เปรื่อง หลวงปู่เทียม วัดกษัตราธิราช หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว หลวงปู่สงฆ์ วัดเจ้าฟ้าฯ พ่อท่านคล้าย หลวงพ่อเชิญ พ่อท่านนอง หลวงพ่อทองพูล หลวงพ่อเปิ่น ครูบาน้อย วัดศรีดอนมูล หลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย หลวงปู่กรอง หลวงปู่เขียน วัดถ้ำขุนเณร หลวงปู่ไสว หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน หลวงพ่อโอภาสี หลวงพ่อบุญเรือน วัดยางสุทธาราม หลวงพ่อคล้อย วัดถ้ำเขาเงิน พ่อท่านสีนวล วัดเกวียนหัก พระครูประสานนรกิจ วัดพระนอนจักรสีห์ พระครูสังฆบริรักษ์ (มโนรมณ์) วัดบรมฯ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (รักษ์) หลวงตาแตงอ่อน หลวงพ่อไพบูลย์ หลวงปู่ทา หลวงปู่ทอง วัดสามปลื้ม
     
  11. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เปิดเหรียญเสมาฉลุ พระกริ่งปวเรศ เนื้อเงิน สภาพสวยเดิมๆครับ

    เหรียญฉลุเนื้อเงิน.gif
    เหรียญฉลุเนื้อเงิน2.gif


    เหรียญเสมาฉลุ พระกริ่งปวเรศ - พระกริ่งปวเรศชินบัญชร


    สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก
    ทรงพระกรุณาโปรดประทานอนุญาตให้ วัดอาวุธวิกสิตาราม จัดสร้างวัตถุมงคล รุ่น “ พุทธปวเรศ ”


    วัตถุประสงค์

    ๑. สมทบโครงการ “ พระสังฆราชบูชา พระชันษา ๑๐๐ ปี ” เพื่อซื้อเครื่องมือแพทย์

    ๒. สมทบสร้างอาคารกุฏิสงฆ์วัดอาวุธวิกสิตาราม

    พระเทพปัญญามุนี เจ้าอาวาสวัดอาวุธวิกสิตาราม ประธานจัดสร้าง




    พิธีมหาพุทธาพิเศก ณ. อารามหลวงชั้นเอก วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 13 ธันวาคม 2554 พิธีเริ่ม 12.00 - 16.00 น.

    นิมนต์เกจิชื่อดังทั่วประเทศ จำนวน 118 รูป และ พระสงฆ์ 199 รูป

    หมายเหตุ วัตถุมงคล มีโค๊ด มีหมายเลข และบัตรประจำองค์ กำกับทุกองค์

    มวลสารสำคัญแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ

    ส่วนที่ 1 ผงพุทธคุณ จะนำไปฝังตะกรุดทองคำแท้ และนำไปใส่ไว้ในช่องด้านหลังเหรียญปวเรศทุกองค์ครับ

    ส่วนที่ 2 เนื้อโลหะ นำมาเป็นมวลสารจัดสร้างเนื้อโลหะ ทั้งเหรียญปวเรศ และพระกริ่งปวเรศชินบัญชรครับ

    ส่วนที่ 3 เนื้อโลหะที่ต้องใช้ทองคำ เป็นมวลสารครับ

    ส่วนที่ 1 มีมวลสารที่สุดยอดพระเครื่องเมืองไทยหลายเกจิหลายอาจารย์ ที่ทุกท่านทราบ และเสาะแสวงหากันทุกคน ประกอบด้วย
    1.1 สมเด็จวัดระฆัง ... จักรพรรดิพระเครื่องเมืองไทย
    1.2 สมเด็จบางขุนพรหม ปี 2509 ... ซึ่งมีมวลสารสมเด็จบางขุนพรหมเป็นมวลสารหลักครับ
    1.3 เนื้อว่านหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ รุ่นแรก ปี 2497
    1.4 ลูกอม อาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ซึ่งหายากมากครับ สายหลวงปู่ทวดทราบกันดีครับ
    1.5 จีวร อาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ...
    1.6 เกศาหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ครับ
    1.7 ผงยาจินดามณี ลป.บุญอยู่ ท่านมีศักดิ์เป็นหลานแท้ๆ ลป.บุญ วัดกลางบางแก้ว
    มวลสารที่กล่าวมาทั้งหมดครับ จะเป็นผงพุทธคุณ ที่จะนำไปห่อด้วยตะกรุดทองคำแท้ และนำไปใส่ไว้ในช่องด้านบน ด้านหลังเหรียญปวเรศ ทุกเหรียญครับ
    ...................................................................

    ส่วนที่ 2 มีมวลสารสำคัญ ครอบจักรวาล ทั้งด้านเลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง แคล้วคลาด มหานิยม และทุกๆด้านครับ ประกอบด้วย
    2.1 เหรียญเลื่อนสมณศักดิ์ หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ ปี2508
    2.2 เหรียญพุฒซ้อน หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ ปี2509
    2.3 เหรียญพุฒซ้อน หลวงปู่ทวด วัดช้างไห้ ปี2511
    2.4 เหรียญเจริญพร หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ จ.ระยอง
    2.5 เหรียญหลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ ปี 2517
    2.6 เหรียญเสมาฉลุ ยกองค์ เลื่อนสมณศักดิ์ หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
    มวลสารทั้งหมดที่เอ่ยมา จะนำมาจัดสร้างมวลสารที่เป็นเนื้อโลหะ ทั้งเหรียญปวเรศ และพระกริ่งปวเรศชินบัญชรครับ
    ...................................................................

    ส่วนที่ 3 เนื้อโลหะ ที่ต้องใช้ทองคำเป็นมวลสาร จะมีวัตถุมงคลเนื้อทองคำ นำมาหล่อหลอมรวมเป็นมวลสารครับ ประกอบด้วย
    3.1 รูปหล่อสมเด็จพุฒาจารย์ สมเด็จโต เนื้อทองคำ
    3.2 รูปหล่อหลวงปู่ทวด เนื้อทองคำ
    3.3 รูปหล่อหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน เนื้อทองคำ

    พิธีมหาพุทธาพิเศก ณ. อารามหลวงชั้นเอก วัดบวรนิเวศวิหาร วันที่ 13 ธันวาคม 2554 พิธีเริ่ม 12.00 - 16.00 น.

    รายนามพระเกจิครับ ...

    - หลวงปู่คำบุ คุตตจิตโต วัดกุดชมภู ต.กุดชมภู อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี
    - หลวงปู่บุญหนา ธมฺมทินฺโน วัดป่าโสตถิผล ต.ช้างมิ่ง อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
    - หลวงพ่อบุญอุ้ม อภัสสโร วัดป่าโนนแพง อ.บ้านแพง จังหวัดนครพนม
    - หลวงปู่แขก ปภาโส วัดสุนทรประดิษฐ์ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
    - หลวงพ่อพูน ฐิตสีโล วัดบ้านแพน อ.เสนา จ.อยุธยา
    - หลวงปู่เกลี้ยง มนญโญ วัดเนินสุทธาวาส จ.ชลบุรี
    - หลวงพ่อผอง ธมมธีโร วัดพรหมยาม จ.เพชรบูรณ์
    - พระมหาสุรศักดิ์ อติสกโข วัดประดู่ จ.สมุทรสงคราม
    - หลวงพ่อคง วัดเขากลิ้ง จ.เพชรบุรี
    - ครูบากฤษณะ อินทวัณโณ สำนักสงฆ์เวฬุวัน อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา
    - หลวงพ่ออุดม อุตตมปญฺโญ วัดพิชัยสงคราม จ.พระนครศรีอยุธยา
    - หลวงพ่อฟู อติภทโท วัดบางสมัคร อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา
    - หลวงปู่นาม วัดน้อยชมภู่ อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    - หลวงปู่หริ อคฺคสิริ วัดละหาร อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี
    - หลวงปู่บุญ โสภโณ วัดทุ่งเหียง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
    - หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม จ.พระนครศรีอยุธยา
    - หลวงพ่อเอื้อน วัดวังแดงใต้ อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา
    - ครูบาอริยะชาติ วัดแสงแก้ว อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
    - หลวงพ่อเพี้ยน วัดเกริ่นกฐิน อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
    - พระอาจารย์แดง วัดไร่ จ.ปัตตานี

    ประธานในพิธีฝ่ายพระสงฆ์
    - เจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต ป.ธ.๙) แม่กองธรรมสนามหลวง วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
    ดำรงตำแหน่งรักษาการแทนเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต กรรมการมหาเถรสมาคม และแม่กองธรรมสนามหลวง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร
     
  12. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,195
    ค่าพลัง:
    +14,323

    สวยไม่สวยไม่รู้อยากได้ๆๆ 5555
    สวัสดียามสายครับป๋า
     
  13. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    สวัสดีครับเสี่ยเฟริส์ท จัดไปดิยังมีนวะอยู่อีก1องค์
     
  14. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เปิดพระกริ่ง150ปีเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ วัดบรมนิวาส หมายเลข77

    DSC_0233.JPG DSC_0240.JPG
    DSC_0238.JPG DSC_0239.JPG

    จัดสร้างเมื่อปี2549 เนื่องในโอกาส ครบ150แห่งชาตกาลของท่านเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท)
    พิธี.....
    วันศุกร์ที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๙ แรม ๑๐ ค่ำ เดือน ๔

    เวลา ๑๔.๓๐ น. - พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนนต์ ณ พระอุโบสถวัดบรมนิวาส
    เวลา ๑๕.๐๙ น. - สมเด็จพระญาณวโรดม วัดเทพศิรินทราวาส เป็นประธานในพิธีเททองหล่อ
    พระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ รุ่น ๑๕๐ ปี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)
    (หลวงปู่ทิม วัดพระขาว,หลวงพ่อรวย วัดตะโก,หลวงพ่อเจริญ วัดถ้ำปากเปียง,หลวงพ่อคูณ สุเมโธ นั่งปรกสี่ทิศ)
    เวลา ๒๐.๑๙ น. - พระพรหมมุนี วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร เป็นประธานจุดเทียนชัยพิธีพุทธาภิเษกวัตถุ
    มงคลรุ่น ๑๕๐ ปี
    พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ณ ศาลาอุรุพงษ์ วัดบรมนิวาส
    - พระพิธีธรรมเจริญพระคาถาพุทธาภิเษก
    - พระคณาจารย์ ๒๐ รูป นั่งปรกอธิษฐานจิต
    1.สมเด็จญาณวโรดม วัดเทพศิรินทร์ กรุงเทพฯ
    2.พระพรหมมุนี วัดบวรนิเวส กรุงเทพฯ
    3.หลวงปู่บุญฤทธิ์ ที่พักสงฆ์สวนทิพย์ นนทบุรี
    4.หลวงปู่จันทร์แรม วัดเกาะแก้วธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    5.หลวงตาพวง วัดศรีธรรมาราม ยโสธร
    6.หลวงปู่บุญเพ็ง วัดป่าวิเวกธรรม ขอนแก่น
    7.หลวงปู่ท่อน วัดป่าศรีอภัยวัน เลย
    8.พระราชวรคุณ วัดบูรพาราม สุรินทร์
    9.หลวงพ่อคำบ่อ วัดป่าบ้านตาล สกลนคร
    10.หลวงพ่อคูณ วัดป่าภูทอง อุดรธานี
    11.พระวิมลศีลาจาร วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
    12.หลวงปู่ทิม วัดพระขาว อยุธยา
    13.หลวงพ่อรวย วัดตะโก อยุธยา
    14.หลวงพ่อทอง วัดรังสีสุทธาวาส ชลบุรี
    15.หลวงพ่อจ้อย วัดหนองน้ำเขียว ชลบุรี
    16.หลวงปู่กาหลง วัดเขาแหลม สระแก้ว
    17.หลวงพ่ออั้น วัดโรงโค อุทัยธานี
    18.หลวงพ่อเจือ วัดกลางบางแก้ว นครปฐม
    19.หลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ ระยอง
    20.พระอาจารย์วิชัย วัดถ้ำผาจม เชียงราย
    เวลา ๒๒.๓๙ น. - พระเทพสังวรญาณ (หลวงตาพวง สุขินฺทริโย) วัดศรีธรรมาราม จังหวัดยโสธร
    ดับเทียนชัย เสร็จพิธี
    ข้อมูลพระกริ่ง-พระชัยวัฒน์ รุ่น150ปี เจ้าคุณอุบาลี วัดบรมนิวาส

    ชนวน.......
    พระกริ่ง พระชัยวัฒน์ และแหวนนารายณ์ทรงครุฑ รุ่น๑๕๐ปี ชาตกาล พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ๑.ชนวนสำคัญ - พระยันต์ ๑๐๘ พระยันต์ - นะ ๑๔ พระยันต์ - แผ่นจาร พระคณาจารย์ ๑๐๘ รูป (สมเด็จพระญาณสังวร,หลวงตาพวง, หลวงพ่ออุ้น, หลวงพ่อตัด,หลวงพ่อเจือ.หลวงพ่อเอียด,หลวง พ่อเพิ่ม,หลวงพ่อพูน,หลวงพ่อเพี้ยน,หลวงพ่ออั๊บ,หลวงปู่แย้ม เป็นต้น) - ชนวนพระนาคปรกแสงอรุณ วัดบรมฯ ปี ๒๔๙๕ - ชนวนช่อพระกริ่งสิทธัตโถ วัดบรมฯ ปี ๐๘, ปี ๑๒, ปี ๑๗ - ชนวนพระแก้ว ปี ๒๔๗๕ - ชนวนวัตถุมงคล ๒๕ พุทธศตวรรษ - ชนวนพระกริ่งคุ้มเกล้า ปี ๒๒ - ชนวนวัตถุมงคล รุ่นฉลอง ๒๐๐ ปี กทม. - ชนวนพระกลีบบัวหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว - ชนวนวัตถุมงคลวัดเขาอ้อ ปี ๓๙ และแผ่นจาร - ชนวนพระชัยหลังช้าง ภปร สก ปี ๓๐ - ชนวนพระกริ่งรักษาดินแดน (เจ้าคุณนรฯ) - ชนวนพระกรุท่ากระดาน กาญจนบุรี - ชนวนเหรียญหลวงปู่เสาร์ หลวงปู่มั่น ปี ๙๒ - ชนวนเหรียญ ๕ อาจารย์วัดสุปัฏฏนาราม อุบลฯ ปี ๑๖ - ตะกรุดหลวงพ่อป่าน วัดบางนมโค - ชนวนหลวงปู่ทวด วัดโพธิ์ฯ ปี ๑๓ - ชนวนวัตถุมงคล วัดป่าทรงคุณ ปราจีนบุรี ปี ๒๑ - ชนวนวัตถุมงคล หลวงพ่อโสธร ปี๓๖ - ชนวนพระกริ่งตากสินทร์ - ชนวนวัตถุมงคลหลวงพ่ออิ่มตลอดกาล - ชนวนพระพุทธชินราช ปี ๓๕ - ชนวนพระพุทธชินราช ปี ๓๗ - ชนวนวัตถุมงคลวัดแก้วพิจิตร ปราจีนบุรี - ชนวนหลวงพ่อหก วัดสะแกซึง - ชนวนวัตถุมงคลพระธาตุดอยสุเทพ ปี ๑๘ - ชนวนพระกริ่งสีลวุฒโฑ (หลวงปู่เส วัดบูรพาราม) ปี ๔๗ - ชนวนวัตถุมงคลวัดสิริจันทรนิมิตร (เขาพระงาม) ลพบุรี - ชนวนวัตถุมงคลวัดนิมมานนรดี ปี ๑๔ - ชนวนวัตถุมงคลพระทิพย์อำนาจ ปี ๓๘ - ชนวนวัตถุมงคล ๗๐๐ ปี ลายสือไทย - ชนวนพระกริ่ง ๖๐ ปี ธรรมศาสตร์ - ชนวนพระกริ่ง – พระสมเด็จจอมสุรินทร์ ปี ๑๓ - ชนวนพระพุทธปริต ปี ๑๔ - ชนวนวัตถุมงคลพระเจ้าใหญ่อินแปลง อุบลฯ ปี ๑๖ - ชนวนพระกริ่งวัดสุทัศฯ ปี ๘๕ - ชนวนพระนาคปรกนาสีดา - ชนวนพระไพรีพินาศ วัดบวรนิเวศฯ - ชนวนวัตถุมงคลบรมครูหมอชีวกโกมารภัจจ์ ปี ๔๕ - ช่อพระกริ่ง พระชัยวัฒน์ รุ่น150ปี สิริจันโท ๒.ทองชนวน ๑๕๐ พระคณาจารย์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อยู่) วัดสระเกศ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน) วัดมกุฏฯ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (ปุ่น) วัดโพธิ์ฯ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาส)วัดราชบพิธฯ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ) วัดมหาธาตุฯ สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์) วัดพระศรีฯ สมเด็จพระธีรญษณมุนี (สนิท) วัดปทุมคงคา สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต) วัดสัมพันธวงศ์ หลวงปู่คำพันธ์ โฆษปญฺโญ หลวงปู่ชอบ หลวงปู่อ่อนศรี หลวงปู่อุ่น อุตฺตโม หลวงปู่สาม หลวงปู่คำคะนิง หลวงปู่หลุย หลวงพ่อสุด วัดกาหลง หลวงพ่อคง วัหนองกระจาย หลวงปู่ขาว หลวงปู่มหาปิ่น หลวงปู่วัน หลวงพ่อเต๋ หลวงปู่เปลี้ย หลวงพ่อมี วัดมารวิชัย หลวงพ่อแดง วัดเขาบรรไดอิฐ หลวงปู่เจ๊ก หลวงปู่ชื่น วัดมาบข่า หลวงพ่อตาบ หลวงปู่กว่า หลวงปู่แหวน หลวงปู่หุ่น วัดบางขวด หลวงปู่คร่ำ หลวงพ่อพุธ หลวงปู่หลอด หลวงปู่ฝั้น หลวงปู่หลวง หลวงปู่เหรียญ หลวงปู่บุญมี สิริธโร หลวงพ่อเกษม หลวงปู่จันทร์ เขมิโย หลวงปู่หงษ์ หลวงปู่อ่อน หลวงปู่สมชาย หลวงปู่ธรรมรังษี หลวงปู่ชม วัดเขานันทาราม หลวงปู่เมตตาหลวง หลวงปู่สิม หลวงปู่จวน หลวงปู่ผาง จิตฺตคุตฺโต หลวงปู่บัวพา หลวงปู่ลี ฐิตธมฺโม ครูบาพรหมจักรสังวร หลวงพ่ออวยพร หลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่สังข์ สงฺกิจฺโจ หลวงพ่อพริ้ง วัดโบสถ์โก่งธนู หลวงปู่บุญมี วัดอ่างแก้ว หลวงปู่บุดดา หลวงปู่จันทร์โสม หลวงปู่จันทร์ วัดบึงเขาหลวง หลวงปู่เส วัดบูรพาราม หลวงพ่อสมบูรณ์ หลวงพ่อสายหยุด วัดอดิสร หลวงปู่ปราโมทย์ วัดป่านิโคธาราม หลวงปู่แสง หลวงปู่โทน วัดเขาน้อยคีรีวัน หลวงปู่ต้น หลวงปู่กิ หลวงปู่ผ่าน หลวงปู่คำพอง หลวงปู่มา ญาณวโร หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ หลวงพ่อทองบัว ตนฺติกโร พระเทพวรคุณ(สิงห์) หลวงปู่ศรีจันทร์ เจ้าคุณนรรัตน์ราชมานิต หลวงปู่ซามา หลวงพ่อคง วัดอินทาราม หลวงพ่อแพ หลวงปู่โง่น หลวงปู่ผล วัดดักคะนนท์ หลวงปู่ห้อม วัดคูหาสวรรค์ หลวงปู่ท่อน หลวงปู่สีทน สีลธโน หลวงปู่พวง หลวงปู่สังข์ วัดท่าช้างใหญ่ หลวงปู่ชา หลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก หลวงพ่อจ้อย วัเขาสุวรรณประดิษฐ์ พระศรีสัจจญาณมุณี วัดสุทัศฯ หลวงพ่อทอง วัดก้อนแก้ว หลวงปู่ดูลย์ พ่อท่านกลั่น วัดเขาอ้อ หลวงปู่สาย เขมธมฺโม หลวงปู่มหาโส หลวงปู่บุญหนา หลวงปู่จันทา หลวงปู่จ้อย วัดหนองน้ำเขียว หลวงพ่อมหาสนธ์ หลวงปู่ทองดำ วัดท่าทอง หลวงปู่บุญเพ็ง เขมาภิรโต พระพรหมมุนี (บู่) หลวงพ่อสาคร หลวงปู่ทิม อิสริโก หลวงพ่ออุตตมะ หลวงปู่พรหมา เขมจาโร หลวงตามหาบัว หลวงปู่เพียร หลวงปู่อ่ำ หลวงปู่ขาน หลวงพ่อคำบ่อ หลวงพ่อหยอด หลวงปู่แว่น หลวงปู่ถิร หลวงพ่อรวย หลวงพ่อจรัญ หลวงปู่ทิม วัดพระขาว หลวงพ่อสินทร์ วัดบ้านนาโพธิ์ หลวงพ่อพูล วัดไผ่ล้อม หลวงปู่เทสก์ หลวงปู่หลิว ครูบาอินคำ วัดทุ่งฟ้าผ่า ครูบาอิน วัดฟ้าหรั่ง หลวงพ่อจ้อย วัดศรีอุทุมพร หลวงปู่ขาว วัดหลักสี่ หลวงปู่เปรื่อง หลวงปู่เทียม วัดกษัตราธิราช หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว หลวงปู่สงฆ์ วัดเจ้าฟ้าฯ พ่อท่านคล้าย หลวงพ่อเชิญ พ่อท่านนอง หลวงพ่อทองพูล หลวงพ่อเปิ่น ครูบาน้อย วัดศรีดอนมูล หลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย หลวงปู่กรอง หลวงปู่เขียน วัดถ้ำขุนเณร หลวงปู่ไสว หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน หลวงพ่อโอภาสี หลวงพ่อบุญเรือน วัดยางสุทธาราม หลวงพ่อคล้อย วัดถ้ำเขาเงิน พ่อท่านสีนวล วัดเกวียนหัก พระครูประสานนรกิจ วัดพระนอนจักรสีห์ พระครูสังฆบริรักษ์ (มโนรมณ์) วัดบรมฯ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (รักษ์) หลวงตาแตงอ่อน หลวงพ่อไพบูลย์ หลวงปู่ทา หลวงปู่ทอง วัดสามปลื้ม
     
  15. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เปิดพระสมเด็จคะแนนหลังมิ วัดพระปรางค์ สิงห์บุรี
    DSC_0247.JPG DSC_0248.JPG

    พระเครื่องชุดนี้ ออกในงานสร้างอุโบสถ พิธีเสาร์ห้า ของวัดพระปรางค์ เมื่อพ.ศ.๒๕๑๔ พระเกจิที่มาร่วมพิธีปลุกเสก เป็นเกจิสายหลวงปู่ศรี วัดพระปรางค์ ทั้งสิ้น ได้เเก่
    ๑. หลวงพ่อทอง วัดพระปรางค์
    ๒. หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
    ๓. หลวงพ่อฟุ้ง วัดสะเดา
    ๔. หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
    ๕. หลวงพ่อเจ้ย วัดห้วยเจริญสุข
    ๖. หลวงพ่อบัว วัดเเสวงหา
    ๗. หลวงพ่อพิม วัดวิหารทอง
    ๘. หลวงพ่อเเพ วัดพิกุลทอง
    ๙. หลวงปู่เย็น วัดกลางชูศรี
    วัตถุมงคลที่ออกให้บูชาในครั้งนี้ มากมายหลายอย่าง ได้แก่
    ๑. พระสมเด็จเนื้อดินเผา พิมพ์ใหญ่หลังพระปรางค์
    ๒. พระพิมพ์คะแนนเนื้อดินเผา หลังมิ
    ๓. พระสมเด็จเนื้อผง พิมพ์ใหญ่หลังพระปรางค์
    ๔. พิมพ์คะแนน เนื้อผง หลังมิ
    ๕. พระขุนแผนหลังสามมิ
    ๖. พระลีลาหลังมิ
    ๗. พระขุนแผนชมตลาดหลังมิ
    ๘. พระเนื้อดิน พิมพ์ปาฏิหารย์ ด้านหลังปั๊มบล็อกของสมเด็จหลังพระปรางค์ (หายากมาก)
     
  16. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เหรียญพระมหาอุปคุตจิ๋ว รุ่นพระชนะมาร หลวงปู่พิศดู-ครูบากฤษดาอธิษฐานจิต จัดมาให้1คู่ครับ



    DSC_0252.JPG DSC_0253.JPG DSC_0254.JPG DSC_0255.JPG

    เหรียญพระมหาอุปคุต องค์จิ๋ว(รุ่น..พระชนะมาร)

    - เหรียญนี้จัดสร้างพร้อมกับล็อกเก็ตรุ่นโสฬสญาณมงคลปู่หลาน ในปีพ.ศ.2553 โดยคณะศิษยจ์อุปัฏฐากได้ขออนุญาติองค์หลวงปู่จัดสร้าง พิธีอธิษฐานจิตโดยท่านครูบากฤษดา วัดสันพระเจ้าแดง และองค์หลวงปู่พิศดู ได้อธิษฐานจิตตลอดมาเป็นเวลาหลายเดือนก่อนจะเข้าสู่แดนนิพพาน นับเป็นวัตถุมงคลรูปพระมหาอุปคุตรุ่นสุดท้ายที่องค์หลวงปู่ได้สร้างเสกสรรไว้
    โดยออกแบบให้เป็นรูปพระมหาอุปคุต พระหัตถ์ข้างหนึ่งจกบาตร อีกพระหัตถ์หนึ่งถือดอกบัว เพื่อบูชาพระพุทธองค์ และแหงนพระภักร์ชำเลืองมาร(มิให้ทำกิจอันเดือดร้อนวุ่นวายต่อผู้ที่นับถือพระศาสนา) เพราะองค์พระมหาอุปคุตเป็นผู้เลิศในทางฤทธิ์ เป็นผู้ที่พระพุทธองค์ทรงพุทธทำนายเอาไว้ว่า ต่อไปภายหน้าหลังพุทธปรินิพพานแล้ว 200 ปีเศษ ท่านพระอุปคุตจะมาเกิด และจะบรรลุโมขธรรมนำพาเวนัยสัตว์น้อยใหญ่ให้พ้นจากบ่วงของมาร ท่านจักเป็นผู้ทำกิจบางอย่างในพระศาสนาแทนพระพุทธองค์ และพระพุทธองค์ยังทรงยกย่องให้ท่านเป็นอนุพุทธะ(พระพุทธเจ้าน้อย) ที่ปราศจากมหาปุริสลักษณะ ท่านพระมหาอุปคุตองค์นี้จะเป็นผู้ปราบพยามารให้ละพยศ เพื่อให้ตั้งความปราถนาซึ่งพุทธภูมิต่อไป และด้วยองค์ท่านพระมหาอุปคุต ท่านอาศัยอยู่ในย่านปราสาทแก้วกลางสะดือทะเล จึงออกแบบองค์พระให้ท่านประทับอยู่ในซุ้มปราสาทกลางน้ำ ส่วนด้านหลัง ออกแบบให้เป็นอักขระขอมนำมาผูกร้อยเรียงกันเป็นยันต์ อ่านได้ว่า " พระชนะมาร "
    จำนวนสร้างทั้งหมดได้สร้างออกเป็นของ 2 วัด คือวัดป่ายาง(สันพระเจ้าแดง) ด้านหลังจะไม่ได้บอกชื่อวัดเป็นแต่เพียงมียันต์อย่างเดียว โดยได้สร้างถวายไว้รวม 2 เนื้อ คือเนื้อทองเหลือง และทองแดง รวมกันได้ 2,000 องค์

    ส่วนที่ออกที่วัดเทพธารทอง ด้านล่างของยันต์จะเขียนบอกชื่อวัดเทพธารทอง จำนวนการสร้างโดยแบ่งเป็น
    - เนื้อเงิน 19 องค์
    - เนื้อนวะโลหะ 200 องค์
    - เนื้ออัลปาก้า 200 องค์
    - เนื้อทองเหลือง 1,000 องค์
    - เนื้อทองแดง 1,000 องค์
    - เนื้อตะกั่ว ไม่ตัดปีก 59 องค์
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • DSC_0251.JPG
      DSC_0251.JPG
      ขนาดไฟล์:
      110.8 KB
      เปิดดู:
      52
  17. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เหรียญใบโพธิ์รุ่น5 หลวงปู่พิศดู สภาพสวยเดิมๆครับ เลี่ยมพร้อมแขวน

    DSC_0256.JPG DSC_0257.JPG

    - เหรียญรุ่นนี้สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2549 สร้างถวายโดยลูกศิษย์ชุด อุปัฏฐาก องค์หลวงปู่ โดยด้านหน้าเป็นรูปหลวงปู่พิศดูครึ่งองค์ อยู่ในใบโพธิ์ มีอักขระขอมข้างๆอ่านว่า ธัม มะ จา รี ด้านหลังเป็นปริษณาธรรมชวนให้ขบคิด อธิบายคร่าวๆได้ว่า มีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปางปฐมเทศนา ประทับอยู่กลางพระธรรมจักร ส่วนด้านล่างเป็นบัวสี่เหล่า หมายถึงบุคคลสี่จำพวก พระพุทธเจ้าทรงเปรียบระดับปัญญา ที่อยู่ในฐานะของบุคคลที่สามารถฝึกสอนให้รู้ธรรมได้และไม่ได้ในทางพระพุทธศาสนา... ออกได้สี่ระดับคือ

    ( อุคคฏิตัญญู ) พวกที่มีสติปัญญาฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้ และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็ว เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำ เมื่อต้องแสงอาทิตย์(แสงธรรม)ก็เบ่งบานทันที
    ( วิปจิตัญญู ) พวกที่มีสติปัญญาปานกลาง เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติม จะสามารถรู้และเข้าใจได้ในเวลาอันไม่ช้า เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำซึ่งจะบานในวันถัดไป

    ( เนยยะ ) พวกที่มีสติปัญญาน้อย แต่เป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติมอยู่เสมอ มีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อ มีสติมั่นประกอบด้วยศรัทธา ปสาทะ ในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ในวันหนึ่งข้างหน้า เปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำ ซึ่งจะค่อยๆ โผล่ขึ้นเบ่งบานได้ในวันหนึ่ง

    ( ปทปรมะ ) พวกที่ไร้สติปัญญา และยังเป็นมิจฉาทิฏฐิ แม้ได้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือรู้ตามได้ ทั้งยังขาดศรัทธาปสาทะ ไร้ซึ่งความเพียร เปรียบเสมือนดอกบัวที่จมอยู่กับโคลนตม ยังแต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลา ไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบาน

    ถัดจากนั้นมาจะมีอักขระยันต์ที่ระทับอยู่บนใบบัวอ่านได้ว่า พุทโธ ซึ่งเป็นบทกำหนดบริกรรมภาวนาตามแบบสายพระป่ากรรมฐาน และพุทธโธก็ยังแปลความหมายได้อีกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยธรรม ถัดจากนั้นมา จะมีอักขระอยู่ตรงข้างพระธรรมจักรอีก 4คำ ซึ่งเป็นหัวใจของพระอริยะสัจ4 อ่านว่า ทุสะนิมะ ย่อมาจากคำหน้าของพระอริยะสัจ4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ซึ่งทั้งหมดนี้รวมเรียกว่าหัวใจพระอริยะสัจทั้งสี่ประการ ถัดขึ้นไปด้านบน จะมีอักขระอีก 3 คำอ่านได้ว่า อะ ระ หัง แปลความหมายได้ว่า อรหันต์ หรือ พระอรหันต์ หมายถึงผู้ที่สามารถละกิเลศอาสวะได้ ผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา หรือพระอริยบุคคลชั้นสูงสุด และยอดสุดของด้านหลังเหรียญนั้นคือยันต์ เฑาะอุนาโลม รวมความแล้วนั้น เหรียญรุ่นนี้ มีครบทั้งองค์พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระอริยะสงฆ์

    เหรียญที่สร้างทั้งหมดมี
    เนื้อเงิน ลงยาสีเขียว 12 องค์
    เนื้อทองแดง ไม่ลงยา 500 องค์
    เนื้อทองแดง ลงยาสีเขียว 500 องค์
    เนื้อทองเหลือง ไม่ลงยา 500 องค์
    เนื้อทองเหลือง ลงยาสีเขียว 500 องค์
     
  18. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    เปิดพระปิดตา พิมพ์กลีบบัว หรือ พิมพ์เส้นด้าย วัดอโศการาม จังหวัดสมุรปราการ ปี พ.ศ.2502 ของดีราคาบาๆสายพระป่าครับ

    DSC_0249.JPG DSC_0250.JPG

    โดยทำขึ้นจากผงใบลานเผา ผสมผงพุทธคุณ โดยในคราวนี้มีการสร้างขึ้น2แบบ คือ พระสมเด็จ สร้างเป็นจำนวน 6,400 องค์, พระปิดตา 5,470 องค์

    ผู้สร้างพระปิดตาชุดนี้คือ เจ้าคุณแดง หรือ พระสุธรรมคณาจารย์ (สมณศักดิ์ขณะนั้น) เพื่อนำไปแจกจ่ายแก่มวลศิษย์ในจังหวัดกาฬสินธุ์ ดังนั้นชาวกาฬสินธุ์ควรจะเป็นผู้ที่รู้จักพระปิดตาชุดนี้ว่าดีอย่างไรเกินกว่าคนอื่น
    ผู้แกะพิมพ์พระปิดตาองค์นี้ คือ หลวงตาเสริม อนุตโร วัดชายหาด จังหวัดจันทบุรี รูปแบบของพระปิดตาจะว่าสวยก็ไม่ใช่ ไม่สวยก็ไม่เชิง แต่แปลกตาดี เรียกว่าเป็นฝีมือช่างอย่างชาวบ้านก็ได้ ไม่วิจิตรพิสดารอย่างมือช่างหลวง
    หลวงตาเสริมเป็นเพียงผู้แกะพิมพ์ ไม่ใช่ผู้ริเริ่มสร้าง ซึ่งผู้สร้างคือ หลวงพ่อแดง ธรรมรักขิตโต หรือ พระสุธรรมคณาจารย์ ท่านเป็นสหายของหลวงพ่อลี สร้างแล้วก็ทำพิธีพุทธาภิเษกในวัดอโศการามนั่นเอง
    ประกอบพิธีพุทธาภิเษก 3วัน3คืน ณ วัดอโศการาม จังหวัดสมุรปราการโดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม 2502 – 29 มกราคม 2502 มีคณาจารย์เข้าร่วมนั่งปรกอธิษฐานจิต 9 รูป
    1. พระอาจารย์สิงห์ ขันตยาโม วัดป่าสาละวัน โคราช
    2. ท่านพ่อพ่อลี วัดอโศการาม สมุทธปราการ
    3. หลวงปู่ฝั้น อาจาโร วัดถ้ำขาม สกลนคร
    4. หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม วัดอรัญญวิเวก บ้านข่า นครพนม
    5. หลวงปู่ชอบ ฐานสโม วัดป่าสัมมานุสรณ์ วังสพุง เลย
    6. หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง หนองคาย
    7. หลวงปู่สาม อกิญจโน วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    8. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม อุดรธานี
    9. พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ วัดเจติยาคีรีวิหาร หนองคาย

     
  19. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,581
    ค่าพลัง:
    +30,871
    คิดถึงก็เอามาให้ชมกัน พระขรรค์แก้ววัชรจักร หลวงปู่พิศดู วัดเทพธารทอง

    DSC_0229.JPG

    DSC_0231.JPG
    พระขรรค์แก้ววัชจักร รุ่นแรก
    พระขรรค์ชุดนี้ ทางคณะศิษย์ขององค์หลวงปู่ ได้ขออนุญาตสร้างเพื่อไว้บูชากันเอง ซึ่งแรกเริ่มนั้นองค์หลวงปู่ได้สั่งให้หามีดสวยๆจากตลาดมาให้ท่านอธิษฐานเป็นมีดหมอเพื่อไว้ป้องกันอันตรายจากสิ่งที่มองไม่เห็น ซึ่งทางคณะศิษย์ก็ได้หามาถวายให้ท่านอยู่พอสมควร พอเสร็จท่านก็แจกจ่ายไปจนหมด แต่มีดชุดนั้นไม่ได้มีเอกลักษณ์ชี้ชัดว่าเล่มไหนเป็นเล่มที่องค์หลวงปู่อธิษฐานให้
    เมื่อเห็นดังนั้นจึงได้ขออนุญาติจัดสร้างพระขรรค์ชุดนี้ขึ้นมา เดิมทีตั้งใจจะทำ 200 ชุด โดยออกแบบให้มีลักษณะของมหาอาวุธชั้นสูง ทั้งสี่ประการ คือ พระขรรค์ แก้ว(มณี) วัชระ จักร ให้อยู่ในเล่มเดียวกัน และขอเมตตาให้องค์หลวงปู่อธิษฐานให้.. แต่ด้วยความที่ช่างหล่อนั้นล่าช้า และทำงานออกมาไม่เป็นที่ถูกใจ เพราะไม่แข็งแรง เนื่องจากบริเวณตรงด้ามกับใบพระขรรค์นั้นไม่ได้หล่อเป็นเนื้อเดียวกัน แต่กลับหล่อแยกเป็น 2 ชิ้นแล้วมาเชื่อมติดกัน จึงได้มีการสั่งให้หล่อใหม่ แต่ได้เก็บตัวอย่างของพระขรรค์ที่ทำขึ้นมาแล้วไว้จำนวนหนึ่ง จากจำนวนที่องค์หลวงปู่ได้อธิษฐานจิตเอาไว้แล้ว ได้เล่มใหญ่ 20 เล่ม และเล่มเล็กอีกประมาณ 60 เล่ม ที่เหลือได้นำไปให้ช่างหล่อหลอมใหม่ แต่ด้วยความที่ช่างขาดการใส่ใจจึงทำให้งานหล่อพระขรรค์ชุดใหม่นี้ล่วงเลยไปจนองค์หลวงปู่อาพาธ จึงยังไม่ได้สานงานนั้นต่อ ตราบจนองค์หลวงปู่ละสังขารลง
    พระขรรค์รุ่นแรกนี้ จึงได้มีเพียงแค่ เล่มใหญ่ 20 เล่ม และเล่มเล็กอีกเพียงประมาณ 60 เล่มเท่านั้น และได้ทำการตอกโค๊ตอักขระขอมตัว " ธะ " กำกับที่ด้ามพระขรรค์ทุกเล่ม และเล่มใหญ่มีรันหมายเลขตั้งแต่ 0-19 กำกับเอาไว้ให้ได้รู้กันครับ..(ข้อมูลทุเรียนทอด)
    ทำไม พระขรรค์ที่ออกในนามของหลวงปู่พิศดูจึงมีความศักดิ์สิทธิ์ ทรงกฤษดาอภินิหาริย์ และมีประสบการณ์กับผู้ใช้มาก ลองอ่านเรื่องนี้ดูครับ..
    #ปฐมเหตุแห่งการสร้างพระขรรค์แก้ววัชรจักร..
    (จริงๆเรื่องราวพระขรรค์คู่บารมีหลวงปู่ นี้ลูกศิษย์ที่อยู่ใกล้ท่านก็ต่างทราบกันดี แต่ผมจะขอนำคำบอกเล่าของลูกศิษย์รุ่นเก่าๆของหลวงปู่มาถ่ายทอดให้ทราบกันอักครั้งนะครับ..)
    มีพี่สมาชิกในเว็บพลังจิตท่านหนึ่ง คุณพ่อของเขาเป็นลูกศิษย์ขององค์หลวงปู่มาหลายปี ได้ pm มาคุยเรื่องของหลวงปู่ให้ฟังว่า..สมัยที่คุณพ่อของเขายังมีชีวิตอยู่ เป็นลูกศิษย์หลวงปู่ยุคเก่า และได้เคยไปปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่ที่วัดหลายครั้ง และได้นำเรื่องบางตอนมาถ่ายทอดให้ทราบ ผมขออนุญาตพี่เขาแล้ว จึงนำมาถ่ายทอดต่อดังนี้..
    " อ๋อครับ พอดีพ่อผมเป็นลูกศิษย์รุ่นแรกๆของหลวงปู่ ผมจำคำของพ่อได้ว่า พ่อเคยเล่าให้ผมฟัง
    คิดว่าพ่อไปคุยกับหลวงปู่บนกุฎิริมน้ำ เมื่อ 20 ปีที่แล้ว
    ตอนที่คุณพ่อผมได้ไปกราบท่านใหม่ๆ พ่อเล่าว่า
    สมัยหลวงปู่ท่านมาอยู่วัดเทพธารทองใหม่ๆ มีพระขรรค์ลอยมาที่วัด พ่อบอกว่าเป็นของเทวดานำมาถวาย
    กลางคืนเทวดาต่างๆจะมาสนทนากับหลวงปู่ทุกคืน หลวงปู่จะไม่ค่อยได้จำวัด
    พ่อมักจะบอกกับผมว่าหลวงปู่ท่านสำเร็จแล้ว(สำเร็จอรหันต์)
    เพราะว่าพ่อเป็นนักปฏิบัติธรรม ทำสมาธิเลยคุยกับหลวงปู่รู้เรื่อง
    ส่วนผมตอนนั้นผมยังเด็กมาก ผมเลยสงสัยถึงพระขรรค์
    และคิดว่าชนวนน่าจะมาจากพระขรรค์ในตำนานที่พ่อเคยเล่าให้ผมฟังหรือเปล่า
    แต่ผมไม่รู้ละเอียดมากนะครับ พ่อผมจะรู้เป็นส่วนใหญ่แต่พ่อผมก็เสียไปแล้ว.. "
    #ทุเรียนทอด : สาธุ.. เรื่องนี้หลวงปู่ท่านก็เคยเล่าให้ฟังเหมือนกันครับ เรื่องพระขรรค์ท่านบอกว่าท่านได้มาตั้งแต่มาอยู่วัดแรกๆ เป็นพระขรรค์เล่มสีทอง แต่คงไม่ใช่พระขรรค์ของมนุษย์เราแบบนี้ คงเป็นพระขรรค์ทิพย์ที่ท่านสามารถใช้ได้ผู้เดียว เป็นของคู่บารมีท่าน นั่นแหละครับจึงเป็นที่มาของการสร้างพระขรรค์ทั้งสองรุ่น อีกอย่างหลวงปู่ท่านเคยดำหริว่าให้สร้างศาสตราวุธ คณะลูกศิษย์ก็เลยจัดสร้างเป็นพระขรรค์ขึ้นมา ดังตำนานที่กล่าวครับ.. หลวงปู่ท่านจะเรียกพระขรรค์ของท่านว่า " #ศาสตราวุธเล่มทอง " ท่านเคยบอกว่า " เราได้ศาสตราวุธนี้มา ใครก็ทำอะไรเราไม่ได้ เพราะเรามีศาสตราวุธเล่มทองไว้ป้องกัน และสามารถปราบได้ทั้งหมด..."
    อันนี้ก็คล้ายๆกับประวัติของท่านครูบาเจ้าศรีวิชัย ที่ท่านได้ดาบสหรี๋กัญไชยจากเทวดา ไม่ว่าใครจะคิดร้ายก็จะแพ้ภัยไปเอง โดยที่ท่านไม่ต้องทำอะไรเลย ทั้งนี้ผมคิดว่า มหาศาสตราคมเหล่านี้ ที่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ท่านได้ไว้ อาจไม่ใช่อาวุธที่มีอานุภาพประหัตประหารศัตรูหมู่มารเพียงอย่างเดียว แต่ว่าเป็นยิ่งกว่านั้น คือเป็น ธรรมาวุธ ที่ยิ่งกว่าอาวุธทั้งปวง แบบที่เรียกว่าไม่ต้องหยิบออกมาใช้ฟาดฟัน ศัตรูผู้คิดร้ายก็พ่ายแพ้ไปด้วยบารมีธรรมเสียแล้ว เป็นของคู่บารมี ที่เกิดจากบารมีธรรมของท่านที่สั่งสมมาล้วนๆ เพราะพ่อแม่ครูอาจารย์เหล่านั้น ท่านล้วนแต่เป็นพระอริยฝ่ายปราบ(มาร)ทั้งสิ้น แถมยังเป็นลูกศิษย์ของพระมหาอุปคุต พระอนุพุทธะผู้พิชิตมาร... ผมก็ลองมานึกๆดู หากท่านครูบาอาจารย์เหล่านั้นท่านอธิษฐานพระขรรค์ มีดหมอ หรือศาสตราวุธใดๆแล้ว ท่านก็คงอธิษฐานเอาธรรมาวุธของท่านมาใช้เป็นองค์พระธาน เพื่อทำให้ของเหล่านั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ประดุจมี ธรรมาวุธคู่บารมีของตนๆ สำหรับผู้ที่ได้มีวาสนารับของนี้ไปนั่นแหละครับ..
     
  20. ปู สุเมธ

    ปู สุเมธ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กรกฎาคม 2015
    โพสต์:
    518
    ค่าพลัง:
    +503
    ขอจองเหรียญใบโพธืรุ่น 5 หลวงปู่พิศดูครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...